Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่7

หน่วยที่7

Published by phisitphaophanyonk, 2023-07-02 13:58:19

Description: ระบบประจุไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

ง า น ไ ฟ ฟ้ า ร ถ ย น ต์ หน่วยที่ 7 ระบบประจุไฟฟ้า

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สอนคร้ังที่ 10 - 11 เรือ่ ง ระบบประจไุ ฟฟา้

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์เบอื้ งต้น เวลาเรยี นรวม 90 ชวั่ โมง ชอ่ื หนว่ ย ระบบประจไุ ฟฟา้ สอนคร้งั ท่ี 10 - 11 ช่อื เรอ่ื ง ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่วั โมง หัวข้อเร่ือง 1. หนา้ ทีข่ องระบบประจไุ ฟฟา้ 2. สว่ นประกอบของระบบประจุไฟฟา้ 3. หลกั การของเครือ่ งกาเนิดไฟฟา้ 4. อลั เทอร์เนเตอร์ 5. เรกูเลเตอร์ 6. หลกั การทางานของระบบประจไุ ฟฟ้า 7. ไอซีเรกเู ลเตอร์และการทางาน ระบบประจไุ ฟฟ้า มีจุดประสงคเ์ พื่อเปลย่ี นพลังงานกลของเครื่องยนตเ์ ป็นพลังงานไฟฟ้า เพอ่ื ประจุไฟฟ้ากลับเข้าไป ยังแบตเตอรีแ่ ละจา่ ยไฟในปริมาณทเี่ พียงพอไปยงั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ รถยนต์ขณะเคร่ืองยนต์ทางาน ส่วนประกอบของระบบประจุ ไฟฟ้าประกอบด้วยแบตเตอรี่ ฟิวส์ และสวิตช์จุดระเบิด หลอดไฟเตือนการชาร์จ สายพานขับและระบบไฟฟ้าท้ังหมดจะใช้ หลักการเหน่ียวนาของสนามแม่เหล็กไฟฟา้ เพอื่ ผลติ พลงั งานไฟฟา้ ส่วนการควบคมุ แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่จ่ายออกจากอัลเตอร์เน เตอร์จะควบคุมความเข้มของกระแสทขี่ ดลวดโรเตอรโ์ ดย Regulator เพ่อื ปอ้ งกันการเสยี หายของอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์ สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจาหนว่ ย) แสดงความรูเ้ ก่ียวกับระบบประจุไฟฟ้า สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรียนร้)ู สมรรถนะท่ัวไป (ทฤษฏ)ี 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หนา้ ที่ของระบบประจไุ ฟฟ้า 2. แสดงความรู้เกีย่ วกบั สว่ นประกอบของระบบประจไุ ฟฟา้ 3. แสดงความร้เู ก่ยี วกับหลกั การของเครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ทฤษฏ)ี เม่ือผู้เรียนไดศ้ กึ ษาเนือ้ หาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ 1. บอกหน้าทข่ี องระบบประจไุ ฟไดถ้ กู ตอ้ ง 2. จาแนกสว่ นประกอบของระบบประจไุ ฟได้ถูกตอ้ ง 3. บอกหน้าที่สว่ นประกอบของระบบประจไุ ฟได้ถกู ตอ้ ง

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 7 ชือ่ วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์เบือ้ งต้น เวลาเรยี นรวม 90 ชั่วโมง ชื่อหน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ สอนครง้ั ที่ 10 - 11 ช่อื เรือ่ ง ระบบประจุไฟฟ้า จานวน 10 ช่ัวโมง สมรรถนะทวั่ ไป (ปฏิบัต)ิ 1. แสดงทกั ษะในการตรวจสอบอลั เทอร์เนเตอร์ 2. แสดงทักษะในการตรวจสอบเรกูเลเตอร์ 3. แสดงทกั ษะในการตรวจสอบหลกั การทางานของระบบประจุไฟฟ้า 4. แสดงทกั ษะในการตรวจสอบไอซีเรกเู ลเตอร์และการทางาน สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ปฏบิ ตั )ิ เมือ่ ผูเ้ รยี นได้ศึกษาเนอื้ หาในบทนแ้ี ล้ว ผ้เู รียนสามารถ 1. สามารถตรวจสอบอลั เทอรเ์ นเตอรไ์ ดถ้ ูกต้อง 2. สามารถตรวจสอบเรกเู ลเตอรไ์ ดถ้ กู ต้อง 3. สามารถตรวจสอบหลักการทางานของระบบประจไุ ฟฟ้าไดถ้ ูกต้อง 4. สามารถตรวจสอบไอซีเรกูเลเตอร์และการทางานไดถ้ กู ตอ้ ง ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาไฟฟ้ารถยนต์เบ้ืองต้น ได้กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก (Active Learning Competency Based) ด้านเทคนิคการจัดการ เรียนการสอนแบบ MAIP โดยมขี ัน้ ตอนในการดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอน ดังนี้ กจิ กรรมการเรียนการสอน (สอนคร้งั ท่ี 10 ) เวลา 5 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 1. ผ้สู อนชีแ้ จงรายละเอียดเกย่ี วกบั จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวิชา การวัดและ ประเมินผลการเรยี นรายวชิ า คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของรายวชิ า และขอ้ ตกลงในการจัดการเรยี นการสอนใน รายวชิ า 2. ผู้สอนแสดงตัวอยา่ งเก่ียวกบั ระบบประจไุ ฟฟ้า 3. ครูสอนเนือ้ หาสาระหวั ข้อ 7.1-7.5 (บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝกึ ปฏบิ ตั )ิ 4. แบง่ กลุม่ นกั ศึกษาเพ่ือเตรียมปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 16 5. นกั ศึกษาลงมือปฏิบตั งิ านตามขั้นตอนในใบงานที่ 16 6. ครตู รวจผลงานภาคปฏิบัตขิ องนักศกึ ษา 7. ให้นักศึกษาทาความสะอาดเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ และบริเวณพ้นื ทปี่ ฏบิ ตั งิ านใหเ้ รยี บร้อย 8. นักศึกษาและครูร่วมกันสรุปบทเรยี นและผลการปฏบิ ตั ิงาน กจิ กรรมการเรยี นการสอน (สอนคร้งั ที่ 11 ) เวลา 5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 9. ครูตงั้ คาถามนาเข้าสบู่ ทเรียนโดยใหน้ ักศึกษาชว่ ยกันคดิ และหาคาตอบเกยี่ วกบั ระบบประจไุ ฟฟ้า 10. ครสู อนเน้ือหาสาระหัวข้อ 7.6-7.8 (บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝกึ ปฏบิ ัต)ิ 11. แบง่ กลมุ่ นักศกึ ษาเพ่อื เตรียมปฏบิ ตั ิงานตามใบงานท่ี 17

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 7 ช่ือวิชา งานไฟฟา้ รถยนต์เบือ้ งต้น เวลาเรยี นรวม 90 ชวั่ โมง ชอื่ หนว่ ย ระบบประจไุ ฟฟ้า สอนครงั้ ท่ี 10 - 11 ชอื่ เร่อื ง ระบบประจุไฟฟ้า จานวน 10 ชวั่ โมง กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนครงั้ ท่ี 11 ) เวลา 5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 12. นักศกึ ษาลงมอื ปฏบิ ตั งิ านตามขั้นตอนในใบงานที่ 17 13. ครูตรวจผลงานภาคปฏิบัตขิ องนักศกึ ษา 14. ให้นกั ศกึ ษาทาความสะอาดเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ และบรเิ วณพ้นื ท่ปี ฏบิ ัตงิ านให้เรียบรอ้ ย 15. นักศึกษาและครรู ว่ มกันสรุปบทเรยี นและผลการปฏิบตั ิงาน 16. นักศกึ ษาทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 7 สื่อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารประกอบการเรียน 3. สอื่ นาเสนอ PowerPoint 4. อปุ กรณง์ านไฟฟา้ รถยนตเ์ บื้องตน้ /รถยนตฝ์ ึก/อุปกรณไ์ ฟฟา้ รถยนต์พร้อมฝึกถอดประกอบ งานทมี่ อบหมาย/กจิ กรรม งานทีม่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ทาแบบฝึกหดั ใหถ้ กู ตอ้ ง สมบูรณ์ การวัดและประเมนิ ผล วัดผล/ประเมินผล วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑ์ 1.สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ - ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 - ทาแบบฝกึ เสริมทกั ษะทา้ ย - แบบฝกึ เสรมิ ทักษะทา้ ย 2.คุณลักษณะอนั พงึ - ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80 ประสงค์ (Attitude) หนว่ ย หนว่ ย - ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึง - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ประสงค์ อันพึงประสงค์











































หน่วยที่ 7 รหสั วชิ า 30101-0004 แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 7 หน่วยท่ี 7 ระบบประจไุ ฟฟา้ ช่ือวิชา งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ ชอ่ื หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่ัวโมง คาส่งั จงทาเครอื่ งหมายกากบาท (x) ลงหนา้ ขอ้ ท่ถี กู ตอ้ งทส่ี ดุ 1. หนา้ ทขี่ องระบบประจไุ ฟฟา้ คอื ขอ้ ใด ก. ประจไุ ฟฟา้ ไปกกั เก็บไวท้ ่แี บตเตอรข่ี ณะเครอื่ งยนตท์ างาน ข. จา่ ยกระแสไฟใหก้ บั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ รถยนตข์ ณะเครอื่ งยนตท์ างาน ค. จ่ายกระแสไฟฟา้ ใหเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ รถยนต์ ง. ชว่ ยเหลอื แบตเตอรใ่ี หม้ ไี ฟฟา้ เพียงพอจา่ ยใหก้ บั อปุ กรณไ์ ดต้ อ่ เน่ือง จ. เก็บสะสมพลงั งานไฟฟา้ ไวเ้ พอ่ื นาไปใชใ้ นระบบไฟฟา้ รถยนต์ 2. ขอ้ ใดระบสุ ว่ นของระบบประจไุ ฟฟา้ ไดถ้ กู ตอ้ งทงั้ หมด ก. แบตเตอร่ี สวติ ชจ์ ดุ ระเบดิ อลั เทอรเ์ นเตอร์ และเรกเู ลเตอร์ ข. แบตเตอรี่ สวติ ชจ์ ดุ ระเบิด ฟิวสแ์ ละฟิวสส์ าย และอลั เทอรเ์ นเตอร์ ค. แบตเตอรี่ สวติ ชจ์ ดุ ระเบิด ฟิวสแ์ ละฟิวสส์ าย อลั เทอรเ์ นเตอร์ และเรกเู ลเตอร์ ง. แบตเตอร่ี สวิตชจ์ ดุ ระเบิด ฟิวสแ์ ละฟิวสส์ าย อลั เทอรเ์ นเตอร์ และหลอดไฟเตอื นการชารจ์ จ. แบตเตอร่ี สวิตชจ์ ดุ ระเบิด ฟิวสแ์ ละฟิวสส์ าย อลั เทอรเ์ นเตอร์ หลอดไฟเตอื นการชารจ์ เรกเู ลเตอร์ และรเี ลย์ 3. ชิน้ สว่ นใดในระบบประจไุ ฟฟา้ ท่กี กั เก็บและกาเนิดพลงั งาน ก. แบตเตอรี่ ข. สวติ ช์ ค. อลั เทอรเ์ นเตอร์ ง. เรกเู ลเตอร์ จ. ไฟเตือนการชารจ์ 4. อลั เทอรเ์ นเตอรป์ ระกอบดว้ ยอปุ กรณใ์ ด ก. สเตเตอร์ โรเตอร์ รเี ลย์ แปรงถา่ น และไดโอด ข. สเตเตอร์ โรเตอร์ คอมมิวเตเตอร์ แปรงถา่ น และไดโอด ค. สเตเตอร์ โรเตอร์ วงแหวนสลปิ รงิ แปรงถ่าน และไดโอด ง. สเตเตอร์ อารเ์ มเจอร์ วงแหวนสลปิ รงิ แปรงถา่ น และไดโอด จ. สเตเตอร์ เรกเู ลเตอร์ วงแหวนสลปิ รงิ แปรงถา่ น และไดโอด 5. อลั เทอรเ์ นเตอรเ์ หนีย่ วนาแรงเคลอ่ื นไฟฟา้ โดยการหมนุ ของอะไร ก. สปรงิ ผา่ นสเตเตอร์ ข. สเตเตอรอ์ ยใู่ นสนามแมเ่ หลก็ ค. ตวั นาทอี่ ยภู่ ายในสนามแมเ่ หลก็ ง. สนามแมเ่ หลก็ ที่อยภู่ ายในขดลวดท่อี ยกู่ บั ที่ จ. การเคลอื่ นท่ีของตวั นาหมนุ ตดั กนั 6. ในอลั เทอรเ์ นเตอร์ กระแสไฟฟา้ ของอลั เทอรเ์ นเตอรจ์ ะถกู เปลย่ี นเป็นไฟฟา้ กระแสตรง โดยชิน้ สว่ นใด ก. สเตเตอร์ ข. แปรงถ่าน ค. เรกติไฟเออร์ ง. เรกเู ลเตอร์ จ. โรเตอร์

หน่วยที่ 7 รหสั วิชา 30101-0004 แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 7 หน่วยท่ี 7 ระบบประจไุ ฟฟา้ ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ ช่อื หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่วั โมง คาส่ัง จงทาเครอ่ื งหมายกากบาท (x) ลงหนา้ ขอ้ ท่ถี กู ตอ้ งทสี่ ดุ 7. ขดลวดตวั นา 3 ขด ที่พนั รอบแกนเหลก็ ออ่ นรูปทรงกระบอกที่อยกู่ บั ทคี่ อื ชิน้ สว่ นใด ก. โรเตอร์ ข. สเตเตอร์ ค. อารเ์ มเจอร์ ง. คอมมวิ เตเตอร์ จ. เรกเู ลเตอร์ 8. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั ขดลวดสเตเตอรแ์ บบเดลตา ก. ไมม่ ีจดุ ตอ่ กลาง ข. ไมม่ จี ดุ ตอ่ กราวด์ ค. ขดลวดอยใู่ นรูปการตอ่ อนกุ รม ง. ไดอะแกรมวงจรคลา้ ยวงจรขนาน จ. ขดลวดอยใู่ นรูปการตอ่ ขนาน 9. การควบคมุ ปรมิ าณแรงเคลอ่ื นไฟฟา้ ทีจ่ ่ายออกของอลั เทอรเ์ นเตอรส์ มั พนั ธก์ บั อะไร ก. ความเขม้ ของสนามแมเ่ หลก็ ข. ความเรว็ รอบสเตเตอร์ ค. จานวนเสยี้ วของโรเตอร์ ง. ความโตของโรเตอร์ จ. จานวนรอบของขดลวด 10. การควบคมุ ระบบประจไุ ฟฟา้ อปุ กรณท์ ่ีควบคมุ กระแสไฟฟา้ เปิดและปิดดว้ ยอะไร ก. จดุ ระเบดิ ไปยงั แบตเตอร่ี ข. แหลง่ จา่ ยไปยงั แบตเตอร่ี ค. อลั เทอรเ์ นเตอรไ์ ปยงั เทอรม์ ิสเตอร์ ง. แบตเตอรไี่ ปยงั อปุ กรณอ์ านวยความสะดวก จ. อลั เทอรเ์ นเตอรไ์ ปยงั ทรานซสิ เตอร์ 11. ภายในเรกเู ลเตอรแ์ บบขดลวดรเี ลย์ หนา้ ทองขาว (กลไก – ไฟฟา้ ) จะใชอ้ ปุ กรณใ์ ดลดกระแสไฟฟา้ ไป ยงั ขดลวดโรเตอร์ ก. ตวั ตา้ นทาน ข. โพเทนชิโอมิเตอร์ ค. คาปาซเิ ตอร์ ง. ทรานซิสเตอร์ จ. ขดลวดตวั นา 12. กระแสสนามแมเ่ หลก็ ท่โี รเตอรถ์ กู ควบคมุ โดยอะไร ก. แรงเคลอ่ื นไดโอด ข. ความตา้ นทานไดโอด ค. ความตา้ นทานสเตเตอร์ ง. ความตา้ นทานโรเตอร์ จ. กระแสท่ีจา่ ยออกอลั เทอรเ์ นเตอร์

แบบฝึ กหดั หน่วยที่ 7 หน่วยท่ี 7 รหัสวชิ า 30101-0004 ช่ือวชิ า งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ หน่วยท่ี 7 ชอ่ื หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่วั โมง คาส่ัง จงเติมคาตอบลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง 1.จงบอกหนา้ ที่ของระบบประจไุ ฟฟา้ จาแนกโครงสรา้ งระบบประจุไฟและหน้าทก่ี ารทางานของชนิ้ สว่ นระบบประจุไฟฟ้า 2. จงจาแนกชิน้ สว่ นของระบบประจไุ ฟฟา้ จากรูปทกี่ าหนดให้ โดยนาหมายเลขไวห้ นา้ ขอ้ ความช่ือชิน้ สว่ นใหถ้ กู ตอ้ ง สวติ ชจ์ ดุ ระเบิด หลอดไฟเตอื นแสดงการชารจ์ อลั เทอรเ์ นเตอร์ แบตเตอรี่ ฟิวส์ ฟิวสส์ าย รเี ลย์ เรกเู ลเตอร์ 3. จากรูป จงวางหมายเลขของชิน้ สว่ นไวห้ นา้ ขอ้ ความทอ่ี ธิบายหนา้ ที่ชิน้ สว่ นของระบบประจไุ ฟฟา้ ใหถ้ กู ตอ้ ง ใชผ้ ลติ พลงั งานวงจรประจไุ ฟฟา้ จดั เก็บและกาเนดิ พลงั งาน ใชค้ วบคมุ หลอดไฟเตือนการชารจ์ บง่ ชีข้ อ้ บกพรอ่ งอลั เทอรเ์ นเตอร์ ปอ้ งกนั ระบบจากภาระทางไฟฟา้ ท่มี ากเกินไป ใชแ้ มเ่ หลก็ ไฟฟา้ เพือ่ เปลย่ี นพลงั งานกลไปเป็นพลงั งานไฟฟา้ ปอ้ งกนั การจดุ ระเบิด การประจไุ ฟฟา้ และวงจรเครอ่ื งยนต์

แบบฝึ กหัดหน่วยที่ 7 หน่วยที่ 7 รหสั วิชา 30101-0004 ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ หน่วยที่ 7 ชือ่ หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่วั โมง จาแนกโครงสรา้ งอัลเทอรเ์ นเตอรแ์ ละหน้าทีก่ ารทางานของชิน้ สว่ นอลั เทอรเ์ นเตอร์ 4. จงจาแนกชิน้ สว่ นของอลั เทอรเ์ นเตอร์ จากรูปที่กาหนดให้ โดยนาหมายเลขไวห้ นา้ ขอ้ ความช่ือชิน้ สว่ นให้ถกู ตอ้ ง แปรงถา่ น โรเตอร์ วงแหวนสลปิ รงิ มเู ลย่ ์ สเตเตอร์ แบรง่ิ พดั ลม ไอซีเรกเู ลเตอร์ ขวั้ B 5. จากรูป จงวางหมายเลขของชิน้ สว่ นไวห้ นา้ ขอ้ ความที่อธิบายหนา้ ทช่ี ิน้ สว่ นของอลั เทอรเ์ นเตอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง หมนุ ขบั เพลาโรเตอร์ ขบั ไลค่ วามรอ้ น สง่ พลงั งานกล หมนุ เหนี่ยวนาแรงเคลอื่ น นากระแสไฟฟา้ จากแบตเตอรไ่ี ปยงั วงแหวนสลปิ รงิ จดุ จา่ ยไฟออก นากระแสไฟฟา้ จากแปรงถ่านไปยงั ขดลวดโรเตอร์ มี 3 ขดลวดทพี่ นั รอบแกนเหลก็ ออ่ นเพอื่ เหน่ียวนาแรงเคลอ่ื นไฟฟา้ ควบคมุ แรงเคลอื่ นไฟฟา้ ท่ีจ่ายออกจากอลั เทอรเ์ นเตอรใ์ หอ้ ยใู่ นคา่ กาหนด 6. ระบบประจไุ ฟฟา้ จะเปลยี่ นพลงั งาน ของเครอื่ งยนตไ์ ปเป็นพลงั งาน 7. ระบบประจไุ ฟฟา้ ทงั้ หมด จะใชห้ ลกั การของ เพ่อื ผลติ กาลงั ไฟฟา้ 8. จะสรา้ งสนามแมเ่ หลก็ วนรอบอลั เทอรเ์ นเตอร์ 9. เป็นขดลวดท่ีอยกู่ บั ทีซ่ ง่ึ ผลติ กระแสไฟฟา้ ในอลั เทอรเ์ นเตอร์ 10.การตอ่ ขดลวดสเตเตอรแ์ บบ จะนาปลายดา้ นหนงึ่ ของขดลวดทงั้ 3 เสน้ มาตอ่ รวมกนั เรยี กวา่

แบบฝึ กหัดหน่วยที่ 7 หน่วยท่ี 7 รหัสวชิ า 30101-0004 ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ หน่วยที่ 7 ชอื่ หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่ัวโมง 11. จะควบคมุ แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ ทจี่ า่ ยออกจากอลั เทอรเ์ นเตอร์ ภายใตค้ วามตอ้ งการของ ระบบประจไุ ฟฟา้ โดยการควบคมุ ของกระแส 12. ไฟฟา้ กระแสสลบั ท่ีผลติ จากอลั เทอรเ์ นเตอรจ์ ะถกู แปลงเป็นไฟฟา้ กระแสตรง โดย 13. จงอธิบายการทางานของวงจรระบบประจุไฟฟ้าแบบใช้เรกูเลเตอร์กลไก–ไฟฟ้าควบคุม เม่ือเครื่องยนต์ ทางานอยรู่ อบปานกลางถงึ รอบสงู หลอดไฟ สวติ ช์จุดระเบดิ ขดลวดสเตเตอร์ แบตเตอ ่ีร PL1 P1 PL2 P2 ขดลวดโรเตอร์ เรกเู ลเตอร์ อลั เทอร์เนเตอร์

เฉลยแบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 7 หน่วยท่ี 7 รหัสวิชา 30101-0004 ชือ่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ หน่วยท่ี 7 ชอื่ หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่ัวโมง คาส่งั จงเตมิ คาตอบลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง 1.จงบอกหนา้ ที่ของระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ ทาหนา้ ท่ีผลติ กระแสไฟฟา้ เพื่อประจไุ ฟฟา้ ใหแ้ กแ่ บตเตอร่ี และจา่ ย กระแสไฟฟา้ ไปยงั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ รถยนต์ ขณะเครอื่ งยนตท์ างาน จาแนกโครงสรา้ งระบบประจุไฟและหน้าท่ีการทางานของชนิ้ สว่ นระบบประจุไฟฟ้า 2. จงจาแนกชิน้ สว่ นของระบบประจไุ ฟฟา้ จากรูปที่กาหนดให้ โดยนาหมายเลขไวห้ นา้ ขอ้ ความช่ือชิน้ สว่ นใหถ้ กู ตอ้ ง 3 สวติ ชจ์ ดุ ระเบดิ 2 หลอดไฟเตอื นแสดงการชารจ์ 7 อลั เทอรเ์ นเตอร์ 6 แบตเตอร่ี 4 ฟิวส์ 5 ฟิวสส์ าย 1 รเี ลย์ 8 เรกเู ลเตอร์ 3. จากรูป จงวางหมายเลขของชิน้ สว่ นไวห้ นา้ ขอ้ ความทอ่ี ธิบายหนา้ ท่ีชิน้ สว่ นของระบบประจไุ ฟฟา้ ใหถ้ กู ตอ้ ง 7 ใชผ้ ลติ พลงั งานวงจรประจไุ ฟฟา้ 6 จดั เก็บและกาเนดิ พลงั งาน 8 ใชค้ วบคมุ หลอดไฟเตือนการชารจ์ 2 บง่ ชีข้ อ้ บกพรอ่ งอลั เทอรเ์ นเตอร์ 5 ปอ้ งกนั ระบบจากภาระทางไฟฟา้ ท่มี ากเกินไป 7 ใชแ้ มเ่ หลก็ ไฟฟา้ เพื่อเปลย่ี นพลงั งานกลไปเป็นพลงั งานไฟฟา้ 4 ปอ้ งกนั การจดุ ระเบิด การประจไุ ฟฟา้ และวงจรเครอื่ งยนต์

เฉลยแบบฝึ กหัดหน่วยที่ 7 หน่วยท่ี 7 รหัสวชิ า 30101-0004 ชื่อวิชา งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ หน่วยที่ 7 ชอื่ หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่ัวโมง จาแนกโครงสรา้ งอลั เทอรเ์ นเตอรแ์ ละหน้าทก่ี ารทางานของชิน้ สว่ นอลั เทอรเ์ นเตอร์ 4. จงจาแนกชิน้ สว่ นของอลั เทอรเ์ นเตอร์ จากรูปทก่ี าหนดให้ โดยนาหมายเลขไวห้ นา้ ขอ้ ความช่ือชิน้ สว่ นให้ถกู ตอ้ ง 6 แปรงถา่ น 2 โรเตอร์ 7 วงแหวนสลปิ รงิ 1 มเู ลย่ ์ 3 สเตเตอร์ 8 แบรงิ่ 4 พดั ลม 5 ไอซีเรกเู ลเตอร์ 9 ขวั้ B 5. จากรูป จงวางหมายเลขของชิน้ สว่ นไวห้ นา้ ขอ้ ความท่อี ธิบายหนา้ ทีช่ ิน้ สว่ นของอลั เทอรเ์ นเตอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง 1 หมนุ ขบั เพลาโรเตอร์ 4 ขบั ไลค่ วามรอ้ น 8 สง่ พลงั งานกล 2 หมนุ เหน่ยี วนาแรงเคลอ่ื น 6 นากระแสไฟฟา้ จากแบตเตอรไี่ ปยงั วงแหวนสลปิ รงิ 9 จดุ จ่ายไฟออก 7 นากระแสไฟฟา้ จากแปรงถา่ นไปยงั ขดลวดโรเตอร์ 3 มี 3 ขดลวดท่ีพนั รอบแกนเหลก็ ออ่ นเพื่อเหนี่ยวนาแรงเคลอ่ื นไฟฟา้ 5 ควบคมุ แรงเคลอื่ นไฟฟา้ ทจ่ี า่ ยออกจากอลั เทอรเ์ นเตอรใ์ หอ้ ยใู่ นคา่ กาหนด 6. ระบบประจไุ ฟฟา้ จะเปลย่ี นพลงั งาน กล ของเครอื่ งยนตไ์ ปเป็นพลงั งาน ไฟฟา้ 7. ระบบประจไุ ฟฟา้ ทงั้ หมด จะใชห้ ลกั การของ การเหน่ยี วนาแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เพือ่ ผลติ กาลงั ไฟฟา้ 8. โรเตอร์ จะสรา้ งสนามแมเ่ หลก็ วนรอบอลั เทอรเ์ นเตอร์ 9. สเตเตอร์ เป็นขดลวดทอ่ี ยกู่ บั ท่ีซง่ึ ผลติ กระแสไฟฟา้ ในอลั เทอรเ์ นเตอร์ 10.การตอ่ ขดลวดสเตเตอรแ์ บบ สตาร์ (แบบ Y ) จะนาปลายดา้ นหนงึ่ ของขดลวดทงั้ 3 เสน้ มาตอ่ รวมกนั เรยี กวา่ จดุ ตอ่ รว่ ม (ขวั้ N)

เฉลยแบบฝึ กหัดหน่วยที่ 7 หน่วยท่ี 7 รหัสวชิ า 30101-0004 ชือ่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนตเ์ บอื้ งตน้ หน่วยที่ 7 ชอื่ หน่วย ระบบประจไุ ฟฟา้ ระบบประจไุ ฟฟา้ จานวน 10 ช่วั โมง 11. เรกเู ลเตอร์จะควบคมุ แรงเคลอื่ นไฟฟา้ ทจ่ี า่ ยออกจากอลั เทอรเ์ นเตอร์ ภายใตค้ วามตอ้ งการของ ระบบประจไุ ฟฟา้ โดยการควบคมุ ความเขม้ ของกระแส 12. ไฟฟา้ กระแสสลบั ทผ่ี ลติ จากอลั เทอรเ์ นเตอรจ์ ะถกู แปลงเป็นไฟฟา้ กระแสตรง โดย เรกติไฟเออร์ (ชดุ ไดโอดบวกและไดโอดลบ) 13. จงอธิบายการทางานของวงจรระบบประจุไฟฟ้าแบบใช้เรกูเลเตอร์กลไก–ไฟฟ้าควบคุม เมื่อเครื่องยนต์ ทางานอยรู่ อบปานกลางถึงรอบสงู หลอดไฟ สวติ ช์จุดระเบิด ขดลวดสเตเตอร์ แบตเตอ ่ีร PL1 P1 PL2 P2 ขดลวดโรเตอร์ เรกเู ลเตอร์ อลั เทอร์เนเตอร์

ใบงานที ระบบประจุไฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานตรวจสอบทางกายภาพของระบบประจุไฟฟ้า

ใบงานที ระบบประจุไฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานตรวจสอบทางกายภาพของระบบประจุไฟฟ้า

ใบงานที ระบบประจุไฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานตรวจสอบทางกายภาพของระบบประจุไฟฟ้า

ใบงานที ระบบประจุไฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานตรวจสอบทางกายภาพของระบบประจุไฟฟ้า

ใบงานที ระบบประจุไฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานตรวจสอบทางกายภาพของระบบประจุไฟฟ้า

ใบงานที ระบบประจไุฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานถอดประกอบและตรวจสอบชินสว่นอลัเทอรเ์นเตอร์

ใบงานที ระบบประจไุฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานถอดประกอบและตรวจสอบชินสว่นอลัเทอรเ์นเตอร์

ใบงานที ระบบประจไุฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานถอดประกอบและตรวจสอบชินสว่นอลัเทอรเ์นเตอร์

ใบงานที ระบบประจไุฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานถอดประกอบและตรวจสอบชินสว่นอลัเทอรเ์นเตอร์

ใบงานที ระบบประจไุฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานถอดประกอบและตรวจสอบชินสว่นอลัเทอรเ์นเตอร์

ใบงานที ระบบประจไุฟฟา้ จำนวน10 7 7 งานถอดประกอบและตรวจสอบชินสว่นอลัเทอรเ์นเตอร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook