Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอุดมศึกษา

รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอุดมศึกษา

Published by Www.Prapasara, 2021-04-04 05:24:21

Description: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอุดมศึกษา

ภาษาจีน เป็นภาษาที่สำคัญมากภาษาหนึ่ง และมีแนวโน้มที่จะสำคัญยิ่งขึ้นในอนาคต
เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 5,000 ปี มีการสั่งสม
องค์ความรู้ด้านต่างๆ และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาถึงปัจจุบัน สาธารณรัฐประชาชนจีนยังเป็นประเทศ
มหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก เป็น
ประเทศที่มีความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก และประชากรชาวจีนยังมาก
เป็นอันดับ 1 ของโลก ดังนั้น หากคนไทยมีความรู้ภาษาจีนจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ค้นคว้า
และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สามารถสร้างความร่วมมือด้านธุรกิจการค้าการพัฒนาด้านต่างๆ ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้ประเทศไทยได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้

#รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยระดับอุดมศึกษา
#การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน
#การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Keywords: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยระดับอุดมศึกษา,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Search

Read the Text Version

4.3 วัตถุประสงค์ของการเลือกเรยี นภาษาจีนของผ้เู รียนสว่ นใหญ่ £ เพอื่ ประกอบอาชพี ตามทตี่ ้ังใจไว้ £ ตามกระแสของการเรนี นภาษาจนี £ ตามจดุ ประสงคข์ องผู้ปกครอง £ อ่นื ๆ (ระบุ)................................................................................................................. 4.4 เกณฑห์ รือดชั นีบง่ ช้ีระดบั ความรูภ้ าษาจีนของนกั ศึกษา £ จัดสอบวดั ระดบั ความรภู้ าษาจนี โดยสถาบันเอง £ ไมม่ เี กณฑก์ ารวดั ผลนอกเหนือจากการสอบรายวชิ า £ กำหนดเกณฑ์การสอบHSK (ระดบั ........) £ อืน่ ๆ (ระบ)ุ ................................................................................................................. 5. ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื 5.1 มีความร่วมมือกบั สถาบันอน่ื หรือไม ่ £ มี £ ไมม่ ี (ถ้าเลือกตอบ “ม”ี ใหท้ ำข้อตอ่ ไปข้างล่างน)้ี 5.2 หนว่ ยงานที่มคี วามรว่ มมือ £ มหาวทิ ยาลัยภายในประเทศ (โปรดระบ.ุ ....................................................................................) £ มหาวทิ ยาลัยภายนอกประเทศ (โปรดระบ.ุ .................................................................................) £ มหาวิทยาลัยท้ังภายในและภายนอก (โปรดระบ.ุ ........................................................................) £ อืน่ ๆ (โปรดระบุ...........................................................................................................................) 5.3 ลกั ษณะของความรว่ มมือ (สามารถเลือกตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) £ ด้านหลักสตู ร £ แลกเปลยี่ นหรอื สง่ อาจารย์มาชว่ ยสอน £ ให้ทุนการศกึ ษานกั ศึกษาหรอื อาจารย์ £ สนบั สนุนตำรา/หนังสือหรอื สื่อการสอน £ ทางประเทศจีนใหก้ ารสนบั สนนุ แต่ฝา่ ยเดียว £ อน่ื ๆ (โปรดระบ.ุ ..........................................................................................) รายงานการวิจยั เพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อดุ มศกึ ษา 85

ตอนที่ 3 ปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา คำช้ีแจง : โปรดใสเ่ ครือ่ งหมาย P ลงในช่องทีต่ รงกับสภาพความเปน็ จริง 5 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ 4 หมายถงึ เหน็ ดว้ ย 3 ไมแ่ นใ่ จ 2 หมายถงึ ไมเ่ หน็ ดว้ ย 1 หมายถงึ ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ทศั นคตเิ กย่ี วกบั ปญั หาและอปุ สรรค เอหยน็ า่ ดงวย้ ยงิ่ เหน็ ด ว้ ย ไ มแ่ นใ่ จ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไมอเ่ยหา่ น็ งดยว้งิ่ ย ในการจดั การเรยี นการสอนระดบั อดุ มศกึ ษา ดา้ นหลักสตู ร 1. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารยงั ขาดเกณฑ์มาตรฐาน ในการกำกับหลักสตู รภาษาจีนท่ีแท้จรงิ 2. ผูบ้ รหิ ารมหาวิทยาลัยยงั ไม่ไดใ้ หค้ วามสำคญั ของ หลักสูตรภาษาจนี 3. หลักสูตรปจั จุบนั ยงั ไม่สามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของสภาพตลาดหรอื แรงงานในปจั จบุ นั 4. หลักสูตรการเรยี นการสอนภาษาจีนยงั ไม่เชือมโยง กับหลักสตู รภาษาจีนในระดบั มัธยมศกึ ษา 5. หลกั สูตรทีเปิดสอนยงั ขาดการบรู ณาการหลากมติ ิ เช่น วฒั นธรรม สงั คม ประวัตศิ าสตร์ ภาษาศาสตร ์ ภาษาจนี เปน็ ต้น 6. ขาดการสรา้ งความเขา้ ใจเรือ่ งหลักสตู รเพื่อสามารถ จดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รได้อย่างถกู ตอ้ งและ มีประสทิ ธภิ าพ 7. ยงั ไมม่ รี ะบบการบรหิ ารจัดการรายวชิ าในหลกั สตู ร (การเชือ่ มโยงของเนอ้ื หา คำศพั ท์ ความสัมพันธ์ องค์ความรู้ ฯลฯ) ด้านสอ่ื การสอน 1. มหาวิทยาลัยยงั ขาดตำราหรือหนงั สือภาษาจนี ทเ่ี ชอื่ มโยงความรเู้ ปน็ ระบบตอ่ จากระดบั มธั ยมศกึ ษา 2. มหาวทิ ยาลยั ยังขาดตำราหรือหนงั สอื ที่เป็นระบบ และลำดับความ ยากงา่ ยตอ่ เนอ่ื งเชอ่ื มโยง ทุกรายวชิ าในหลักสตู ร 3. กระทรวงศึกษาธกิ ารยงั ไม่มกี ารสนบั สนุนให้ม ี ตำราเรียนหลกั ในระดับอุดมศกึ ษาเพอ่ื ให้เกิด มาตรฐานเดียวกันทัง้ ประเทศ 86 รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับอดุ มศกึ ษา

ทศั นคตเิ กยี่ วกบั ปญั หาและอปุ สรรค เอหยน็ า่ ดงวย้ ยงิ่ เหน็ ด ว้ ย ไ มแ่ นใ่ จ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไมอเ่ยหา่ น็ งดยว้งิ่ ย ในการจดั การเรยี นการสอนระดบั อดุ มศกึ ษา 4. มหาวิทยาลัยยงั ชาดแคลนสือ่ การเรียนการสอน ภาษาจนี ที่หลากหลายและทันสมยั 5. อาจารยผ์ สู้ อนยงั นยิ มใชต้ ำราและหนงั สอื ในการสอน การใชส้ อื่ การสอนอืน่ ๆ นอ้ ยมาก 6. อาจารยย์ งั ไมม่ ีกิจกรรมเสริมหลักสูตรหรอื กจิ กรรม นอกชัน้ เรยี นเพื่อให้นกั ศึกษาเกดิ การเรยี นร ู้ ด้วยตนเอง ดา้ นผู้สอน 1. ผู้สอนส่วนใหญ่ยงั ขาดพ้นื ฐานความรู้ดา้ นการสอน ภาษาจนี ทแี่ ทจ้ รงิ (ไมไ่ ดจ้ บวชิ าชพี ดา้ นศกึ ษาศาสตร ์ หรือครุศาสตร์) 2. ผ้สู อนชาวไทยส่วนใหญย่ ังไมม่ ปี ระสบการณ ์ การสอนภาษาจนี 3. ผ้สู อนชาวไทยมภี าระงานสอนและงานอื่นๆ จำนวนมากจนไม่มีเวลาพฒั นางานวิชาการ 4. ผู้สอนชาวจนี ขาดความรแู้ ละประสบการณ ์ ในการสอนภาษาจีนสำหรบั นักศกึ ษาไทย 5. ผูส้ อนชาวจีนมภี าระงานสอนเป็นหลัก ภาระงานอืน่ ตกอยู่กับอาจารย์ชาวไทย ดา้ นผูเ้ รยี น 1. ผเู้ รยี นสว่ นใหญ่ยังขาดเป้าหมายท่ีชัดเจน ในการเรียนภาษาจนี 2. ผเู้ รียนขาดทักษะการเรียนรู้ทถี่ ูกตอ้ งและโอกาส ใชภ้ าษาจนี นอ้ ย 3. ผเู้ รียนยังมีทัศนคติที่ไม่ดตี ่อการเรียนภาษาจนี 4. ผู้เรียนยังขาดลกั ษณะวิสยั ในการเรียนรภู้ าษาจีน เช่น ความขยันหมน่ั ทอ่ ง กล้าพดู และกล้าแสดงออก 5. บัณฑิตที่สำเร็จการศกึ ษายังไมส่ ามารถใชภ้ าษาจีน ไดด้ ี รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อุดมศึกษา 87

ทศั นคตเิ กยี่ วกบั ปญั หาและอปุ สรรค เอหยน็ า่ ดงวย้ ยง่ิ เหน็ ด ว้ ย ไ มแ่ นใ่ จ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไมอเ่ยหา่ น็ งดยว้งิ่ ย ในการจดั การเรยี นการสอนระดบั อดุ มศกึ ษา ดา้ นความร่วมมอื กบั หนว่ ยงาน 1. มหาวิทยาลัยยงั ขาดการสนบั สนุนจากหน่วยงาน ต่างประเทศ 2. มหาวทิ ยาลยั ยงั ขาดความรว่ มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั อนื่ เพือ่ ผลิตบณั ฑติ ร่วมกนั ในอนาคต 3. มหาวิทยาลยั ยังไม่เหน็ ความสำคญั ในด้าน ความร่วมมอื หรอื การสร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื ในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจนี 4. กระทรวงศึกษาธิการยังไมม่ ีหนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ในสนบั สนนุ การเรยี นการสอนภาษาจนี ระดบั อดุ มศกึ ษาโดยตรง 5. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารยังขาดความร่วมมือกบั หน่วยงานการศกึ ษาของประเทศจนี ในการพฒั นา การเรยี นการสอนภาษาจนี ทเี่ ป็นรปู ธรรม ปญั หาและอปุ สรรคอืน่ ๆ (ถา้ มี) ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ขอขอบพระคณุ ท่านทใี่ หข้ ้อมลู ในการทำวิจยั คร้งั น ้ี 88 รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อุดมศกึ ษา

ภาคผนวก 3 แบบสมั ภาษณผ์ ู้บรหิ ารหรอื อาจารยผ์ ้เู กี่ยวข้อง กบั การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศกึ ษา

   แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารหรืออาจารย์ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษา ในภาพรวมน้ีเป็นแบบสัมภาษณ์เพ่ือทราบปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษาในหลากหลายด้าน เพ่ือนำข้อมูลปัญหา ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขมาใช้ในการเสนอแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจนี ระดบั อุดมศกึ ษาตอ่ ไป โดยมปี ระเดน็ คำถาม 3 ดา้ น จำนวน 15 ข้อ ดงั นี้ 1. ประเดน็ คำถามด้านการจดั การเรยี นภาษาจนี ระดับอดุ มศกึ ษาและหลักสูตรภาษาจีนในปจั จบุ ัน 1.1 ทา่ นมคี วามเหน็ เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ระดบั อดุ มศกึ ษาของประเทศไทยอยา่ งไร (ภาพรวม) 1.2 ท่านเห็นว่าหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศไทยควรเป็นอย่างไร และ ปัจจุบันสามารถตอบสนองความต้องการของสังคมหรอื ประเทศไทยไดม้ ากน้อยเพียงใด 1.3 หลักสูตรภาษาจนี ในประเทศไทย ท่านเห็นวา่ หลักสูตรใดทน่ี ่าสนใจที่สดุ เพราะเหตุใด 1.4 หลักสตู รภาษาจนี ในประเทศไทย ควรเน้นหนกั อะไร และควรมกี ารจดั การเรยี นการสอนอยา่ งไร 1.5 ทา่ นมคี วามเหน็ เกีย่ วกบั ตำราและหนังสือแบบเรยี นภาษาจนี ระดบั อดุ มศกึ ษาของไทยอยา่ งไร 1.6 ท่านเห็นว่าหลักสูตรภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาเชื่อมโยงกับหลักสูตรภาษาจีนระดับอุดมศึกษาหรือไม่ อย่างไร 2. ประเดน็ คำถามเก่ยี วกบั บุคลากรดา้ นผูส้ อนและผ้เู รยี นภาษาจนี ในปัจจุบัน 2.1 ท่านมคี วามเหน็ เก่ียวกบั บุคลากรดา้ นครูสอนภาษาจีนอย่างไร เพียงพอหรอื ไม่ ควรแกป้ ัญหาอยา่ งไร 2.2 ทา่ นมคี วามเหน็ เกยี่ วกบั ผเู้ รยี นภาษาจนี ในปจั จบุ นั อยา่ งไร ทำอยา่ งไรใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสนใจภาษาจนี มากขน้ึ 2.3 ทา่ นคดิ ว่าบัณฑิตดา้ นภาษาจีนเพยี งพอกับความตอ้ งการสงั คมไทยหรอื ไม่ อยา่ งไร 2.4 ท่านคิดว่าคณุ ภาพบัณฑติ สอดคล้องกับความต้องการของสงั คมไทยหรือไม่ อยา่ งไร 2.5 ท่านเห็นว่าท่านมีทัศนะอย่างไรเก่ียวกับตำราและหนังสือสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาของไทยสถาบัน ควรมีความรว่ มมอื ในการเขยี นตำราพนื้ ฐานและใช้รว่ มกนั หรือไม่ 3. ประเด็นคำถามเกย่ี วกับความรว่ มมือในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ระดับอดุ มศึกษาของประเทศไทย 3.1 ท่านเหน็ ว่าการจดั การศกึ ษาภาษาจีน จำเปน็ ต้องมีความร่วมมอื กันอย่างไร ยังมคี วามจำเปน็ ดา้ นใด 3.2 ท่านคิดวา่ ระดบั กระทรวงฯควรมคี วามรว่ มมือกับประเทศจนี อย่างไรและปัจจบุ นั เพยี งพอหรือไม ่ 3.3 ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรเก่ียวกับการร่วมมือกันของสถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบันอุดมศึกษาของจีน มขี อ้ ดีหรอื ข้อเสียอยา่ งไร มีปัญหาและอปุ สรรคหรือไม่ อยา่ งไร 3.4 ความรว่ มมอื ดา้ นการศึกษาภาษาจนี น้นั ทา่ นเหน็ วา่ ประเด็นใดท่สี ถาบันอุดมศกึ ษาควรรว่ มมอื กันมากทีส่ ุด ควรดำเนินการอย่างไรให้เกดิ ผล __________________________________ 90 รายงานการวิจัยเพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอดุ มศกึ ษา

เกีย่ วกับผู้วิจัย นริศ วศินานนท์ การศกึ ษา ศศ.บ. (ภาษาจีน) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (2528) M.A. (Modern Chinese) Beijing Language and Culture University, P.R.China (พ.ศ. 2534) Ph.D. (Chinese Language and Characters) Beijing Normal University, P.R.China (พ.ศ. 2543) อาจารย์ประจำคณะภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (2537-ปัจจุบัน) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (2558) ประธานหลักสูตร ศศม.สาขาวิชาวรรณคดจนี สมัยใหม่ฯ (2550-ปัจจุบัน) หัวหน้าสาขาวิชาภาษาจีน (2537– 2540) กรรมการสมาคมครูภาษาจีนแห่งประเทศไทย (2546-2554) คณะกรรมการบริหารสมาคมศิษย์เก่านักศึกษามหาวิทยาลัยจีนแห่งประเทศไทย (2545–ปัจจุบัน) คณะกรรมการชมรมนักประพันธ์สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจีนแห่งประเทศไทย (2548–ปัจจุบัน) ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรภาษาจีน ระดับอุดมศึกษา (2543–ปัจจุบัน) อาจารย์ ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ศศม. การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาท่ีสอง (2555–2558) ผลงานวิชาการ หนังสือร้อยหมวดคำจำอักษรจีน (2550) ร้อยเรียงเคียงปัญญาเรียนรู้ภาษาจากวัฒนธรรมจีน (2550) ศาสตร์ศิลปวัฒนธรรรมจีน (2550) ย้อนรอยอักษรจีน (2553) สนทนาจีน-อังกฤษ-ไทยแอร์สจ๊วต มืออาชีพ นริศวศินานนท์ (2554) การศึกษาภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย (วารสาร วิชาการ มฉก. (2546) เรยี นภาษาจนี อย่างไรให้ไดผ้ ล วารสารวิชาการ มฉก.2549) รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอดุ มศึกษา 91

คณะผูด้ ำเนนิ การ เลขาธิการสภาการศกึ ษา ทปี่ รึกษา รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ดร.กมล รอดคล้าย รองเลขาธิการสภาการศึกษา ดร.วัฒนาพร ระงับทกุ ข ์ ผู้ช่วยเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ดร.สมศักด ์ิ ดลประสิทธิ์ ผ้อู ำนวยการสำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา นายชาญ ตนั ตธิ รรมถาวร ผอู้ ำนวยการสำนักนโยบายความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศ นางเรอื งรตั น ์ วงศ์ปราโมทย์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นางสาวประภา ทนั ตศภุ ารักษ์ อาจารย์ประจำภาควชิ าภาษาจนี คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ์ คณะผู้พจิ ารณา อาจารย์ประจำภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก ดร.สมศกั ด์ ิ ดลประสิทธ ์ิ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รศ.ดร.ปกรณ์ ลิมปนสุ รณ์ หัวหนา้ คณะนักวจิ ยั นกั วิจัย รศ.ดร.พชั นี ตง้ั ยนื ยง นกั วจิ ยั นกั วจิ ยั นักวิจยั คณะนักวจิ ยั นักวจิ ยั อาจารยว์ ิภาวรรณ สุนทรจามร หัวหนา้ โครงการ ดร.หทยั แซเ่ จ่ีย นกั วชิ าการประจำโครงการ ดร.ภวู กร ฉตั รบำรุงสุข นักวชิ าการประจำโครงการ อาจารย์กำพล ปิยะศริ กิ ุล ผศ.ดร.นริศ วศินานนท ์ ผศ.ดร.กนกพร ศรีญาณลกั ษ์ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวขนษิ ฐา จริ วริ ยิ วงศ์ นางคทั ริยา แจง้ เดชา นางสาวธรี ตา เทพมณฑา 92 รายงานการวจิ ยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั อุดมศึกษา

บรรณาธิการ นางสาวขนษิ ฐา จิรวริ ิยวงศ ์ นางคัทรยิ า แจ้งเดชา หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ กลุ่มพฒั นานโยบายและยุทธศาสตรด์ ้านการศกึ ษากบั ตา่ งประเทศ สำนกั นโยบายความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั อดุ มศึกษา 93