บทคดั ยอ่ พชื ทปี่ ระกอบด้วยสารพษิ หรือผลติ สารพษิ ในปริมาณท่มี ากพอทจ่ี ะ กอ่ ให้เกิด อนั ตรายตอ่ มนษุ ย์และสตั ว์ได้ อนั ตรายท่ีเกดิ ขนึ ้ มีความ รุนแรงตา่ งกนั อาจถงึ ขนั้ เกิดโรค พกิ าร หรือเสยี ชีวิตพชื มีพษิ
มารู้จักพชื พษิ กันเถอะ ผศ.ดร.จินดาพร ภูริพฒั นาวงษ์ ภาควิชาเภสชั เวท และเภสชั พฤกษศาสตร์ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พืชพิษ คอื พืชทป่ี ระกอบด้วยสารพิษ หรือผลติ สารพิษในปริมาณที่มากพอทจี่ ะกอ่ ให้เกิด อนั ตรายตอ่ มนษุ ย์และสตั ว์ได้ อนั ตรายทเี่ กิดขนึ ้ มคี วามรุนแรงตา่ งกนั อาจถงึ ขนั้ เกิดโรค พิการ หรือเสยี ชีวติ พืชบางชนดิ เกิดพษิ เพียงระยะเวลาสนั้ถ้าได้รับการแก้ไขที่ถกู ต้อง ร่างกายก็จะกลบั คืนสสู่ ภาพปกตไิ ด้ มนษุ ย์ได้เรียนรู้ความเป็ นพษิ ของพชื และนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ตงั้ แตโ่ บราณ เช่น นายางนอ่ งมาอาบลกู ศรไว้ใช้ยิงศตั รู หรือสตั ว์เพื่อใช้ในการดารงชีวติ นาพืชหลายชนิดมาใช้เบื่อปลา เป็ นต้น อนั ตรายท่ไี ด้รับจากพชื พิษ มกั เกิดแกเ่ ดก็ เลก็ สว่ นใหญ่เกิดจากการรับประทาน ในผ้ใู หญ่มกั เกิดจากการเข้าใจผดิ พชื พิษบางชนิดมลี กั ษณะคล้ายกบั พืชทใ่ี ช้เป็ นอาหารหรือ ยา นอกจากนกี ้ ารเป็ นพษิ อาจเกิดขนึ ้ จากการดืม่ นม หรือรับประทานเนอื ้ สตั ว์ทกี่ ินพชื พษิ เข้าไป และพิษถ่ายทอดมาถงึ ผ้บู ริโภคเช่น สตั ว์กินกากเมลด็ พืชทปี่ ระกอบด้วยสารanthraquinone ซง่ึ มฤี ทธิ์เป็ นยาระบายสารนจี ้ ะออกมาในนา้ นมของสตั ว์ มรี ายงานการเกดิ พษิ ในคนทรี่ ับประทานนา้ ผงึ ้ จากตวั ผงึ ้ ที่ไปดดู นา้ หวานจากดอกยโี่ ถ หรือรับประทานเนอื ้ ยา่ งทใี่ ช้กิ่งยี่โถเสยี บ เกิดการเป็ นพษิ จนถงึ แกช่ ีวติ ได้เป็ นต้นนอกจากนยี ้ งั อาจมอี าการเกิดขนึ ้ จากการสมั ผสั ทาให้เกดิ อาการระคายเคือง เป็ นผ่ืนแดง หรือผวิ หนงั อกั เสบได้ รวมทงั้ การสดูดม หรือเสพพชื บางชนดิ เชน่ ฝ่ิ น, กญั ชา ทาให้เกิดอาการเป็ นพษิ ได้เชน่ กนั พิษของพืชท่ีได้รับนนั้ ไม่ว่าจะเป็ นการตงั้ ใจ หรือไม่ตงั้ ใจก็ตาม อาการพิษท่ีเกิดจากพืชพิษนนั้ มักจะส่งผลต่อร่างกายในหลายระบบ การจดั แบง่ กลมุ่ พืชพิษในบทนีจ้ ดั แบง่ ตามอาการตามระบบท่เี ดน่ หรืออาจเป็ นสาเหตใุ ห้ผ้ปู ่ วยถงึ แก่กรรมคอื 1. พษิ ต่อระบบทางเดินอาหาร อาการพษิ ในระบบทางเดนิ อาหารมกั เป็ นอาการของการได้รับพษิ จากการรับประทานพชื พษิ ทกุ ชนดิ เป็ นอาการท่ีแสดงวา่ ผ้ปู ่ วยได้รับพษิ เข้าไปในร่างกาย กอ่ นทอ่ี าการ ทางระบบอ่ืนจะแสดงออกมา อาการทางระบบทางเดนิอาหารอาจเป็ นไปได้ตงั้ แตก่ าร ระคายเคอื งตอ่ เย่ือบปุ าก และลาคอ การอกั เสบของกระเพาะอาหารและลาไส้ ตลอดจนถงึอาการพษิ ตอ่ ตบั ตวั อยา่ งพืชพษิ ได้แก่ พวกบอน อตุ พษิ มะคาดีควาย สบดู่ า สลอด เป็ นต้น 2. พิษต่อหัวใจและหลอดเลอื ด พชื ทีม่ พี ษิ ตอ่ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด มกั มสี ารจาพวก cardiac glycosides เช่น ใบย่โี ถ ราเพย ปอกระเจาหรือสาร alkaloid พวก aconitine อาการพิษเร่ิมด้วยอาการระบบทางเดินอาหาร และตามด้วย progressive AV-block ทาให้หวั ใจเต้นช้า และจงั หวะผิดปกติ ความดนั โลหติ ต่า และถึงแกช่ ีวิตจาก ventricular fibrillation 3. พิษต่อระบบประสาท พิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง มีฤทธ์ิกระต้นุ ทาให้เกิดอาการชัก หรือ ทาให้เกิดอาการซมึ หายใจช้า และหมดสติ หรือมีผลตอ่ จิตประสาททาให้ประสาทหลอน หรือหลายอยา่ งรวมกนั สว่ นใหญ่มกั นามาด้วยการกระต้นุ และตามมาด้วยการกดระบบประสาท ตวั อยา่ งพชื พิษได้แก่ กระทอ่ ม กญั ชา ลาโพง ยาสบู เป็ นต้น 4. พษิ ต่อไตและระบบปัสสาวะ สารพิษบางชนิดโดยเฉพาะในกลมุ่ toxic albumin ทาให้เม็ดเลอื ดแดงแตกในกระแสโลหิต ซงึ่ จะไปจบั ทไ่ี ตทาให้ไตวาย การให้สารนา้ อยา่ งเพียงพอ และทาให้ปัสสาวะเป็ นด่างจะช่วยบาบดั ภาวะนีไ้ ด้ และสารในกลมุ่ กรดอินทรีย์ซง่ึ ทา
ให้เกิดการตกผลกึ ในไตได้เช่น ผลึก djenkolic (เป็ นสารพวก oxalate พบในเมล็ดเนียง ทาให้ปัสสาวะขดั ปัสสาวะไม่ออกปวดบีบบริเวณเอวและกระเพาะปัสสาวะ และบางครัง้ ปัสสาวะเป็ นเลอื ด 5. พิษต่อโลหติ พชื ที่มีสารพิษกลมุ่ toxic albumin อาจทาให้เมด็ เลอื ด รวมตวั ตกตะกอน เมด็ เลอื ดแดงแตกและไตวายได้ ซง่ึในผ้ปู ่ วยที่มีอาการรุนแรงอาจจาเป็ นต้องทาการเปลยี่ นถา่ ยเลอื ด นอกจากนีพ้ ืชทมี่ ี cyanogenic glycoside เม่ือรับประทานเข้าไปจะถกู hydrolyze เกิดเป็ น hydrocyanic acid ซงึ่ เป็ นพิษตอ่ ระบบเลอื ด ทาให้ผ้รู ับประทานเป็ นอนั ตรายแก่ชีวติ ได้ 6. พิษต่อผิวหนัง พืชท่ีก่อให้เกิดผ่ืนผิวหนงั อกั เสบ (Irritant and allergic contact dermatitis) พืชส่วนใหญ่ที่มีพิษต่อผิวหนงัก่อให้เกิดอาการแสดงทางผิวหนงั ในลกั ษณะนี ้ โดยผิวหนงั บริเวณที่สมั ผสั กบั พืชจะเกิดผ่ืนแดง คนั รูปร่างของผื่นอาจเป็ นทางยาว ๆ หรือเป็ นปื ้น ขึน้ อยู่กับลกั ษณะการสมั ผสั นอกจากน้ียงั พบว่ามีพืชที่ก่อให้เกิดผ่ืนลมพิษ เช่น ขนของตาแย(stinging hair of Urtica urens) และหมามุ่ย (Mucuna pruriens) มีขนพิษซ่ึงมีสาร acetylcholine, histamine และserotonin ทาให้ผ้สู มั ผสั เกิดผนื่ ลมพิษขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว และหายในเวลาอนั สนั้การดแู ลรักษาผ้ปู ่ วยท่ไี ด้รับพษิ จากพชื พษิ การดแู ลรักษาผ้ปู ่ วยที่ได้รับพษิ จากพืชพิษ ก็เชน่ เดียวกบั การได้รับพิษทว่ั ไป คอื ประกอบด้วย การรักษาตามอาการและประคบั ประคองให้ผ้ปู ่ วยพ้นขีดอนั ตราย การสกดั ไมใ่ ห้พิษเข้าสรู่ ะบบและเร่งขบั พิษออกจากร่างกาย และการให้ยาต้านพษิ รวมทงั้ การ รักษาจาเพาะบางอยา่ ง การรักษาประคบั ประคองผ้ปู ่ วยให้พ้นขีดอนั ตราย นบั เป็ นหวั ใจที่สาคญั ที่สดุ ของการรักษา พึงระลึกไว้เสมอว่าอาการพิษจากพืชพิษ มกั จะสลบั ซบั ซ้อนและมกั เป็ นหลายๆระบบ อย่างไรก็ตามส่ิงที่สาคญั ก็คือ การดูแลทางเดินหายใจการหายใจ การไหลเวียนโลหิต การควบคมุ การชกั การรักษาอณุ หภมู ิร่างกาย และการรักษาประคบั ประคองอื่นๆ จะทาให้ผ้ปู ่ วยพ้นขดี อนั ตราย และลดภาวะแทรกซ้อนท่อี าจเกิดขนึ ้ ได้ การสกดั ไมใ่ ห้พษิ เข้าสรู่ ะบบของร่างกาย ในกรณีทีผ่ ้ปู ่ วยได้รับพษิ โดยการรับประทาน การทาให้ผ้ปู ่ วยอาเจียน เป็ นวิธีการท่ีดีท่ีสดุ ยกเว้นพืชทม่ี ีผลกึ calcium oxalate ห้ามทาให้อาเจียน การล้างท้องโดยใช้ทอ่ มกั ไมส่ ามารถขจดั เศษใบไม้,ก้าน, เมลด็ หรือสว่ นของพชื ที่มีพิษออกได้ แม้วา่ จะใช้ท่อขนาดใหญ่ๆก็ตาม การทาให้ผ้ปู ่ วยอาเจียนอาจมปี ัญหาในผ้ปู ่ วยท่ีรับประทานใบ และก้านจานวนมากๆ คอื อาจออกมาอดุ บริเวณกลอ่ งเสยี งได้ ในผ้ปู ่ วยท่ีมีข้อห้ามในการทาให้อาเจียนเช่น ผ้ปู ่ วยหมดสติ การขจดั เศษพืชออกจาก กระเพาะอาหารเป็ นปัญหามาก บางครัง้ ไม่สามารถล้างออกได้ ผู้ป่ วยทุกรายควรได้รับผงถ่านและยาระบาย ถ้าไม่มีข้อห้าม อย่างไรก็ตามยังไม่การศกึ ษาที่เพียงพอที่จะแสดงถึงประสิทธิภาพของการให้ผงถ่านซา้ ๆ ในผ้ปู ่ วยที่ได้รับพิษจาก พืชพษิ เนื่องจากพืชพิษสว่ นใหญ่มกั ประกอบด้วยสารตา่ งๆ มากมายหลายชนิด ทงั้ สารอนิ ทรีย์และสารอนินทรีย์ การพยายามเร่งขบั สารพิษโดยการเร่งขบั ปัสสาวะจึงไมค่ อ่ ยให้ประโยชน์มากนกั รวมทงั้ อาจเป็ นอนั ตรายตอ่ ผ้ปู ่ วยด้วยต้นบอน หมามยุ่
ต้นสบดู่ า สลอด ลาโพง ต้นตาแย ราเพยสลดั ได ย่โี ถ มะคาดคี วาย
เอกสารอ้างองิ ภาพประกอบ ต้นบอน http://www.medplant.mahidol.ac.th/ หมามยุ่ http://kanchanapisek.or.th/ ต้นสบดู่ า http://www.medplant.mahidol.ac.th/ สลอด http://www.medplant.mahidol.ac.th/ ลาโพง http://www.medplant.mahidol.ac.th/ ต้นตาแย http://www.rspg.thaigov.net/ ราเพย http://www.medplant.mahidol.ac.th/ ยโ่ี ถ http://www.medplant.mahidol.ac.th/ สลดั ได http://www.medplant.mahidol.ac.th/ มะคาดคี วาย http://www.medplant.mahidol.ac.th/
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: