Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชนิดของคำในภาษาไทย

ชนิดของคำในภาษาไทย

Published by Kunruethai, 2019-03-01 00:15:43

Description: ชนิดของคำในภาษาไทย

Keywords: ชนิดของคำ,ชนิดของคำในภาษาไทย,คำวรรพนาม,คำบุพบท,คำอุทาน,คำวิเศษณ์,คำกริยา,คำสันธาน,คำนาม

Search

Read the Text Version

จัดทาโดย นางสาวกันตฤ์ ทัย วงศ์คาแก้ว รหัส ๖๑๙๔๑๙๐๐๕๐๒ กลุม่ ๕ หลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ วชิ าชพี ครู มหาวิทยาลัยราชภฏั ลาปาง

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ชนิดของคํา จัดทําขึ้นเพ่ือเป็นแหล่งความรู้ ซ่ึงผู้จัดทําได้ รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชนิดของคํา ๗ ชนิด ได้แก่ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ์ คาํ บพุ บท คาํ สนั ธาน คําอทุ าน ผู้ จั ด ทํ า หวั ง เ ป็ น อ ย่า ง ย่ิง ว่ า ห นั ง สื อ อเิ ล็กทรอนกิ ส์เรือ่ งนจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ท่ีสนใจ และนําไปใช้ให้เกดิ ผลสัมฤทธิต์ ามความคาดหวัง ผ้จู ดั ทาํ นางสาวกันตฤ์ ทยั วงศค์ ําแกว้

คานาม ๔ ชนิดของคานาม ๕ คาสรรพนาม ๘ ชนิดของคาสรรพนาม ๙ คากริยา ๑๓ ชนดิ ของคากรยิ า ๑๔ คาวเิ ศษณ์ ๑๗ คาสนั ธาน ๑๘ คาบุพบท ๑๙ คาอทุ าน ๒๐ สรุป ๒๑ ลบั สมอง ทดลองความรู้ ๒๒ แบบทดสอบ ๒๓ แหลง่ อา้ งองิ ๒๔ เกย่ี วกับผ้จู ดั ทา ๒๕

คานาม คอื คาํ ท่ีใช้เรียกช่อื คน สัตว์ วตั ถุ สิ่งของ สถานท่ีตา่ ง ๆ ทงั้ ท่เี ป็นนามธรรม และ รปู ธรรม เชน่ ความรัก การให้ ความดี ความชั่ว ครู นักเรียน ตํารวจ ทหาร แพทย์ พยาบาล ช้าง มา้ วัว กวาง นก กุง้ หอย ปู ปลา ปะการงั โต๊ะ เก้าอ้ี นาฬกิ า ทอ้ งฟ้า ตน้ ไม้ นา้ํ ตก ภเู ขา บา้ น โรงเรยี น โรงพยาบาล โรงแรม วัด เป็นต้น

๑. คานามทวั่ ไป (สามานยนาม) คอื คํานามทีใ่ ชเ้ ป็นชอื่ ทวั่ ไป หรือคาํ เรยี กสิ่งต่าง ๆ โดยท่ัวไปไมช่ ้ีเฉพาะเจาะจง เชน่ ดินสอ ปากกา ยางลบ กระเปา๋ นกั เรียน ครู หนงั สือ ชงิ ชา้ นักกฬี า สขุ ภาพ เป็ด นก หมู ชา้ ง มา้ วัว ควาย พัดลม ทหาร วัด ๓. คานามชเี้ ฉพาะ (วสิ ามานยนาม) คือ คาํ นามทเี่ ปน็ ชื่อเฉพาะ หรือเป็นคาํ เรยี กของ คน สัตว์ สิ่งของ ตลอดจนสถานท่ีตา่ ง ๆ เพอื่ เจาะจงว่า เป็นคนใด ส่ิงใด หรือที่ไหน เชน่ ชอ่ื ของคน คุณสมศกั ดิ์ คุณอรุณ ชอื่ สถานท่ี ชลบรุ ี กาญจนบุรี ชอ่ื สง่ิ ของ สามก๊ก พระไตรปฎิ ก

๓. คานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) คือ คํานามทีท่ าํ หนา้ ที่ประกอบนามอื่นๆ เพ่อื บอก รปู ร่าง ลกั ษณะ ขนาดหรือปรมิ าณของนาม มกั จะอยู่หลัง คําบอกจํานวน และแยกได้เป็นหลายชนิด คือ - ลกั ษณนามบอกสัณฐาน เช่น วง ตน ใบ ตับ - ลกั ษณนามบอกการจาํ แนก เช่น กอง หมวด ฝูง คณะ - ลกั ษณนามบอกปรมิ าณ เชน่ คู่ โหล กุลี หีบ - ลักษณนามบอกเวลา เชน่ นาที วนั เดือน ปี - ลกั ษณนามบอกวิธีทาํ เชน่ จบี ม้วน มัด พับ กาํ - ลกั ษณนามอน่ื ๆ เชน่ พระองค์ รูป ตวั เร่ือง อนั เชอื ก

๔. คานามบอกหมวดหมู่ (สมหุ นาม) คอื คาํ นามทีบ่ อกหมวดหมขู่ องนามข้างหลงั ที่ รวมกนั มาก ๆ เชน่ โขลงช้าง ฝูงนก ฝูงปลา คณะครู อาจารย์ คณะนักเรยี น คณะสงฆ์ พวกกรรมกร หมู่สตั ว์ หมวดศพั ท์ ชุดข้อสอบ โรงหนัง แบบทรงผม ๕. คานามบอกอาการ (อาการนาม) คือ คาํ นามทเ่ี กิดจากคาํ กริยาหรือคําวิเศษณท์ ี่มีคาํ ว่า \"การ“ หรือ \"ความ“ นําหน้า เช่น ความดี ความช่ัว ความรกั ความสวย ความงาม ความจรงิ ความเร็ว การเกิด การตาย การเรยี น การงาน การวิง่ การศกึ ษา

คาสรรพนาม คอื คําท่ีใช้แทนคาํ นามท่ี กล่าวถึงมาแล้ว เพื่อจะได้ไมต่ อ้ งกลา่ วคาํ นามน้ัน ซา้ํ อกี เชน่ คาํ วา่ ฉัน เรา ดิฉัน กระผม คณุ ท่าน ใตเ้ ท้า เขา มัน สิ่งใด ผใู้ ด น่ี นน่ั อะไร ใคร บา้ ง เป็นต้น มารจู้ กั คา สรรพนามกัน เถอะ

๑. สรรพนามแทนผูพ้ ูด ผฟู้ งั และผู้ท่ีกลา่ วถึง (บุรุษ สรรพนาม) ได้แก่ สรรพนามบุรุษท่ี 1 แทนชื่อผพู้ ูด เช่น ฉัน ดฉิ ัน อิฉนั ผม กระผม ขา้ พเจา้ เรา อาตมา เกลา้ กระผม เกลา้ กระหม่อม ฯลฯ สรรพนามบุรษุ ที่ 2 แทนช่อื ผู้ฟงั เชน่ คณุ เธอ ทา่ น เจ้า แก โยม พระคณุ เจา้ ฝา่ พระบาท ใตฝ้ ่าละออง ธลุ พี ระบาท ฯลฯ สรรพนามบุรษุ ที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถงึ เชน่ มนั เขา ทา่ น เธอ แก พระองคท์ ่าน ฯลฯ ผู้ที่ถูก กลา่ วถึง ผูพ้ ูด ผู้ฟัง

๒. สรรพนามช้ีเฉพาะ (นยิ มสรรพนาม) สรรพนามชนิดน้ใี ช้แทนนามที่อยู่ใกล้ หรือไกลผู้ พูด ได้แก่ นี่ น่นั โนน่ นี้ น้นั โน้น เชน่ \"น่ีบ้านกํานนั \" น่ีของใคร ? \"นีข่ องใคร\" \"นั่นมหาวิทยาลัย\" ๓. สรรพนามใช้ถาม (ปฤจฉาสรรพนาม) คอื สรรพนามใช้แทนนามในประโยคคาํ ถาม (ตอ้ งการคําตอบ) ได้แก่ ใคร อะไร อย่างไร ผใู้ ด ส่งิ ใด ท่ี ไหน เช่น \"ใครมา\" \"ครตู ้องการไปกับพวกเราบ้าง\" \"อะไรทําใหเ้ ขาเปลยี่ นไป\"

๔. สรรพนามบอกความไมเ่ จาะจง (อนิยมสรรพนาม) คือ สรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนคาํ นามทไ่ี มก่ าํ หนดแน่นอน มกั ใชใ้ นประโยคท่ีมคี วามหมายแสดง ความไมแ่ น่นอน ไดแ้ กค่ ําวา่ ใคร อะไร ผู้ใด ส่ิงใด ทไี่ หน เชน่ \"ครไู มเ่ หน็ ใครเลย\" \"ครไู มเ่ ห็นใคร เลย\" \"อะไร ๆ ก็อร่อยไปหมด\" \"อะไร ๆ ก็ทานได\"้ ๕. สรรพนามบอกความชซี้ ้า หรอื สรรพนามแบง่ พวก รวมพวก (วิภาคสรรพนาม) คือ สรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนคํานามเพ่อื แยกนาม ออกเปน็ สว่ น ๆ หรือบอกให้รู้วา่ มนี ามอยหู่ ลายสว่ นและ แสดงกริยารว่ มกนั หรือตา่ งกัน ไดแ้ กค่ าํ วา่ ต่าง บา้ ง กนั เช่น \"นกั เรียนบ้างกอ็ า่ นหนงั สือบ้างก็นอนหลับ\" \"ผคู้ นตา่ งแยง่ ชงิ กันเข้าชมการแข่งขนั เทนนสิ \"

๖. สรรพนามเชือ่ มประโยค (ประพันธสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ทําหนา้ ทแ่ี ทนนามข้างหน้า และ เชื่อมประโยคใหม้ ีความเก่ียวพนั กนั ได้แก่คาํ ว่า ท่ี ซ่ึง อัน เช่น \"ผมชอบเสื้อทีค่ ุณแม่ซอื้ ให้\" \"ฉันได้รับจดหมายซ่ึงเธอสง่ มาให้ทางไปรษณยี ์ ดว่ นพิเศษแลว้ \" \"ครูให้รางวลั นักเรยี นซึง่ เรียนด“ี ๗. สรรพนามใช้เน้นนามทอ่ี ยขู่ ้างหน้า คอื สรรพนามท่มี ักเรยี งไว้หลังคาํ นามเพ่อื เน้นนาม ท่ีอย่ขู า้ งหนา้ และยังช่วยแสดง ความรู้สึกของผู้พูดดว้ ย อาจเปน็ ความรสู้ กึ ในเชงิ ยกย่อง คนุ้ เคย ดหู มน่ิ เกลียดชงั หรอื ความรูส้ กึ อืน่ ๆ เช่น \"คุณยายท่านเป็นห่วงหลาน ๆ มาก\" (ยกยอ่ ง) \"เพือ่ น ๆ ของลูกเขาจะมาสนุกกัน\" (ค้นุ เคย)

คากรยิ า หมายถงึ คําแสดงอาการ การ กระทาํ หรอื บอกสภาพของคํานาม หรือคาํ สรรพ นาม เพอ่ื ใหไ้ ดค้ วาม เช่นคําว่า กิน เดนิ นั่ง นอน เล่น จบั เขยี น อา่ น เป็น คือ ถูก คล้าย เปน็ ตน้

๑. กรยิ าไมต่ ้องมีกรรม (อกรรมกรยิ า) คือ คํากรยิ าท่มี ใี จความสมบูรณ์ชดั เจนในตนเองไม่ ต้องมีกรรมมารับข้างท้าย เช่น กระดาษปลิว สะพาน ชาํ รุด ดอกกุหลาบหอม ลมพดั ม้าว่งิ มานีหัวเราะ ฝนตก เครื่องบินลง ๒. กริยาทีต่ ้องมีกรรม (สกรรมกรยิ า) คอื กริยาที่มใี จความไมส่ มบูรณข์ าดความ ชดั เจน จงึ ต้องมีกรรมมารบั ขา้ งทา้ ย เชน่ \"คุณแม่ทาํ ขนม ทกุ วนั \" \"คณุ ตาปลูกผกั สวนครวั \" ฉนั ขลิบ...(ปลายเสื้อ) \"คุณพอ่ ทําอาหาร\" \"ตาํ รวจจับผู้รา้ ย\" ฉนั ตัด...(ตน้ ไม้) \"นก จกิ ข้าวโพด\" \"ฉนั อ่านหนังสอื \" \"ครูชมลกู ศษิ ย์\" \"สมใจ เขยี นจดหมาย\"

๓. กรยิ าทีอ่ าศยั สว่ นเตมิ เตม็ (วกิ ตรรถกริยา) คือ กริยาที่ไม่มีความชดั เจน ขาดความหมายที่ กระจา่ งชดั ในตัวเอง ดังนน้ั จะใชก้ รยิ าตามลาํ พงั ตวั เอง ไมไ่ ดจ้ ะต้องมีคํานาม หรือสรรพนามมาขยายจงึ จะ ได้ ความ ไดแ้ กค่ ําว่า คือ เปน็ คลา้ ย เหมือน เท่า ประดจุ ราวกับ ฯลฯ เช่น \"นายประชาเป็นตํารวจ\" \"คณุ ย่าเป็นครู\" \"ติม๋ คลา้ ยคณุ ย่า\" \"แมวคล้ายเสอื \" \"ฉันเหมือนคุณยาย“ \"เธอคอื คนแปลกหน้าของท่ีนี่\"

๔. กริยาชว่ ย (กริยานุเคราะห์) คือ คําทีท่ ําหนา้ ท่ีชว่ ยกริยาอ่นื ใหไ้ ด้ใจความ ชัดเจนยง่ิ ขึ้น ได้แกค่ าํ วา่ อาจ ต้อง น่าจะ จะ คง คงต้อง คงจะ จง โปรด อย่า ช่วย แล้ว ถกู ไดร้ บั เคย ควร ให้ กําลงั ได.้ ..แล้ว เคย...แลว้ นา่ จะ...แล้ว ฯลฯ เช่น \"ฝนอาจตก\" \"พ่คี งกลบั มาเรว็ ๆ น\"ี้ \"นอ้ งตอ้ งไปสอบแล้ว\" \"เดก็ กาํ ลงั รอ้ งไห้\" \"ขนมนา่ จะสุกแลว้ \" \"นกั เรียนควรสง่ งานใหต้ รงเวลา\"

คาวิเศษณ์ คือ คาํ ทที่ ําหนา้ ทีป่ ระกอบคาํ อ่นื ๆ เพื่อให้ได้ ใจความชดั เจนยง่ิ ขนึ้ หรือคาํ ทใ่ี ช้ขยายคาํ นาม คําสรรพนาม คํากรยิ า และคําวิเศษณ์ เพื่อบอกเวลา บอกลักษณะ บอก จํานวน บอกขนาด บอกคุณภาพ บอกสถานท่ี ฯลฯ อาจแบ่งได้ ดังนี้ ๑. คําวิเศษณ์บอกลกั ษณะ \"น้องคนเล็กชือ่ เลก็ \" ๒. คาํ วิเศษณ์บอกเวลา \"เขามาสายทกุ วนั \" ๓. คําวิเศษณบ์ อกสถานท่ี \"เขาเดินไกลออกไป\" ๔. คําวิเศษณบ์ อกปรมิ าณ หรือจาํ นวน \"ชนท้ังผอง พี่ นอ้ งกัน\" ๕. คําวเิ ศษณบ์ อกความช้เี ฉพาะ \"อยา่ พดู เช่นนน้ั เลย\" ๖. คําวิเศษณ์บอกความไมช่ เ้ี ฉพาะ \"คนอ่นื ไปกัน หมดแล้ว\" ๗. คาํ วเิ ศษณแ์ สดงคําถาม \"น้องเธออายุเท่าไร\" ๘. คําวิเศษณแ์ สดงคาํ ขาน \"หวานจ๋าไปเทย่ี วไหมจ๊ะ\" ๙. คําวเิ ศษณแ์ สดงความปฏเิ สธ \"บุญคุณของบุพการี ประมาณมิได้\"

คาสนั ธาน คอื คําท่ีใชเ้ ชอ่ื มคาํ กับคาํ ประโยคกับ ประโยค หรอื ข้อความกับข้อความ เม่อื เชอื่ มแล้วจะได้ประโยคท่ี มใี จความดังนี้ ๑. คําสนั ธานเชื่อมความคลอ้ ยตามกนั ไดแ้ ก่ และ กับ ถา้ ก็ แล้ว จึง ฯลฯ เช่น \"คณุ พอ่ และคณุ แม่สอนการบ้านฉัน\" ๒. คาํ สันธานเช่ือมความขดั แยง้ กัน ได้แก่ แต่ กวา่ ก็ ถงึ ...ก็ แม้ว่า...แตก่ ็ ฯลฯ เช่น \"ถงึ เขาจะโกรธฉนั ก็ไมก่ ลัว\" ๓. คําสนั ธานเชือ่ มความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ไดแ้ ก่ หรอื มิฉะน้นั มฉิ ะน้นั ...ก็ ไม่...ก็ ฯลฯ เชน่ \"เธอจะไปหัวหนิ หรือพทั ยา\" ๔. คาํ สนั ธานเชอื่ มความที่เปน็ เหตผุ ลกัน ได้แก่ เพราะ...จึง ดงั นน้ั ...จึง จึง เพราะฉะนนั้ ...จงึ ฯลฯ เชน่ \"เพราะเขาขยันเขาจึงสอบได้\"

คาบพุ บท คือ คําที่ใชน้ ําหน้าคาํ หรือกลุ่มคําหรอื คือคําท่ีโยงคาํ หน้าหรือกลมุ่ คําหนึ่งให้ สมั พันธก์ บั คําอืน่ หรือกล่มุ คําอ่ืนเพ่ือบอกสถานท่ี เหตผุ ล ลักษณะ เวลา อาการ หรือแสดงความเปน็ เจา้ ของ ไดแ้ ก่ ใน แก่ ของ ดว้ ย โดย กับ แต่ ตอ่ ใกล้ ไกล ฯลฯ เช่น เขาเดินทางโดยเครอื่ งบนิ (ลักษณะ) ฉนั ซอ่ นเงนิ ไวใ้ ต้หมอน (สถานที่) ครตู อ้ งเสียสละเพ่ือศิษย์ (เหตุผล) ฟันของน้องผหุ ลายซ่ี (แสดงความเป็นเจา้ ของ)

คาอทุ าน คือ คาํ ทเ่ี ปล่งออกมาเพ่ือแสดงอารมณ์ หรอื ความรูส้ กึ ของผู้พูด มักจะเป็นคําท่ไี ม่มคี วามหมายแต่ เน้นความรู้สกึ และอารมณข์ องผู้พดู เปน็ สาํ คัญ เช่น อนิจจา!ไม่นา่ จะด่วนจากไปเลย (สลดใจ) อื้อฮือ! หล่อจงั (แปลกใจ) เสยี งที่เปล่งออกมาเปน็ คาํ อทุ านนน้ั แบง่ ได้ เป็น ๓ ลักษณะ คือ ๑. เป็นคาํ เชน่ โอ๊ย! วา้ ย! บ๊ะ! โอ้โฮ! โถ! ฯลฯ ๒. เปน็ วลี เช่น พทุ โธ่เอ๋ย! คุณพระช่วย! ตายละ วา! โอ้อนิจจา! ฯลฯ ๓. เป็นประโยค เชน่ คุณพระคุณเจา้ ช่วยลูกด้วย! ไฟไหม้เจ้าขา้ ! ฯลฯ

สรุปได้ว่าคําแต่ละชนิดมีลักษณะ และหน้าที่ แตกต่างกันออกไป การเรียนรู้เร่ืองลักษณะของคําเพื่อ สรา้ งเป็นกลมุ่ คํา และประโยคเป็นเรอื่ งสําคัญ และจําเป็น อย่างย่ิงในการเรียน และการใช้ภาษาในชีวติ ประจาํ วัน คําแต่ละคํามีความหมาย ความหมายของคําจะ ปรากฏชัดเม่ืออยู่ในประโยค การสังเกตตําแหน่ง และ หน้าของคําในประโยคจะช่วยให้เราทราบชนิดของคํา รวมท้งั ความหมายดว้ ย ดงั นัน้ การศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจหน้าที่ และชนิดของคําใน ประโยคจงึ มีความสําคัญมากเพราะจะช่วยให้เราสามารถ ใชค้ ําไดถ้ กู ตอ้ งตรงตามความหมายท่ตี อ้ งการ

ลบั สมอง ทดลองความรู้ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นนําคาํ ตอ่ ไปนีใ้ ส่ลงในชอ่ งชนดิ ของคําให้ ถูกตอ้ ง มะมว่ ง อุ๊ย! คุณสวย หัวเราะ แต่ ดุ สนุ ัข วง่ิ ใต้ฝา่ ละอองธุลีพระบาท นายทวศี กั ด์ิ สฟี ้า ปากกา ดี ความรกั หนงั สอื หนงั หา แต่ ใต้ดิน ดอกไม้ กบั คานาม คาสรรพนาม คากรยิ า คาวิเศษณ์ ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... คาบุพบท คาสนั ธาน คาอุทาน ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ...............

แบบทดสอบ • ๑. ขอ้ ใดใช้ลักษณะนามไม่ถูกตอ้ ง ก. วินยั มีป่ี 1 เลา ข. นอ้ งมตี ุ๊กตา 2 ตัว ค. พอ่ จดุ ธูป 3 ดอก ง. แม่ซือ้ อวนมา 4 ตัว • ๒. คาว่า “เขา” ในขอ้ ใดเปน็ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ ก. นกเขาตัวน้นั ขันเสยี งใส ข. เราใชม้ ดี เขาควายคว้านมะพร้าวนํ้าหอม ค. ฉนั จะพดู ใหเ้ ขาใจออ่ นเอง ง. ภูเขาลกู โน้นอย่ใู นเขตอุทยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ • ๓. คาว่า \"ขน\" ในข้อใดทาหนา้ ที่เป็นกริ ิยาของประโยค ก. อมรใชไ้ ม้ขนไกป่ ัดฝ่นุ ข. บงั อรมขี นตางอนงาม ค. สนุ ขั ขนขาวดูน่ารกั ง. นภาใช้รถขนผักไปตลาด • ๔. ขอ้ ใดมีคาวเิ ศษณ์บอกสถานท่ี ก. เขาอ่านหนงั สือเสียงดัง ข. รถไฟขบวนนั้นหยดุ อยู่กับท่ี ค. เขาลอ่ งเรอื ไปทางทิศใต้ ง. พวกเราทุกคนตอ้ งขยนั เรียน ๕. ขอ้ ใดใชค้ าบุพบทได้ถกู ตอ้ ง • ก. เขาอย่เู หนือ ฉนั อย่ใู ต้ • ข. ปา้ อยใู่ นรา้ น ลงุ อยู่นอกร้าน • ค. คณุ พ่ออยไู่ กล คณุ แมอ่ ยใู่ กล้ • ง. เขาใหร้ างวลั แกค่ นท่ีแตง่ กลอนได้ท่ีหน่ึง

แหลง่ ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์  https://sites.google.com/site/chalita226/bth-reiyn- thi9  https://sites.google.com/site/khrucngci/chnid- khxng-kha-thiy  http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn6/76.pdf

ชื่อ นางสาวกนั ต์ฤทยั วงศ์คาแกว้ ชอ่ื เลน่ มุก รหัสนกั ศึกษา ๖๑๙๔๑๙๐๐๕๐๒ กลุ่ม ๕ หลักสตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook