Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ภาพรวม

รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ภาพรวม

Published by Www.Prapasara, 2021-04-05 04:49:33

Description: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ภาพรวม

ภาษาจีน เป็นภาษาที่สำคัญมากภาษาหนึ่ง และมีแนวโน้มที่จะสำคัญยิ่งขึ้นในอนาคต
เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 5,000 ปี มีการสั่งสม
องค์ความรู้ด้านต่างๆ และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาถึงปัจจุบัน สาธารณรัฐประชาชนจีนยังเป็นประเทศ
มหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก เป็น
ประเทศที่มีความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก และประชากรชาวจีนยังมาก
เป็นอันดับ 1 ของโลก ดังนั้น หากคนไทยมีความรู้ภาษาจีนจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ค้นคว้า
และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สามารถสร้างความร่วมมือด้านธุรกิจการค้าการพัฒนาด้านต่างๆ ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้ประเทศไทยได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้

#รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยภาพรวม
#การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน
#การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Keywords: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยภาพรวม,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Search

Read the Text Version

(3) ดา้ นสอ่ื การเรียนการสอน - สื่อการเรียนการสอน เชน่ แบบเรียน และหนังสอื อา่ นประกอบ มไี ม่เพียงพอ - สื่อการเรียนการสอนขาดความหลากหลาย ไมด่ ึงดดู ความสนใจของผ้เู รียน - โรงเรียนขาดงบประมาณในการจดั ซ้อื สื่อและเทคโนโลยีประกอบการสอน - ส่ือการเรียนการสอน เช่น แบบเรียน ไม่ตรงกับความต้องการของครู และ นกั เรียน ไม่เป็นมาตรฐานเดยี วกนั และไม่สอดคลอ้ งกับข้อสอบเขา้ มหาวิทยาลยั (4) ดา้ นผเู้ รยี น - ความสนใจและความตัง้ ใจในการเรยี นวิชาภาษาจนี ของผูเ้ รยี นค่อนข้างตำ่ - ควรส่งเสริมให้นักเรียนใส่ใจในการเรียนภาษาจีน มีเจตคติท่ีดีต่อวิชาภาษาจีน สรา้ งแรงจงู ใจและเปา้ หมายในการเรียนให้แกน่ กั เรียน - ระดบั พื้นฐานภาษาจนี ของนกั เรียนไมเ่ ท่ากนั (5) ดา้ นการบริหารจัดการ - รฐั บาลควรสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาจนี ให้มคี วามต่อเนอ่ื งทกุ ระดับช้นั - ผบู้ รหิ ารบางโรงเรยี นไมใ่ หค้ วามสำคญั ดา้ นนโยบายการเรยี นการสอนภาษาจนี - ปัญหาด้านการบริหารจัดการเป็นปัญหามากที่สุดในการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน - โรงเรียนเอกชนควรมีโครงการท่ีร่วมมือกับ สพฐ. ในการวางแผนดำเนินงาน พัฒนาในดา้ นต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปจั จบุ ันทเี่ กิดกับนกั เรียน 4.2.2 การนำเสนอข้อมูลยุทธศาสตร์การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนระดับ มัธยมศึกษา ในงานวิจัยระดับมัธยมศึกษา ได้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การส่งเสริม การเรียนการสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาว่า ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมากระทรวงศึกษาธิการ มีการประกาศนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนอย่าง ต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งมีท้ังยุทธศาสตร์ที่ครอบคลุมทุกระดับ การศึกษาและยุทธศาสตร์เฉพาะของระดับการศึกษาหน่ึงๆ สำหรับการส่งเสริมการเรียนการสอน ภาษาจีนระดับมัธยมศึกษานั้น จะจัดอยู่ในยุทธศาสตร์ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับระดับ ประถมศกึ ษา เช่น รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะหภ์ าพรวม 35

(1) ประเด็นยุทธศาสตร์และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการเรียนรู้ภาษาจีน พ.ศ. 2548-2549 ยุทธศาสตร์น้ีมีจุดประสงค์เพ่ือส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นภาษา ต่างประเทศท่ีสองให้เป็นระบบโดยเฉพาะในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเพ่ือให้การจัดการเรียน การสอนภาษาจีนสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและมีความเช่ือมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ สาระสำคญั ของประเดน็ ยุทธศาสตร์ดังกลา่ วแบ่งออกเป็น 7 ด้าน ดังต่อไปน ้ี - ดา้ นนโยบาย - ด้านหลักสตู ร - ดา้ นส่อื การเรียนการสอน - ดา้ นครูผู้สอน - ดา้ นความรว่ มมือกับหนว่ ยงานอ่ืน - ดา้ นวจิ ัย - ดา้ นการพัฒนาแหล่งเรียนรใู้ นท้องถ่นิ (2) แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ของประเทศ (พ.ศ. 2549-2553) เป็นยุทธศาสตร์ที่ครอบคลุมการเรียนการสอนภาษาจีนทุกระดับการศึกษา มกี ารศกึ ษาสภาพปญั หาและการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในขณะนน้ั กอ่ นการกำหนดยทุ ธศาสตร ์ มีการกำหนดเป้าหมายท่ีเป็นตัวเลขชัดเจน มีการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานอย่างละเอียด มีงบประมาณในการดำเนินงานท่ีสูง มีระยะเวลาในการดำเนินงานที่เหมาะสม และจัดทำขึ้นโดย ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงาน โดยมีคณะทำงานเสนอแผนยุทธศาสตร์ปรับปรุง การเรียนการสอนภาษาจีนของกระทรวงศึกษาธิการเป็นเจ้าภาพหลัก ในการจัดทำมีหน่วยงานภาครัฐ ท่ีเกี่ยวข้อง 8 หน่วยงานร่วมปรับปรุงและให้ข้อเสนอแนะ และสุดท้ายได้รับมติเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ทั้งน้ี แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวจัดทำขึ้นเพ่ือเพ่ิม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในสังคมเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน ซ่ึงประกอบด้วยยุทธศาสตร์ ในด้านตา่ งๆ ดังน้ี - ยทุ ธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน - เป้าหมายในการพฒั นาการเรียนการสอนภาษาจีน - งบประมาณในการดำเนินงาน - กลยทุ ธ์การดำเนินงาน 36 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สงั เคราะห์ภาพรวม

(3) นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาจีน พ.ศ. 2557 นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาจีน พ.ศ. 2557 เป็นนโยบายตาม ประกาศ “นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาจีน” สำหรับระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยเฉพาะ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2557 สาระสำคญั ของนโยบายดงั กล่าวมี 6 มาตรการ ไดแ้ ก ่ - มาตรการที่ 1 การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนโดยให้เร่ิมสอนภาษาจีน ไดต้ ัง้ แตช่ น้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 (หรอื ตัง้ แตช่ น้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 หากมีความพร้อม) - มาตรการที่ 2 การพฒั นาหลกั สตู รภาษาจนี อยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั จดั ทำคมู่ อื การใชห้ ลกั สตู ร และแนวทางการทำแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร ู้ - มาตรการท่ี 3 การพัฒนาส่ือการเรียนการสอนภาษาจีน โดยให้ปรับปรุงสื่อ การเรียนการสอนท่มี ีใช้อยู่ในปจั จบุ นั ให้สอดคลอ้ งกบั แนวทางการจัดการเรียนการสอนทปี่ รับใหม ่ - มาตรการท่ี 4 การวัดและประเมินผล โดยให้มีการประเมินความสามารถ การใช้ภาษาจีนของผู้เรียนด้วยเครื่องมือประเมินท่ีได้มาตรฐานระดับสากล หรือใช้ข้อสอบกลางที่ พฒั นาโดย สพฐ. ร่วมกับหนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน - มาตรการท่ี 5 การพฒั นาครูสอนภาษาจีนโดยสำรวจขอ้ มลู พน้ื ฐานและจัดทำ ฐานข้อมูลของครูผสู้ อนเพ่อื วางแผนอัตรากำลงั - มาตรการท่ี 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานพัฒนาการเรียนการสอน ภาษาจนี โดยให้มคี ณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพท้งั ระดับ สพฐ. ระดบั เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา และระดบั สถานศกึ ษา 4.3 ระดบั อาชีวศึกษา ข้อมลู จากผลงานวิจัยระดบั อาชวี ศึกษา (กำพล ปยิ ะศิรกิ กลุ : 2559) ได้นำเสนอข้อมูลใหม่ที่ มีความน่าสนใจคือ การจัดทำกรณีศึกษาของสถานศึกษาในระดับอาชีวศึกษา 6 แห่ง ข้อมูลในส่วนนี้ นำเสนออยูใ่ นส่วนของ (ภาคผนวก1, 2, 3, 4, 5, 6) ซึง่ ประกอบไปด้วย - โรงเรยี นอัสสมั ชญั พาณิชยการ - วิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ และวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตร บรหิ ารธุรกิจ - วทิ ยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภวิ ัฒน ์ - วิทยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น - วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรี - วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม 37

กรณีศึกษาท้ัง 6 แห่งนี้ มีการนำเสนอข้อมูลด้านการเรียนการสอนภาษาจีน ส่ือการเรียน การสอน บุคลากรผู้สอนวิชาภาษาจีน ด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน และความร่วมมือกับ หน่วยงานอื่น เป็นต้น ซึง่ ขอ้ มูลในสว่ นของกรณีศกึ ษามปี ระเดน็ ทนี่ า่ สนใจ ดังนี ้ 4.3.1 กรณีศึกษาโรงเรยี นอัสสัมชัญพาณิชยการ ข้อมูลกรณีศึกษาของโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ (Assumption Commercial College หรือ ACC) ก่อต้ังขึ้นในปี พ.ศ. 2481 เป็นโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลและ เป็นโรงเรียนพาณิชย์แห่งแรกในประเทศไทยที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่ือในการเรียนการสอนในสมัย เริ่มแรก โรงเรียนมีนโยบายฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้ด้านธุรกิจและภาษาอังกฤษเป็นหลัก ต่อมา เนื่องจากผู้บริหารเห็นความสำคัญของภาษาจีน จึงเริ่มจัดการเรียนการสอนภาษาจีนขึ้นในป ี พ.ศ. 2539 ดว้ ยความร่วมมือกบั มหาวิทยาลัยชนั้ นำในประเทศจีน ข้อมูลของกรณีศึกษาระบุว่า ในด้านกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีนเนื่องจาก ผู้บริหารโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการให้ความสำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นอย่างมาก และในขณะเดียวกันโรงเรียนก็มีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนอย่างกว้างขวาง ดังน้ัน กิจกรรมด้าน ภาษาและวัฒนธรรมจีนที่โรงเรียนจัดข้ึนจึงมีจำนวนมาก มีความต่อเนื่องและมีความหลากหลาย เช่น กิจกรรมเทศกาลวันไหว้บ๊ะจ่างวันตรุษจีน การแข่งพูดสุนทรพจน์ Chinese Bridge การแข่ง หมากลอ้ ม การแขง่ เขียนพกู่ นั จนี การแข่งตอบคำถามเกีย่ วกับตวั อักษรจีน การประกวดแผนการสอน และเทคนิคการสอนของอาจารย์อาสาสมัครชาวจีน ค่ายภาษาและวัฒนธรรมจีนสำหรับนักเรียน คา่ ยภาษาและวฒั นธรรมจนี สำหรบั อาจารยโ์ รงเรยี นอาชวี ศกึ ษา โครงการอบรมภาษาจนี สำหรบั อาจารย ์ โรงเรียนอาชีวศึกษา โครงการอบรมอาจารย์อาสาสมัครชาวจีน โครงการอบรมภาษาจีนสำหรับ นักศึกษาของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) โครงการ อบรมภาษาจนี สำหรบั บุคคลภายนอก โครงการสอนภาษาจนี ใหน้ กั เรียนโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล เป็นตน้ นอกจากนี้ สถานศึกษาแห่งนี้ยังมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกอื่นๆ อีกเป็น จำนวนมาก พบว่า โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการได้รับเกียรติให้จัดต้ังห้องเรียนขงจ่ือเม่ือป ี พ.ศ. 2552 และตอ่ มาในปี พ.ศ. 2553 ไดม้ คี วามรว่ มมอื กบั โรงเรยี นมธั ยมฉงฮวา่ เทยี นจนิ สาธารณรฐั ประชาชนจนี (Tianjin Chonghua High School) สถานศึกษาแห่งน้ียังได้รับความช่วยเหลือจากสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอน ภาษาจีนนานาชาติหรือฮั่นป้ัน (Hanban) เป็นอย่างมาก ท้ังด้านหนังสือเรียน สื่อการเรียนการสอน และอาจารยอ์ าสาสมัครชาวจีน นอกจากน้ี โรงเรียนยังมคี วามรว่ มมอื กับโรงเรยี นวังไกลกงั วล โรงเรยี น อัสสัมชัญแผนกประถม โรงเรียนอัสสัมชัญหลักสูตรภาษาอังกฤษ โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา โรงเรียน เซนต์หลุยส์ฉะเชิงเทรา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยครุศาสตร์เทียนจิน (Tianjin Normal University) มหาวิทยาลัยครุศาสตร์กวางสี 38 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สงั เคราะห์ภาพรวม

(Guangxi Normal University) มหาวิทยาลัยฝูโจว (Fuzhou University) และมหาวิทยาลัย เซียะเหมิน (Xiamen University) เปน็ ต้น 4.3.2 กรณีศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ และวิทยาลัยเทคโนโลยี ต้งั ตรงจติ รบรหิ ารธุรกิจ ข้อมูลกรณีศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ และวิทยาลัย เทคโนโลยตี ้งั ตรงจติ รบรหิ ารธรุ กิจ ไดแ้ สดงใหเ้ ห็นวา่ สถานศึกษาในสายอาชวี ศกึ ษาทั้ง 2 แหง่ น้ี ได้ให้ ความสำคัญในด้านการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นอย่างยิ่ง ทำให้มีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ในด้าน กิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมจีน โดยส่งนักเรียนเข้าแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับอาชีวศึกษา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 และไดร้ บั รางวัลชนะเลิศของประเทศไทย การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยเทคโนโลยีต้ังตรงจิตรพณิชยการ (รอบเช้า) ได้เปิดสอนภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับ ปวช. ปี 2 สาขาวิชาการบัญชี การขาย การเลขานกุ าร และคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ (รอบบ่าย) เปิดสอนภาษาจีนให้นักเรียน ระดบั ปวช. ปี 2 สาขาวชิ าการบัญชี การขาย และคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ เรียนเปน็ วิชาเลือกเสรี 2 วชิ า คือภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 และภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร 2 วิชาละ 1 หน่วยกิต เรียนสัปดาห์ละ 2 คาบ ในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการและ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเห้อโจว (Hezhou University) เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง สาธารณรัฐประชาชนจีน ความร่วมมือจะปรากฏในรูป ของการท่ีวิทยาลัยฯ ส่งนักเรียนไปศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนประมาณ 2-3 สัปดาห์ ในช่วงปิด ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน ครง้ั ละประมาณ 10 คน โดยนักเรียนรับผดิ ชอบคา่ ใช้จ่ายเอง และมหาวทิ ยาลยั เห้อโจวจะจัดสง่ นกั ศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยมาฝึกสอนภาษาจนี ทว่ี ทิ ยาลัยเป็นการแลกเปลี่ยน 4.3.3 กรณศี ึกษาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีปัญญาภวิ ัฒน์ กรณีศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ มีข้อมูลที่น่าสนใจคือ สถานศึกษา แห่งนี้มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบทวิภาคี ซึ่งเป็นการเรียนการสอนโดยความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับสถานประกอบการ กำหนดให้ผู้เรียนเรียนทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงใน สถานประกอบการตลอดระยะเวลาในหลักสูตร ปัจจุบันเปิดสอนเฉพาะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาธุรกิจค้าปลกี และไฟฟ้ากำลัง สำหรับข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนน้ัน ข้อมูลจากงานวิจัยได้ชี้ ให้เห็นว่าวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ให้ความสำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีนอย่างมาก เน่ืองจากมีการกำหนดให้นักเรียนสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกได้เรียนภาษาจีนมากเป็นพิเศษถึง 4 วิชา รายงานการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สังเคราะหภ์ าพรวม 39

วิชาละ 2 หน่วยกิต โดยเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์/วิชา ซ่ึงนับว่ามากกว่าเกณฑ์ท่ีสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กำหนดไว้ในหลักสูตร นอกจากนั้น ยังส่งเสริมให้นักเรียน เข้ารว่ มกิจกรรมการแขง่ ขนั ภาษาจีนในรปู แบบตา่ งๆ อยู่เปน็ ประจำ 4.3.4 กรณีศึกษาวิทยาลยั พณิชยการเชตุพน กรณีศึกษาของวิทยาลัยพาณิชยการเชตุพน ข้อมูลจากงานวิจัยในระดับอาชีวศึกษา ได้สะท้อนให้เห็นปัญหาที่เด่นชัดที่สุดของการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับ อาชีวศึกษาคือ ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่ไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา และในท่ีสุดสถานศึกษาได้ ปรับเปล่ียนนโยบายการสอนภาษา ต่างประเทศ โดยเน้นให้ความสำคัญกับภาษาอังกฤษเพียง อยา่ งเดยี วและยกเลิกการเรยี นการสอนภาษาจีน จากข้อมูลที่ค้นพบ วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนเปิดสอนภาษาจีนมาตั้งแต่เร่ิมก่อต้ัง โรงเรียนในปี พ.ศ. 2500 แต่ไม่มีความต่อเน่ืองเพราะขาดแคลนครูผู้สอนภาษาจีน ปัจจุบันเปิดสอน รายวชิ าภาษาจีนให้นักเรียนระดับ ปวช. ในทุกสาขาวิชา เรียนเป็นวิชาเลือกเสรี 2 วิชา คือภาษาจีน เพ่ือการส่ือสาร 1 และภาษาจนี เพือ่ การส่อื สาร 2 วชิ าละ 1 หน่วยกิต เรยี นสปั ดาห์ละ 2 คาบ ต้ังแต่ปีการศึกษา พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป วิทยาลัยจะยกเลิกรายวิชาภาษาจีนออก จากหลักสูตรทุกสาขาวิชา (ยกเว้นนักเรียน ปวช. สาขาวิชาการบัญชีท่ีกำลังศึกษาอยู่) เพ่ือไป เพิ่มจำนวนชั่วโมงเรียนให้รายวิชาภาษาอังกฤษ เนื่องจากมีนโยบายเน้นภาษาอังกฤษเป็นภาษา ตา่ งประเทศหลัก 4.3.5 กรณีศกึ ษาวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี กรณีศึกษาของวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี มีความน่าสนใจในประเด็นที่เก่ียวกับ การเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ซึ่งเปิดสอนภาษาจีนมาต้ังแต่เร่ิมก่อตั้ง โรงเรียนในปี พ.ศ. 2500 เพียงแต่สอนเป็นภาษาจีนแต้จิ๋วไม่ใช่ภาษาจีนกลาง และมีช่วงเวลาที่หยุด สอนภาษาจีนไปประมาณ 10 ปี หลังจากน้ันในปี พ.ศ. 2545 กลับมาเปิดสอนใหม่โดยสอนเป็น ภาษาจีนกลาง ใช้ตัวอักษรจีนแบบย่อและระบบการถอดเสียงแบบพินอิน โดยเริ่มเปิดสอนให้นักเรียน ระดับ ปวช. สาขาวิชาการบัญชี ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 สอนเพิ่มให้นักเรียนระดับ ปวช. สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ ปัจจุบันปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีเปิดสอนรายวิชาภาษาจีนให้ นกั เรียนระดับ ปวช. ปี 2 สาขาวชิ าการบัญชี 7 กลุ่ม จำนวนกว่า 200 คน และสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ ธุรกิจ 8 กลมุ่ จำนวนกวา่ 200 คน รวมกวา่ 400 คน เรยี นเปน็ วิชาเลอื กเสรี 2 วิชา คอื ภาษาจนี เพ่อื การสื่อสาร 1 (ภาคการศึกษาต้น) และ ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร 2 (ภาคการศึกษาปลาย) วิชาละ 1 หน่วยกิต เรียนสัปดาห์ละ 2 คาบ 40 รายงานการวิจัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม

นอกจากน้ี การจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ภาษาจีนภายในสถานศึกษา มีกิจกรรม ท่ีน่าสนใจมากคือ “ภาษาจีนวันละคำ” โดยครูผู้สอนจะกำหนดให้นักเรียนในชมรมภาษาจีนผลัดกัน ออกมาแนะนำคำศัพท์ภาษาจีนและตัวอย่างประโยควันละ 1 คำ ท่ีหน้าเสาธงในตอนเข้าแถวเคารพ ธงชาติตอนเชา้ นกั เรยี นมีหนา้ ที่หาคำศพั ทแ์ ละแต่งประโยคหรือบทสนทนา ส่วนครูผ้สู อนจะทำหน้าที่ เป็นท่ีปรึกษา ช่วยตรวจแก้ไขประโยคหรือบทสนทนา กิจกรรมน้ีทำให้นักเรียนกระตือรือร้นในการ ขวนขวายหาความรู้ด้วยตนเอง สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นกล้าแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ในทป่ี ระชุมชน และ ยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ภาษาจีนภายในสถานศึกษาอีกด้วย และเม่ือถึงปลายภาค การศึกษา นักเรียนในชมรมภาษาจีนยังได้ร่วมกันทำวิจัยสรุปกิจกรรมดังกล่าวเพ่ือส่งสถานศึกษา อกี ด้วย นอกจากนี้ ยังมีข้อมูลในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นของวิทยาลัยพณิชยการ ธนบุรี โดยมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยครุศาสตร์กวางสี (Guangxi Normal University) มีการวางแผนท่ีจะสร้างความร่วมมือแลกเปล่ียนนักศึกษาระหว่างกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริม การศกึ ษาต่อและการฝึกงานเพอ่ื หาประสบการณ์ 4.3.6 กรณศี ึกษาวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเสาวภา การศึกษาวิจัยกรณีศึกษาท่ีวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา ได้นำเสนอข้อมูลใหม ่ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับด้านความร่วมมือกับหน่วยงานในต่างประเทศ เน่ืองจากสถานศึกษาแห่งนี้มี ความรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษาของไตห้ วนั โดยผบู้ รหิ ารของมหาวทิ ยาลยั หมงิ เตา้ (Ming Dao University) สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เคยเดินทางมาเยี่ยมชมการเรียนการสอนของนักศึกษาสาขาวิชาอาหาร และโภชนาการ และแสดงเจตจำนงให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา ไปศึกษาตอ่ ท่มี หาวิทยาลยั หมงิ เตา้ นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารของวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเสาวภายังไดม้ ีโอกาส ไปศึกษาดูงานที่มหาวิทยาลัยหมิงเต้า และยังมีโครงการความร่วมมือแลกเปล่ียนนักศึกษาระหว่างกัน โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ สง่ เสรมิ การศกึ ษาตอ่ และการฝกึ งานเพอื่ หาประสบการณ์ ซง่ึ โครงการความรว่ มมอื ดังกลา่ วได้รบั การสนับสนนุ จากผู้บริหารท้ังสองฝา่ ยเป็นอยา่ งด ี 4.4 ระดับอุดมศึกษา ข้อมูลจากผลงานวิจัยในเล่มระดับอุดมศึกษา (นริศ วศินานนท์ : 2559) ได้นำเสนอข้อมูล ใหม่ที่มีความน่าสนใจคือ ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาจำนวน 58 แห่ง ในประเทศไทยท่ีเปิดดำเนิน หลกั สตู รการเรียนการสอนภาษาจนี ดังข้อมูลตามตารางตอ่ ไปนี้ รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะห์ภาพรวม 41

ตารางท่ี 3 สถาบนั อดุ มศึกษากบั หลักสูตรภาษาจีนท่ีเปิดสอน (ขอ้ มลู สำรวจเดอื นธนั วาคม ปี พ.ศ. 2558) ลำดบั ช่ือมหาวิทยาลยั /วทิ ยาลยั หลกั สตู ร คณะวิชา ท่ี คณะมนุษยศาสตร ์ 1 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ภาษาจีน คณะอักษรศาสตร ์ คณะศิลปศาสตร ์ 2 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ภาษาจนี คณะมนษุ ยศาสตร ์ คณะมนุษยศาสตร์ 3 มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร ์ ภาษาจนี คณะศิลปศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ 4 มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ภาษาจีน คณะมนษุ ยศาสตร ์ 5 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (บางเขน) ภาษาจนี คณะศึกษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (วทิ ยาเขตกำแพงแสน) ภาษาจนี ธรุ กจิ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (วทิ ยาเขตเฉลมิ พระเกยี รต ิ วชิ าเลือกภาษาจีน คณะศึกษาศาสตร ์ จงั หวัดสกลนคร) ในหมวดการศึกษาทัว่ ไป สถาบันการศึกษา นานาชาติ 6 มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ การสอนภาษาจนี ใน คณะมนุษยศาสตร์ ฐานะภาษาตา่ งประเทศ คณะมนุษยศาสตร ์ คณะศิลปศาสตร์ 7 มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ การสอนภาษาจีน และสงั คมศาสตร ์ การสอนภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร ์ คณะศึกษาศาสตร ์ คณะศิลปศาสตร ์ 8 มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ ภาษาจีน คณะศิลปศาสตร ์ 9 มหาวิทยาลนั นเรศวร ภาษาจนี 10 มหาวิทยาลัยทกั ษิณ ภาษาจนี 11 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ ่ ภาษาจีน 12 มหาวิทยาลัยพายัพ ภาษาและวัฒนธรรมจีน 13 มหาวทิ ยาลัยบูรพา ภาษาจนี การสอนภาษาจีน 14 มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี ภาษาจีนเพือ่ การส่อื สาร 15 มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ ์ ภาษาจีน 42 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม

ตารางที่ 3 สถาบันอุดมศึกษากับหลักสูตรภาษาจนี ท่ีเปดิ สอน (ข้อมลู สำรวจเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2558) (ตอ่ ) ลำดบั ชือ่ มหาวทิ ยาลยั /วทิ ยาลัย หลกั สูตร คณะวชิ า ท่ี 16 มหาวิทยาลยั พะเยา ภาษาจนี คณะศิลปศาสตร์ 17 มหาวิทยาลยั ศิลปากร ภาษาจีน คณะอกั ษรศาสตร์ (วทิ ยาเขตพระราชวังสนามจันทร)์ ภาษาจนี คณะศกึ ษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (เพชรบุร)ี วชิ าเลอื กของคณะ คณะวทิ ยาการ การจดั การท่องเทีย่ ว จัดการ และการจัดการตลาด 18 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ภาษาและวฒั นธรรมจนี สำนักวชิ าจนี วทิ ยา การสอนภาษาจีน จนี ศกึ ษา 19 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนาร ี วชิ าเลอื กเสร ี 20 มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลัย ภาษาจนี สถาบันภาษา 21 วทิ ยาลยั นานาชาติปรดี ี พนมยงค ์ จนี ศกึ ษา วทิ ยาลยั นานาชาตฯิ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 22 วิทยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร ์ 23 มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ ภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร ์ การสอนภาษาจนี คณะศึกษาศาสตร์ 24 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุนันทา ภาษาจนี คณะมนษุ ยศาสตร ์ 25 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต ภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร์ 26 มหาวิทยาลัยราชภฏั จอมบึง เพชรบรุ ี ภาษาจนี คณะมนษุ ยศาสตร์ และสงั คมศาสตร ์ การสอนภาษาจนี คณะครศุ าสตร ์ 27 มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี ภาษาจีน คณะมนษุ ยศาสตร์ ภาษาจนี ธรุ กิจ คณะการท่องเท่ยี ว นานาชาติ 28 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งราย ภาษาจีน คณะมนษุ ยศาสตร์ การสอนภาษาจีน คณะครศุ าสตร์ รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สังเคราะหภ์ าพรวม 43

ตารางท่ี 3 สถาบันอุดมศกึ ษากบั หลักสูตรภาษาจีนทเี่ ปดิ สอน (ขอ้ มูลสำรวจเดอื นธนั วาคม ปี พ.ศ. 2558) (ต่อ) ลำดบั ช่ือมหาวทิ ยาลัย/วทิ ยาลัย หลักสูตร คณะวิชา ที่ 29 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ ์ การสอนภาษาจนี คณะครศุ าสตร์ ภาษาจนี ธุรกิจ วทิ ยาลยั นานาชาต ิ 30 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ ฉะเชงิ เทรา การสอนภาษาจีน คณะครุศาสตร ์ 31 มหาวิทยาลยั ราชภฏั ศรีสะเกษ ภาษาจีน คณะมนษุ ยศาสตร ์ การสอนภาษาจีน คณะครุศาสตร ์ 32 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย การสอื่ สารภาษาจนี -องั กฤษ คณะมนษุ ยศาสตร์ 33 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชร ภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร์ การสอนภาษาจนี คณะครุศาสตร ์ 34 มหาวิทยาลัยราชภฏั ลำปาง ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ 35 มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี ภาษาจนี คณะมนษุ ยศาสตร์ 36 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา ภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร ์ 37 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ 38 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธาน ี ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ 39 มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุร ี ภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร ์ 40 มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา ภาษาจีน คณะมนษุ ยศาสตร ์ 41 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี ลพบรุ ี ภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร์ และสงั คมศาสตร ์ 42 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วชิ าเลือกเสรี คณะมนษุ ยศาสตร ์ 43 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลบพติ รพิมขุ จกั รวรรดิ ภาษาจนี คณะศลิ ปศาสตร์ 44 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร ี วชิ าภาษาตา่ งประเทศ คณะศลิ ปศาสตร์ 45 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีล้านนา เชยี งใหม ่ ภาษาจีน ศลิ ปศาสตร ์ ภาษาจนี เพ่อื การส่ือสาร 44 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สงั เคราะห์ภาพรวม

ตารางท่ี 3 สถาบันอุดมศกึ ษากบั หลักสูตรภาษาจนี ที่เปดิ สอน (ขอ้ มลู สำรวจเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2558) (ตอ่ ) ลำดบั ชื่อมหาวิทยาลัย/วทิ ยาลยั หลกั สูตร คณะวชิ า ที่ คณะภาษาและ 46 มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลิมพระเกียรติ ภาษาจนี วัฒนธรรมจีน ภาษาและวฒั นธรรมจนี คณะภาษาและ วัฒนธรรมจนี คณะศลิ ปศาสตร ์ คณะมนษุ ยศาสตร ์ 47 มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ ภาษาจีนธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร ์ คณะศลิ ปศาสตร ์ 48 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภาษาจีน คณะศิลปศาสตร ์ คณะมนษุ ยศาสตร์ 49 มหาวทิ ยาลัยรงั สติ ภาษาจนี คณะศิลปศาสตร ์ คณะศิลปศาสตร์ 50 มหาวทิ ยาลัยราชพฤกษ์ ภาษาจนี คณะศิลปศาสตร ์ คณะศลิ ปศาสตร์ 51 มหาวทิ ยาลัยอัสสัมชัญ ภาษาจนี ธรุ กจิ คณะสงั คมศาสตร ์ และศิลปศาสตร ์ 52 มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ ภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ 53 มหาวทิ ยาลันเซาธ์อสี ท์บางกอก ภาษาจีน 54 มหาวิทยาลัยฟารอ์ ีสเทอร์น ภาษาจนี ธุรกจิ 55 มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ภาษาจนี 56 มหาวทิ ยาลัยอีสเทอรน์ เอเชีย จนี ศึกษา 57 มหาวิทยาลยั นอรท์ -เชียงใหม ่ ภาษาจนี เพ่อื การสอื่ สาร 58 สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน ์ ภาษาจีนธุรกจิ จากตารางข้อมูลหลักสูตรภาษาจีนของสถาบันอุดมศึกษาต่าง ทำให้เห็นข้อมูลด้านหลักสูตร การเรยี นการสอนภาษาจีนในภาพรวมวา่ ปจั จบุ ันมีหลกั สูตรทห่ี ลากหลาย ดังนี ้ 1. หลกั สตู รภาษาจีน 2. หลักสตู รภาษาจนี ธุรกิจ 3. หลกั สตู รการสอนภาษาจนี 4. หลักสูตรภาษาและวัฒนธรรมจนี 5. หลักสูตรจนี ศกึ ษา รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม 45

6. หลกั สูตรวัฒนธรรมจนี ศึกษา 7. หลกั สตู รการจดั การท่องเทีย่ ว 8. หลกั สตู รภาษาจนี การท่องเทยี่ วและโรงแรม 9. หลกั สูตรภาษาจนี เพ่ือการสือ่ สาร จากข้อมูลวิจัยระดับอุดมศึกษาชี้ว่า แม้ว่าสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในปัจจุบันจะมี การเปิดหลกั สูตรภาษาจนี อย่างหลากหลาย แตใ่ นความเปน็ จรงิ แลว้ เนือ้ หาหลกั สูตรโดยท่ัวไปยงั ไม่ได้ มีความแตกต่างกันอย่างเด่นชัด ส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะของการปูพื้นฐานความรู้เก่ียวกับภาษาจีน อย่างกว้างๆ ซ่ึงก็คือการเน้นการเรียนการสอนท่ีฝึกทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีน เป็นหลัก จะมีความแตกต่างกันบ้างในแต่ละสถาบันการศึกษา ก็เพียงแต่ในด้านรูปแบบของ การบริหารจัดการหลักสูตร ซึ่งบางสถาบันอาจจะมีความรว่ มมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ เปน็ ตน้ ส่วนหลักสูตรวิชาชีพ เช่น หลักสูตรการสอนภาษาจีน หลักสูตรภาษาจีนการท่องเที่ยวและโรงแรม ยังไม่มีข้อมูลชัดเจนว่าสามารถจัดทำหลักสูตรท่ีเน้นเน้ือหาการเรียนการสอนในสายวิชาชีพได้ อย่างชัดเจนมากน้อยประการใด 4.5 การศกึ ษานอกระบบ ข้อมูลจากผลงานวิจัยของการศึกษานอกระบบ (กนกพร ศรีญาณลักษณ์ : 2559) ได้เสนอ ขอ้ มลู นา่ สนใจเกยี่ วกบั กลมุ่ ผ้เู รียนภาษาจีนของการศกึ ษานอกระบบ ดังน ้ี (1) กลุ่มผู้เรียนที่สนใจเรียนภาษาจีนมากที่สุดคือบุคคลทั่วไป รองลงมาคือนักเรียนช้ัน มัธยมต้น-ปลาย และนกั เรยี นช้นั ประถมตน้ -ปลายตามลำดบั (2) ข้อมูลของจำนวนผ้เู รียนย้อนหลัง 3 ปี ปรากฏวา่ จำนวนผู้เรียนทีเ่ พิ่มขึน้ อย่างต่อเน่อื ง ทุกปีจะเป็นกลุ่มนักเรียนช้ันประถมต้น-ปลาย ส่วนผู้เรียนในกลุ่มอ่ืนๆ จะมีลักษณะเพิ่มขึ้นและลดลง ต่างกันเพยี งเล็กน้อยในแตล่ ะชว่ งป ี (3) วัตถุประสงค์ในการเรียนภาษาจีนของผู้เรียนจะเป็นการเรียนเพ่ือเพ่ิมเติมความรู้ด้าน ภาษาโดยส่วนมาก โดยเป็นความสนใจส่วนตัว รองลงมาคือเรียนเพ่ือสอบเข้าเรียนต่อในระดับ การศึกษาท่ีสูงขึ้น และเพื่อใช้ในการทำงานโดยเป็นความสนใจส่วนตัวตามลำดับ ข้อมูลและ รายละเอยี ดตามตารางตอ่ ไปน้ี 46 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สังเคราะห์ภาพรวม

ตารางที่ 4 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ดา้ นผู้เรยี น จำนวน (คน) รอ้ ยละ 1. กล่มุ ผเู้ รยี น (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) นกั เรยี นต่ำกวา่ ชั้นประถม 11 35 นกั เรียนชัน้ ประถมตน้ -ปลาย 25 81 นักเรียนชนั้ มัธยมตน้ -ปลาย 26 84 นิสติ /นกั ศึกษาระดับอุดมศึกษา 21 68 บคุ คลทั่วไปท่สี นใจ 28 90 2. จำนวนผู้เรยี น 3 ปี ยอ้ นหลัง นักเรียนตำ่ กวา่ ชั้นประถม ปี พ.ศ. 2555 90 26 ปี พ.ศ. 2556 134 39 ปี พ.ศ. 2557 116 34 นักเรียนชนั้ ประถมต้น-ปลาย ปี พ.ศ. 2555 365 29 ปี พ.ศ. 2556 419 33 ปี พ.ศ. 2557 473 38 นักเรยี นชัน้ มธั ยมต้น-ปลาย ปี พ.ศ. 2555 440 34 ปี พ.ศ. 2556 380 32 ปี พ.ศ. 2557 394 33 นิสิต/นกั ศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ปี พ.ศ. 2555 126 35 ปี พ.ศ. 2556 126 35 ปี พ.ศ. 2557 109 30 บุคคลทั่วไปท่ีสนใจ ปี พ.ศ. 2555 104 34 ปี พ.ศ. 2556 92 30 ปี พ.ศ. 2557 107 35 รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม 47

ตารางที่ 4 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ (ต่อ) ด้านผเู้ รยี น จำนวน (คน) ร้อยละ 3. ผ้เู รียนมวี ตั ถปุ ระสงค์ในการเรียนภาษาจีน (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) เพือ่ สอบเขา้ เรยี นตอ่ ในระดับการศกึ ษาท่สี ูงขน้ึ 24 77 เพื่อใช้ในการทำงาน โดยเป็นความสนใจส่วนตวั 23 74 เพอ่ื ใชใ้ นการทำงาน โดยเปน็ ความต้องการหนว่ ยงานต้นสงั กัด 12 39 เพ่อื เพ่ิมเตมิ ความรู้ทางดา้ นภาษา โดยเปน็ ความสนใจสว่ นตวั 26 84 อ่นื ๆ โปรดระบุ 2 6 - ใช้สอบ HSK - สื่อสารกับเพือ่ นชาวจีน / สมรสกับชาวจีน ไต้หวัน 48 รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะหภ์ าพรวม

บรรณานกุ รม หทัย แซ่เจี่ย. 2559. “การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา” สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. ภวู กร ฉตั รบำรงุ สขุ . 2559. “การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศึกษา” สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กำพล ปิยะศริ กิ ลุ . 2559. “การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอาชีวศกึ ษา” สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. นริศ วศินานนท์. 2559. “การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับอดุ มศึกษา” สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. กนกพร ศรีญาณลักษณ์. 2559. “การวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใน ประเทศไทย การศึกษานอกระบบ” สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวง ศึกษาธกิ าร. รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม 49

เกี่ยวกับผูว้ ิจยั ชอื่ – ช่อื สกุล วภิ าวรรณ สนุ ทรจามร ที่ทำงานปัจจุบนั สาขาวิชาภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร์และประยุกตศ์ ิลป ์ มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย ตำแหน่งหนา้ ท่ีปจั จุบนั อาจารย์ประจำสาขาวชิ าภาษาจนี คณะมนุษยศาสตร์และประยกุ ตศ์ ิลป ์ มหาวิทยาลัยหอการคา้ ไทย ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. 2525 ศศ.บ. (สาขาการสอ่ื สารมวลชน-หนงั สอื พมิ พ)์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พ.ศ. 2530 Cert. in Modern Chinese Beijing Language and Culture University, P.R.C. พ.ศ. 2531 Cert. in Chinese Language and Literature Peking University, P.R.C. พ.ศ. 2535 MA. Modern Chinese (Teaching Chinese as a Foreign Language) Peking University, P.R.C. ผลงานตพี ิมพ ์ WipawanSundarajamara. 2006. 汉- 泰定语语序对比研究 (Comparative Study of Chinese - Thai attributive word order), UTCC International Conference 2006 : Language in the Realm of Social Dynamics. Bangkok. วิภาวรรณ สนุ ทรจามร. 2553. ตำราภาษาจนี ระดบั อดุ มศึกษา เลม่ ท่ี 1 (หน่วยที่ 5-8). กรุงเทพฯ : ศูนย์จนี ศกึ ษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, 54 หน้า. 50 รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สังเคราะหภ์ าพรวม

คณะผดู้ ำเนินการ เลขาธิการสภาการศกึ ษา ท่ปี รึกษา รองเลขาธิการสภาการศึกษา ดร.กมล รอดคล้าย รองเลขาธิการสภาการศกึ ษา ดร.วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข ์ ผชู้ ่วยเลขาธิการสภาการศกึ ษา ดร.สมศกั ด์ ิ ดลประสิทธ์ิ ผู้อำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศึกษา นายชาญ ตนั ติธรรมถาวร ผ้อู ำนวยการสำนกั นโยบายความร่วมมือกบั ต่างประเทศ นางเรืองรตั น ์ วงศ์ปราโมทย ์ รองเลขาธิการสภาการศกึ ษา นางสาวประภา ทันตศภุ ารกั ษ์ อาจารย์ประจำภาควชิ าภาษาจีน คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ คณะผพู้ ิจารณา อาจารยป์ ระจำภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวันออก ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธ ิ์ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั รศ.ดร.ปกรณ์ ลิมปนสุ รณ์ หวั หนา้ คณะนักวิจัย นักวจิ ยั รศ.ดร.พัชนี ตง้ั ยนื ยง นักวจิ ยั นกั วจิ ัย นกั วิจยั คณะนักวจิ ยั นักวจิ ยั อาจารย์วิภาวรรณ สุนทรจามร หวั หน้าโครงการ ดร.หทยั แซ่เจยี่ นักวชิ าการประจำโครงการ ดร.ภวู กร ฉัตรบำรุงสุข นักวชิ าการประจำโครงการ อาจารย์กำพล ปยิ ะศริ กิ ลุ ผศ.ดร.นริศ วศนิ านนท ์ ผศ.ดร.กนกพร ศรญี าณลกั ษ ์ ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางสาวขนิษฐา จิรวริ ยิ วงศ์ นางคทั รยิ า แจ้งเดชา นางสาวธีรตา เทพมณฑา รายงานการวิจัยเพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย สงั เคราะหภ์ าพรวม 51

บรรณาธกิ าร นางสาวขนษิ ฐา จิรวริ ิยวงศ์ นางคทั รยิ า แจ้งเดชา หน่วยงานรับผิดชอบ กล่มุ พฒั นานโยบายและยทุ ธศาสตร์ดา้ นการศึกษากับตา่ งประเทศ สำนักนโยบายความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ 52 รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะห์ภาพรวม