ตารางที่ 8 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบดา้ นผสู้ อน (ตอ่ ) ดา้ นผ สู้ อน จำนวน ร้อยละ (คน) ผู้สอนสัญชาติ (ระบุสญั ชาต)ิ มีวุฒิการศึกษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปริญญาโท 0 0 ไมม่ ีวุฒิการศกึ ษาทางด้านภาษาจีนระดับปรญิ ญาโท 0 0 ผู้สอนสัญชาติ (ระบสุ ัญชาต)ิ มีวฒุ กิ ารศกึ ษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปริญญาเอก 0 0 ไมม่ ีวุฒกิ ารศกึ ษาทางดา้ นภาษาจนี ระดบั ปรญิ ญาเอก 0 0 2. ผสู้ อนใชภ้ าษาใดในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 2.1 ผู้สอนสญั ชาตไิ ทยใช้ภาษา ภาษาไทย 0 0 ภาษาไทยกบั ภาษาจีน 20 65 ภาษาจนี 0 0 2.2 ผู้สอนสัญชาติจีนใชภ้ าษา ภาษาจีน 2 6 ภาษาไทยกับภาษาจนี 17 55 ภาษาจีนกบั ภาษาองั กฤษ 8 26 2.3 ผู้สอนสัญชาตอิ ่ืน (เช่น ไตห้ วนั สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น) ใชภ้ าษา ภาษาจนี 1 3 ภาษาไทยกบั ภาษาจีน 1 3 ภาษาจนี กับภาษาองั กฤษ 0 0 อื่นๆ โปรดระบุ 0 0 3. จำนวนผูส้ อนภาษาจนี ประจำ/พเิ ศษ และจำนวนช่ัวโมงสอน 3.1 ผสู้ อนประจำ 20 65 3.1.1 จำนวนผ้สู อนประจำ 1 คน 5 16 2 คน 7 23 3 คน 2 6 4 คน 1 3 6 คน 1 3 7 คน 1 3 รายงานการวิจยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 33
ตารางท่ี 8 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบด้านผู้สอน (ต่อ) ดา้ นผ ูส้ อน จำนวน ร้อยละ (คน) 3.1.2 จำนวนชว่ั โมงสอนภาษาจนี ของผ้สู อนประจำตอ่ สัปดาห ์ น้อยกว่าหรือเท่ากบั 10 ช่ัวโมง 8 26 11-20 ชัว่ โมง 5 16 21-30 ชว่ั โมง 3 10 มากกวา่ 30 ชว่ั โมง 3 10 ไมร่ ะบ ุ 1 3 3.2 ผู้สอนพิเศษ 19 61 3.2.1 จำนวนผสู้ อนพเิ ศษ 1 คน 5 16 2 คน 8 26 3 คน 1 3 4 คน 2 6 6 คน 2 6 8 คน 1 3 3.2.2 จำนวนช่วั โมงสอนภาษาจีนของผ้สู อนพิเศษตอ่ สัปดาห ์ นอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับ 10 ชว่ั โมง 11 35 11-20 ช่วั โมง 4 13 21-30 ชัว่ โมง 0 0 มากกว่า 30 ชว่ั โมง 1 3 ไมร่ ะบุ 3 10 3.3 ไมร่ ะบุจำนวนผ้สู อนภาษาจนี ประจำ/พิเศษ และจำนวนช่วั โมงสอน 3 10 4. ผู้สอนอายเุ ฉลีย่ ประมาณเท่าใด 4.1 ผู้สอนสญั ชาตไิ ทย นอ้ ยกว่า 25-25 ปี 3 10 30-35 ป ี 9 29 40-45 ป ี 6 19 50-60 ปี 4 13 34 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ตารางที่ 8 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบดา้ นผ้สู อน (ตอ่ ) ดา้ นผ สู้ อน จำนวน รอ้ ยละ (คน) 4.2 ผู้สอนสญั ชาตจิ ีนหรือสัญชาติอ่นื (เชน่ ไตห้ วัน สงิ คโปร์ มาเลเซีย เป็นตน้ ) น้อยกวา่ 25-25 ป ี 7 23 30-35 ป ี 15 48 40-45 ป ี 1 3 50-60 ปี 2 6 5. ความกา้ วหน้าทางวชิ าชพี ของผสู้ อน สถานศึกษาสนับสนุนให้ผูส้ อนภาษาจีนเขา้ อบรมเพ่มิ พนู ความรู้ 23 74 ดา้ นการสอนภาษาจีน สถานศึกษามีนโยบายมอบรางวัลแกผ่ ู้สอนภาษาจีน 3 10 สถานศึกษาสนบั สนนุ ใหผ้ สู้ อนภาษาจีนศกึ ษาต่อ 5 16 อนื่ ๆ โปรดระบุ 0 0 * เฉพาะขอ้ มูลในข้อ 3 เปน็ จำนวนแหง่ จากตารางที่ 8 แสดงวา่ สภาพปัจจบุ นั ของการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบดา้ น ผสู้ อน มีรายละเอียด ดงั น ้ี สัญชาติ คุณวุฒิ และจำนวนของผู้สอนภาษาจีน มีทั้งผู้สอนสัญชาติไทย สัญชาติจีน และ สัญชาติอื่นๆ เช่น ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย กรณีเป็นผู้สอนสัญชาติไทย ส่วนมากมีวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรีทางด้านภาษาจีน ผู้สอนสัญชาติจีน ส่วนมากมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทาง ดา้ นภาษาจีนเชน่ กนั สว่ นผ้สู อนสญั ชาติอ่ืนเช่น ไต้หวนั สิงคโปร์ มาเลเซีย นน้ั มเี พยี งประกาศนยี บตั ร ทางดา้ นภาษาจนี การใช้ภาษาในการจัดการเรียนการสอนของผู้สอน กรณีผู้สอนสัญชาติไทย ส่วนมากใช ้ ภาษาไทยร่วมกับภาษาจีน กรณีผู้สอนสัญชาติจีน ส่วนมากใช้ภาษาไทยร่วมกับภาษาจีนเช่นกัน ส่วน ผู้สอนสัญชาติอ่ืน เช่น ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซียนั้น ใช้ภาษาจีน ภาษาไทยร่วมกับภาษาจีน และ ภาษาจนี ร่วมกับภาษาอังกฤษในสัดส่วนทเ่ี ทา่ กนั จำนวนผู้สอนภาษาจีนประจำ/พิเศษ ส่วนมากมีผู้สอนประจำมากกว่าผู้สอนพิเศษ จำนวน ผู้สอนประจำส่วนใหญ่มีจำนวน 2 คน และจำนวนชั่วโมงสอนส่วนใหญ่จะน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ ส่วนผู้สอนพิเศษส่วนใหญ่มีจำนวน 2 คน และจำนวนชั่วโมงสอนส่วนใหญ่จะ น้อยกว่าหรอื เทา่ กบั 10 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์เชน่ กัน รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 35
อายุเฉลยี่ ของผูส้ อน ผู้สอนสญั ชาตไิ ทยมอี ายุเฉล่ยี ประมาณ 31-35 ปี ส่วนผู้สอนสญั ชาตจิ นี หรอื สัญชาตอิ ่นื เชน่ ไตห้ วนั สิงคโปร์ มาเลเซยี เปน็ ต้น อายเุ ฉลย่ี ประมาณ 31-35 ปี เช่นกัน ส่วนความก้าวหน้าทางวิชาชีพของผู้สอน สถานศึกษาสนับสนุนให้ผู้สอนภาษาจีนเข้าอบรม เพิ่มพูนความรู้ด้านการสอนภาษาจีนมากที่สุด รองลงมาคือการสนับสนุนให้ผู้สอนภาษาจีนศึกษาต่อ และมนี โยบายมอบรางวัลแกผ่ ูส้ อนภาษาจนี ตามลำดบั ผเู้ รียนในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ตารางที่ 9 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ด้านผเู้ รยี น ดา้ นผ ูเ้ รียน จำนวน รอ้ ยละ (คน) 1. กลมุ่ ผ้เู รยี น (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) นกั เรยี นตำ่ กวา่ ชน้ั ประถม 11 35 นักเรียนช้นั ประถมต้น-ปลาย 25 81 นักเรียนชัน้ มัธยมต้น-ปลาย 26 84 นสิ ิต/นักศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา 21 68 บุคคลทวั่ ไปทสี่ นใจ 28 90 2. จำนวนผู้เรียน 3 ปี ยอ้ นหลัง นักเรียนต่ำกวา่ ช้นั ประถม - ปี พ.ศ. 2555 90 26 - ปี พ.ศ. 2556 134 39 - ปี พ.ศ. 2557 116 34 นักเรยี นชนั้ ประถมต้น-ปลาย - ปี พ.ศ. 2555 365 29 - ปี พ.ศ. 2556 419 33 - ปี พ.ศ. 2557 473 38 นกั เรียนชัน้ มธั ยมตน้ -ปลาย - ปี พ.ศ. 2555 440 34 - ปี พ.ศ. 2556 380 32 - ปี พ.ศ. 2557 394 33 36 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ตารางท่ี 9 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ด้านผเู้ รียน (ต่อ) ดา้ นผ ู้เรียน จำนวน ร้อยละ (คน) นสิ ติ /นกั ศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา - ปี พ.ศ. 2555 126 35 - ปี พ.ศ. 2556 126 35 - ปี พ.ศ. 2557 109 30 บุคคลท่ัวไปท่สี นใจ - ปี พ.ศ. 2555 34 - ปี พ.ศ. 2556 104 30 - ปี พ.ศ. 2557 92 35 107 3. ผเู้ รียนมีวัตถปุ ระสงค์ในการเรยี นภาษาจีน (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) เพอื่ สอบเขา้ เรียนตอ่ ในระดับการศึกษาทีส่ งู ขนึ้ 77 เพ่อื ใช้ในการทำงาน โดยเป็นความสนใจส่วนตวั 74 เพือ่ ใช้ในการทำงาน โดยเปน็ ความตอ้ งการหน่วยงานตน้ สงั กดั 24 39 เพือ่ เพ่ิมเติมความรูท้ างดา้ นภาษา โดยเป็นความสนใจสว่ นตัว 23 84 อ่นื ๆ โปรดระบุ 12 6 - ใชส้ อบ HSK 26 - สื่อสารกบั เพอื่ นชาวจนี / สมสรกบั ชาวจนี ไต้หวนั 2 4. จำนวนผเู้ รยี นตอ่ หอ้ ง น้อยกวา่ 10 คน 90 11-20 คน 10 21-30 คน 28 0 มากกว่า 30 คน 3 0 0 5. พื้นฐานความร้ภู าษาจีนของผู้เรียน 0 5.1 กอ่ นเรียนผู้เรียนมพี ้นื ฐานความรภู้ าษาจนี อยา่ งไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ไมม่ ีพ้ืนฐานความรภู้ าษาจีน 100 มีพ้ืนฐานความรูภ้ าษาจนี โดยเคยเรียนมาไมเ่ กนิ 3 ปี 71 มพี น้ื ฐานความรูภ้ าษาจีนโดยเคยเรยี นมา 3-6 ปี 31 10 มีพ้นื ฐานความร้ภู าษาจนี โดยเคยเรียนมากกวา่ 6 ป ี 22 0 3 0 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 37
ตารางท่ี 9 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ด้านผู้เรียน (ตอ่ ) ดา้ นผ ู้เรยี น จำนวน ร้อยละ (คน) 5.2 กรณีผู้เรยี นมพี ้นื ฐานความรภู้ าษาจนี ไมเ่ ทา่ กัน สถาบันของทา่ น มมี าตรการอยา่ งไร (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) สอบวัดความรภู้ าษาจีน โดยขา้ มไปเรียนรายวิชาที่สูงกวา่ 9 29 จัดห้องเรยี นโดยแบง่ กลุม่ ตามระดบั ความรภู้ าษาจีน 24 77 จดั หอ้ งเรียนรวมกนั เพ่อื ผเู้ รียนจะได้ช่วยเหลือกนั 4 13 ให้ผ้เู รยี นปรบั พน้ื ฐานความรภู้ าษาจีนก่อน 14 45 ไมม่ ีมาตรการใดๆ 0 0 5.3 เกณฑ์หรือดชั นีบง่ ชี้ระดับความรู้ภาษาจีนของผ้เู รยี น (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) จัดสอบวดั ระดบั ความรโู้ ดยสถาบัน 28 90 ไม่มีเกณฑก์ ารวดั ผลนอกเหนือจากการสอบรายวิชา 2 6 กำหนดเกณฑ์การสอบ HSK (ระดบั 1-5) 5 16 จากตารางที่ 9 แสดงว่าสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบด้าน ผเู้ รยี น มีรายละเอียด ดงั นี ้ กลุ่มผู้เรียนที่สนใจเรียนภาษาจีนมากท่ีสุด คือบุคคลทั่วไป รองลงมาคือ นักเรียนช้ัน มธั ยมตน้ -ปลาย และนกั เรียนชนั้ ประถมตน้ -ปลาย ตามลำดบั จำนวนผู้เรียนย้อนหลัง 3 ปี จำนวนผู้เรียนที่มีอัตราเพิ่มข้ึนต่อเนื่องทุกปี เป็นนักเรียน ชน้ั ประถมต้น-ปลาย สว่ นผู้เรียนในกลมุ่ อืน่ มเี พ่ิมขน้ึ และลดลงต่างกนั เล็กนอ้ ยในแต่ละชว่ งป ี วัตถุประสงค์ในการเรียนภาษาจีนของผู้เรียน ส่วนมากเรียนเพื่อเพ่ิมเติมความรู้ด้านภาษา โดยเป็นความสนใจส่วนตัว รองลงมาเรียนเพ่ือสอบเข้าเรียนต่อในระดับการศึกษาท่ีสูงขึ้น และเพ่ือใช้ ในการทำงาน โดยเปน็ ความสนใจส่วนตัว ตามลำดับ จำนวนผเู้ รียนตอ่ ห้อง สว่ นมากน้อยกวา่ 10 คน รองลงมาประมาณ 11-20 คน ตามลำดับ พ้นื ความรู้ภาษาจีนของผู้เรยี น สว่ นมากผู้เรียนท่ีมาเรียนไม่มพี ้นื ความรูภ้ าษาจีนมากอ่ น กรณี ผู้เรียนมีพ้ืนความรู้ภาษาจีนไม่เท่ากัน ส่วนมากโรงเรียนหรือสถาบันมีมาตรการในการจัดการโดยจัด ห้องเรียนแบ่งกลุ่มตามระดับความรู้ภาษาจีนของผู้เรียน และเกณฑ์หรือดัชนีบ่งชี้ระดับความร ู้ ภาษาจนี ของผ้เู รียน ส่วนมากใช้วธิ ีการจัดสอบวัดระดบั ความรโู้ ดยโรงเรียนหรือสถาบัน 38 รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ความรว่ มมือในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ตารางที่ 10 แสดงจำนวน และร้อยละข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ด้านความร่วมมือกบั หน่วยงานอน่ื ด้านความร่วมมือ กบั หนว่ ยงานอื่น จำนวน ร้อยละ (แหง่ ) 1. มคี วามรว่ มมอื กบั หน่วยงานอนื่ ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนหรือไม ่ ม ี 12 39 ไม่ม ี 19 61 2. หน่วยงานท่มี ีความรว่ มมือในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีน เป็นหน่วยงานภายในประเทศ 4 13 เป็นหนว่ ยงานภายนอกประเทศ 2 6 ทงั้ หน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ 6 19 3. ประเภทของหน่วยงานทีม่ คี วามรว่ มมอื ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน 3.1 หน่วยงานภายในประเทศท่มี ีความร่วมมือ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี 2 6 หอ้ งเรียน / สถาบันขงจอ่ื 3 10 มหาวทิ ยาลยั 3 10 สถาบนั ระดบั เดียวกัน 5 16 บริษัทเอกชน 3 10 อืน่ ๆ โปรดระบ ุ 1 3 - สมาคมครจู ีน 3.2 หน่วยงานภายนอกประเทศที่มีความร่วมมอื (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) สำนกั งานฮนั่ ปน้ั 1 3 มหาวทิ ยาลัย 5 16 สถาบนั ระดบั เดียวกนั 4 13 บรษิ ทั เอกชน 1 3 รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 39
ตารางที่ 10 แสดงจำนวน และร้อยละข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ด้านความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานอืน่ (ต่อ) 4 . ได ร้ บั การสนบั สนนุ จดาา้ กนหคนวว่ ายมงราว่ นมทมที่ ือำ กคับวหามนรว่ ว่ ยมงมาอืนใอนนื่ ก ารจดั การเรยี นการสอน ภาษาจนี ดา้ นใดบ้าง (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) จำนวน ร้อยละ (แหง่ ) 4.1 หนว่ ยงานภายในประเทศใหก้ ารสนับสนุน ดา้ นหลักสูตร 6 19 ดา้ นส่อื การสอน 7 23 ดา้ นผ้สู อน 5 16 ดา้ นผ้เู รียน 4 13 ด้านอื่นๆ โปรดระบุ 1 3 - การสอบ HSK 4.2 หนว่ ยงานภายนอกประเทศใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นหลักสตู ร 3 10 ดา้ นสื่อการสอน 5 16 ด้านผสู้ อน 3 10 ด้านผู้เรยี น 1 3 ดา้ นอนื่ ๆ โปรดระบุ 1 3 - ให้การอบรมครู 5. ความรว่ มมือกับหนว่ ยงานอนื่ ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการหรอื ไม ่ สอดคลอ้ ง 12 100 ไม่สอดคล้อง 0 0 จากตารางที่ 10 แสดงว่า สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ด้านความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอื่น มีรายละเอียด ดงั น้ี ความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน โรงเรียนหรือสถาบัน สว่ นใหญไ่ มม่ คี วามร่วมมอื กับหนว่ ยงานอ่ืน ในส่วนที่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนนั้น ส่วนมากจะมีความร่วมมือในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนท้ังหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ รองลงมาเป็นหน่วยงานภายในประเทศ และหน่วยงานภายนอกประเทศ ตามลำดับ 40 รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
หน่วยงานภายในประเทศท่ีมีความร่วมมือ ส่วนมากจะเป็นสถาบันระดับเดียวกัน รองลงมา เป็นห้องเรียน/สถาบันขงจ่ือ มหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชน ตามลำดับส่วนหน่วยงานภายนอก ประเทศทม่ี ีความรว่ มมอื สว่ นมากจะเป็นมหาวทิ ยาลัย รองลงมาเป็นสถาบันระดบั เดียวกัน สำนักงาน ฮน่ั ป้ัน และบริษทั เอกชน ตามลำดับ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่ทำความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน หน่วยงานภายในประเทศให้การสนับสนุนด้านสื่อการสอนมากท่ีสุด รองลงมาให้การสนับสนุนด้าน หลกั สูตร และดา้ นผู้สอน ตามลำดบั ส่วนหนว่ ยงานภายนอกประเทศให้การสนบั สนุนด้านสอ่ื การสอน มากทีส่ ุด รองลงมาให้การสนับสนนุ ดา้ นหลักสตู ร และด้านผสู้ อน ตามลำดับเช่นกนั ความรว่ มมอื กับหน่วยงานอื่นในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี มคี วามสอดคลอ้ งตรงตาม ความตอ้ งการของโรงเรยี นหรือสถาบัน ปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ ตอนท่ี 3 ผลการวเิ คราะหป์ ญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอน ภาษาจีนนอกระบบ โดยรวมรายด้านและรายข้อ ตารางที่ 11 แสดงค่าเฉล่ีย ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจนี นอกระบบโดยรวมเป็นรายดา้ น ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอน n= 31 ระดับ ภาษาจนี นอกระบบ χ SD การปฏบิ ัต ิ 1. ด้านหลักสูตร 2.30 1.12 นอ้ ย 2. ด้านสือ่ การสอน 2.80 1.18 ปานกลาง 3. ด้านผสู้ อน 2.20 1.14 นอ้ ย 4. ด้านผเู้ รียน 3.06 1.11 ปานกลาง 5. ด้านความร่วมมอื กับหน่วยงานอน่ื 2.74 1.27 ปานกลาง รวม 2.62 1.21 ปานกลาง จากตารางท่ี 11 แสดงว่า ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านผู้เรียน ด้านส่ือการสอน และด้านความร่วมมือกับ หน่วยงานอนื่ อยูใ่ นระดับปานกลาง สว่ นด้านหลกั สูตร และดา้ นผู้สอน อยใู่ นระดบั น้อย รายงานการวิจยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 41
ตารางที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ย ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นหลักสูตร โดยรวมเปน็ รายข้อ ด้านหลกั สตู ร n= 31 ระดบั การปฏิบตั ิ χ SD 1. หลักสตู รขาดความทนั สมัยทสี่ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จบุ นั 2.68 0.98 ปานกลาง 2. หลักสตู รไมค่ รอบคลุมในการพฒั นาทักษะฟงั พูด อ่าน และเขียน 2.35 1.11 น้อย 3. สถาบันขาดความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำหลักสูตรภาษาจนี 2.32 1.40 น้อย เพือ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ุณภาพ 4. หลักสตู รไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนไดเ้ พียงพอ 2.16 1.00 น้อย 5. สถาบนั จดั การเรยี นการสอนไมส่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร 2.00 1.00 น้อย รวม 2.30 1.12 น้อย จากตารางท่ี 12 แสดงว่าปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นหลักสูตร โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั น้อย เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ เรยี งคะแนนเฉล่ยี จากมากไปหา น้อย พบว่าหลักสูตรขาดความทันสมัยท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลางเป็น อันดับแรก รองลงมาหลักสูตรไม่ครอบคลุมในการพัฒนาทักษะฟัง พูด อ่าน และเขียน สถาบันขาด ความรู้ความเข้าใจในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ หลักสูตรไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้เพียงพอ และสถาบันจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร อยู่ในระดบั น้อย ตามลำดบั ตารางที่ 13 แสดงค่าเฉล่ีย ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจนี นอกระบบ ด้านสื่อการสอน โดยรวมเปน็ รายข้อ ด้านส่ือการสอน n= 31 ระดับ การปฏบิ ตั ิ χ SD 1. ขาดส่อื การสอนท่ีเหมาะสมกับวชิ าในหลักสตู ร 2.71 1.16 ปานกลาง 2. ส่ือการสอนทตี่ อ้ งใช้ในการเรียนการสอนของหลักสูตรไม่เพียงพอ 2.61 1.02 ปานกลาง 3. ขาดสื่อการเรยี นการสอนภาษาจนี ทีท่ นั สมยั 3.00 1.24 ปานกลาง 4. สอ่ื การสอนทใี่ ช้ไม่มคี วามหลากหลาย 2.77 1.15 ปานกลาง 5. ไมส่ ามารถพัฒนาส่อื การสอนทีม่ ีคุณภาพไดเ้ อง 2.90 1.33 ปานกลาง รวม 2.80 1.18 ปานกลาง 42 รายงานการวิจยั เพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
จากตารางท่ี 13 แสดงว่าปญั หาและอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ด้านส่ือการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ เรียงคะแนนเฉล่ียจาก มากไปหานอ้ ย พบว่าขาดสอื่ การเรยี นการสอนภาษาจีนท่ีทนั สมยั อยู่ในระดบั ปานกลางเปน็ อันดับแรก รองลงมา ไม่สามารถพัฒนาสื่อการสอนท่ีมีคุณภาพได้เอง สื่อการสอนที่ใช้ไม่มีความหลากหลาย ขาดส่ือการสอนท่ีเหมาะสมกับวิชาในหลักสูตร และสื่อการสอนท่ีต้องใช้ในการเรียนการสอนของ หลักสูตรไม่เพยี งพอ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ตามลำดับ ตารางท่ี 14 แสดงค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นผู้สอน โดยรวมเปน็ รายข้อ ดา้ นผู้สอน n= 31 ระดบั การปฏบิ ตั ิ χ SD 1. ผสู้ อนขาดประสบการณ์ ความชำนาญ ความรคู้ วามสามารถ 2.06 1.21 นอ้ ย ทางวชิ าการในการสอนภาษาจีน 2. ผู้สอนเน้นการสอนภาคทฤษฎีมากกวา่ การปฏิบัต ิ 2.48 1.09 ปานกลาง 3. ผู้สอนขาดการเตรียมความพรอ้ มในการสอนเปน็ อย่างด ี 2.26 1.18 น้อย 4. ผสู้ อนตอบคำถามเก่ียวกับปญั หาทเ่ี รียนไดไ้ ม่ดีพอ 2.10 1.14 น้อย 5. ผสู้ อนประเมินผลการเรยี นรู้ไมค่ รอบคลมุ และสอดคล้องกบั หลักสตู รท่เี รยี น 2.10 1.08 น้อย รวม 2.20 1.14 นอ้ ย จากตารางที่ 14 แสดงว่าปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นผสู้ อน โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั นอ้ ย เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ เรยี งคะแนนเฉลย่ี จากมากไปหานอ้ ย พบว่า ผู้สอนเน้นการสอนภาคทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางเป็นอันดับแรก รองลงมา ผู้สอนขาดการเตรียมความพร้อมในการสอนเป็นอย่างดี ผู้สอนตอบคำถามเกี่ยวกับปัญหา ท่ีเรียนได้ไม่ดีพอ ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ไม่ครอบคลุมและสอดคล้องกับหลักสูตรที่เรียน และ ผู้สอนขาดประสบการณ์ ความชำนาญ ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการสอนภาษาจีน อยู่ใน ระดับนอ้ ย ตามลำดับ รายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 43
ตารางที่ 15 แสดงค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นผเู้ รียน โดยรวมเป็นรายขอ้ ด้านผู้เรยี น n= 31 ระดับ การปฏบิ ตั ิ χ SD 1. ผเู้ รียนขาดความรว่ มมือในการฝกึ ฝนทักษะต่างๆ เกยี่ วกับวชิ าทีเ่ รยี น 3.16 1.00 ปานกลาง 2. ผู้เรยี นมีปญั หาในการค้นคว้าขอ้ มูลเก่ียวกบั วชิ าทีเ่ รียน 3.19 1.05 ปานกลาง จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ดว้ ยตนเอง 3. ผเู้ รยี นมีความสนใจในการเรียนภาษาจีนน้อย 2.90 1.14 ปานกลาง 4. ผเู้ รียนมีวินยั และความรบั ผิดชอบในการเรียนภาษาจนี นอ้ ย 2.97 1.17 ปานกลาง 5. ผู้เรียนต้องพึง่ พาผู้สอนในการเรยี นภาษาจนี เท่าน้นั 3.10 1.25 ปานกลาง รวม 3.06 1.11 ปานกลาง จากตารางที่ 15 แสดงว่า ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ดา้ นผู้เรียน โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั ปานกลาง เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ เรยี งคะแนนเฉลย่ี จากมากไปหาน้อย พบว่า ผู้เรียนมีปัญหาในการค้นคว้าข้อมูลเก่ียวกับวิชาท่ีเรียนจากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ด้วยตนเองอยู่ในระดับปานกลางเป็นอันดับแรก รองลงมาผู้เรียนขาดความร่วมมือในการฝึกฝน ทักษะต่างๆ เกี่ยวกับวชิ าที่เรียน ผู้เรียนต้องพ่ึงพาผ้สู อนในการเรียนภาษาจีนเท่าน้นั ผู้เรียนมีวนิ ยั และ ความรับผิดชอบในการเรียนภาษาจีนน้อย และผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนภาษาจีนน้อย อยู่ใน ระดบั ปานกลาง ตามลำดบั ตารางท่ี 16 แสดงค่าเฉลี่ย ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานอืน่ โดยรวมเป็นรายข้อ ดา้ นความร่วมมอื กับหน่วยงานอ่ืน n= 31 ระดับ การปฏบิ ตั ิ χ SD 1. สถาบันไมม่ คี วามรว่ มมอื กับหน่วยงานอื่น 2.65 1.31 ปานกลาง 2. สถาบนั ไม่ไดร้ ับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น 3.03 1.33 ปานกลาง 3. สถาบนั ได้รับการสนับสนนุ จากหนว่ ยงานอนื่ แตไ่ มต่ ่อเนื่อง 2.74 1.29 ปานกลาง 4. สถาบันไมม่ คี วามร่วมมอื กบั หนว่ ยงานอืน่ ท่ีตอ้ งการร่วมมือ 2.42 1.18 น้อย 5. สถาบันขาดการสรา้ งความรว่ มมือเชิงรกุ กบั หน่วยงานอน่ื 2.84 1.27 ปานกลาง รวม 2.74 1.27 ปานกลาง 44 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
จากตารางท่ี 16 แสดงวา่ ปญั หาและอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ เรียงคะแนนเฉลย่ี จากมากไปหานอ้ ย พบว่าสถาบันไมไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากหน่วยงานอน่ื อยู่ในระดับ ปานกลางเป็นอันดับแรก รองลงมาสถาบันขาดการสร้างความร่วมมือเชิงรุกกับหน่วยงานอื่น สถาบัน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นแต่ไม่ต่อเน่ือง สถาบันไม่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น อยู่ใน ระดบั ปานกลาง และสถาบันไม่มคี วามรว่ มมอื กบั หน่วยงานอืน่ ทตี่ อ้ งการร่วมมอื อยใู่ นระดบั น้อย ตอนที่ 4 ผลการวเิ คราะหค์ วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะในการจดั การเรยี น การสอนภาษาจนี นอกระบบ ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ โดยแบง่ ออกเปน็ 5 ด้าน มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ดา้ นหลกั สตู ร 1.1 ควรปรับปรุงหลักสูตรเนื้อหาให้ทันสมัย ไม่ควรเน้นพวกบทกลอนหรือการคัด ตัวอักษรมากเกินไป เน่ืองจากปัจจุบันผู้เรียนใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์เอกสาร และพบปัญหาใน การจดจำเส้นเป็นประจำ 1.2 หลักสูตรท่ีมีบางเร่ืองอาจจะไม่ค่อยทันกับยุคสมัย เนื้อเร่ืองที่พูดถึงบางอย่างใน ปจั จุบันไม่ใช้แล้ว เชน่ ส่งิ ของ หรอื หนว่ ยเงิน เป็นตน้ 1.3 หลกั สตู รทใ่ี ชส้ อนตามโรงเรยี น ทงั้ ของรฐั และเอกชนไมส่ อดคลอ้ งกนั ทำใหบ้ างครงั้ หลกั สูตรของโรงเรียนภาษานอกระบบไมส่ อดคลอ้ งกัน 1.4 เพิม่ หลกั สตู รสำหรบั ผู้ทีต่ อ้ งการสนทนาเพียงอยา่ งเดียว โดยวิธีง่ายและรวดเรว็ 1.5 เน่ืองจากบางโรงเรียนยังขาดประสบการณ์และความพร้อมในการพัฒนาหลักสูตร ด้วยตนเอง ดังน้ันหากมีผู้ประสานงานหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้และคำแนะนำทาง ด้านน้ีโดยตรง เพื่อท่ีโรงเรียนจะได้จัดทำหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถ่ิน รวมถึงเหมาะสมกบั ผู้ทเี่ ข้ามาศึกษาดว้ ย 1.6 ควรมีผู้เช่ียวชาญมาเป็นผู้ช่วยพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน ซง่ึ ตัง้ อยใู่ นพืน้ ทน่ี คิ มอตุ สาหกรรม 1.7 ควรจัดหลกั สตู รภาษาจนี สำหรับคนไทย 1.8 ควรเพ่ิมสาระเกี่ยวกับประเทศไทย เช่น สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เป็นตน้ 1.9 ใชห้ ลกั สูตรภาษาจนี เปน็ หนังสือเรยี นชดุ 1.10 ควรให้หลกั สตู รมคี วามทันสมัย เน้นทกั ษะการสื่อสารใหม้ ากทีส่ ดุ รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 45
1.11 ควรให้หลกั สูตรได้มาตรฐานในการศึกษา 1.12 เน่อื งจากในเมอื งไทยไมม่ บี รรยากาศของการใช้ภาษาจีน หลักสตู รภาษาจนี ที่มีอยู่ ถึงแม้จะทำได้ดี แต่การนำไปใช้ได้จริงมีน้อย ทำให้ทักษะการพูดของเด็กค่อนข้างอ่อน ประกอบกับ เด็กไทยเรยี นพเิ ศษวทิ ย์-คณิตมาก ทำให้เวลาท่ีจะทมุ่ เทให้กับการเรยี นภาษาจีนแทบไม่ม ี 1.13 ประเทศไทยควรมหี ลกั สตู รภาษาจนี ของตนเอง เพราะบางครงั้ เมอื่ นำเอาหลกั สตู ร จากตา่ งประเทศมาใช้ พบวา่ เนือ้ หาไมต่ รงกบั ความต้องการ และความสนใจของผูเ้ รยี น 1.14 ผู้เรียนมักสนใจทักษะการพูด การฟังเท่าน้ัน แต่เมื่อเวลาผ่านไป เรียนระดับ ที่สงู ข้นึ จงึ กลับมาสนใจทักษะการอ่าน การเขยี น ทางโรงเรยี นจึงตอ้ งชแ้ี จงและจัดหลกั สตู ร 4 ทักษะ ตั้งแต่ระดับ 1 แต่ทำให้ผู้เรียนบางส่วนล่าถอย เรียนต่อเน่ืองไม่ได้ เพราะรู้สึกไม่มีเวลาหรือรู้สึก จำอักษรจนี ไมไ่ ด้ 1.15 มีการจัดประชุม อบรมโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายให้แก่แก่สถาบันท่ีสนใจพัฒนาหลักสูตร ใหด้ ีขน้ึ และมกี ารอพั เดทข้อมลู ฟรที างสื่อสง่ิ พมิ พห์ รือทางอีเมลให้แก่ผูส้ นใจ 2. ด้านสื่อการสอน 2.1 อยากใหพ้ ัฒนาความรดู้ ้านวัฒนธรรมไทยและจนี เพม่ิ มากขึ้น 2.2 ส่ือการสอนภาษาจีนในท้องตลาดมีน้อย สถาบันจึงได้จัดทำส่ือการสอนเอง เพื่อ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่ใช้อยู่ครบถ้วน และถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้สอน และผู้เรียนได้ รับความรู้ครบถว้ นและเต็มท ี่ 2.3 ตอ้ งการเพิม่ ส่ือทางดา้ น e-learning เพือ่ ใหท้ ันสมัยกับยคุ Social Network 2.4 ส่ือการสอนที่ใช้ในปัจจุบันมีความสอดคล้องและหลากหลายอยู่แล้ว ท้ังน้ีข้ึนอยู่ กบั ผเู้ รยี นว่าจะสนใจศกึ ษาและไขวค่ วา้ หาความรู้มากนอ้ ยเพียงใด 2.5 ปัจจุบันสื่อการสอนมีจำหน่ายมาก อีกท้ังยังสามารถหาได้จากอินเตอร์เน็ต ไม่น่า จะมปี ญั หาอะไร 2.6 ค่อนขา้ งลำบาก เพราะต้องจดั เตรียมซอ้ื เอง ไม่มหี นว่ ยงานสนบั สนุน 2.7 ควรมีการแลกเปลยี่ นดา้ นส่ือการสอนทที่ ันสมยั และมกี ารเผยแพร่ 2.8 สอ่ื การสอนภายในประเทศคอ่ นข้างหายาก สว่ นใหญต่ ้องจดั ทำเอง 2.9 ควรจะมีการพัฒนาสอ่ื การสอนท่ีเปน็ ระบบ และสามารถนำมาใช้ไดจ้ รงิ 2.10 โรงเรียนแก้ไขโดยการปรับปรุงและอบรมวิธีสอนที่กระตุ้นและช่วยเหลือให้ นักเรียนจำอักษรจีนได้อย่างเป็นระบบและสนุกสนาน โดยให้ครูทุกคนใช้แผนการสอนมาตรฐานท่ีมี การสอดแทรกผสมผสานตัง้ แตก่ ารฝกึ พดู ดว้ ยพินอนิ การฝึกแต่งประโยค การจดจำรากศัพทต์ ัวอักษร ร่วมกบั อักษรภาพ การทำแบบฝึกหดั ฝกึ ฝนท่ีหลากหลาย 2.11 ผลิตสอ่ื การสอนทช่ี ่วยฝกึ ฝนการจำและพัฒนาการเรียนร ู้ 2.12 จัดแนะแนวสือ่ การสอนใหม่ๆ ที่เป็นประโยชนแ์ ก่ผู้สนใจ 46 รายงานการวิจัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
3. ดา้ นผสู้ อน 3.1 อยากใหม้ กี ิจกรรมอบรมพัฒนาความสามารถของครูผู้สอนเพ่มิ ขนึ้ 3.2 หาครูทม่ี ีความตั้งใจและเอาใจใสอ่ ยากให้นักเรียนได้รบั ความรู้อย่างเต็มทนี่ ้อยมาก หายาก ส่วนผทู้ ี่มีความรูก้ ไ็ มอ่ ยากมาเป็นอาจารย์ประจำ และมักจะเป็นอาจารย์พิเศษ 3.3 ครูผู้สอนชาวจีนส่วนใหญ่ขาดประสบการณ์สอน และไม่ได้เรียนจบทางด้าน การสอนภาษาจีนโดยเฉพาะ 3.4 ผ้สู อนชาวจนี ทำงานดา้ นการสอนได้ระยะสัน้ 1-2 ปี แล้วมคี วามตง้ั ใจกลับประเทศ 3.5 บุคลากรด้านผู้สอนซึ่งเป็นเจ้าของภาษาโดยตรงมีไม่เพียงพอกับความต้องการ จากผลกระทบดงั กล่าว สง่ ผลใหท้ างโรงเรียนประสบปัญหาในการสรรหาบุคลากร และตอ้ งจ่ายค่าจา้ ง ในอตั ราทส่ี งู อกี ด้วย ดังนั้นควรสง่ เสริมใหม้ ีบุคลากรทางดา้ นนเี้ พม่ิ มากย่งิ ขึ้น 3.6 ครูต่างชาติมีปัญหาเร่ืองการสื่อสารกับผู้เรียน ครูต่างชาติเป็นผู้กล้าแต่ไม่ถูก สนามรบ ครไู ทยเปน็ ผู้กลา้ ทถี่ ูกสนามรบ แตไ่ ม่เชย่ี วชาญการรบ บางทา่ นอบรมไมก่ ี่ชั่วโมง โรงเรียนก็ มอบหมายให้สอนแล้ว 3.7 ไม่มปี ัญหา ไมข่ าดแคลน 3.8 ควรพฒั นาตนเองในทกั ษะ เนือ้ หา และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซ่ึงกนั 3.9 ควรมกี ารบรกิ ารฝกึ อบรมผสู้ อนภาษาจีนอย่างสมำ่ เสมอ 3.10 มีการแนะนำครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในวงการสอนภาษาจีน เพื่อสร้างงาน สรา้ งรายได้ สร้างนักเรยี นท่ีมคี ณุ ภาพจากครูคุณภาพด ี 4. ด้านผู้เรียน 4.1 ผ้เู รียนขาดการฝึกฝนสม่ำเสมอ ทั้งดา้ นการฟัง การพดู การอา่ น และการเขียน 4.2 ปัญหาของผเู้ รยี นคอื ขาดความต่อเน่อื ง มผี ้เู รียนสมคั รเรียนนอ้ ยลง 4.3 หลกั สตู รแตล่ ะโรงเรยี นเรม่ิ ตน้ ไมเ่ หมอื นกนั ทำใหก้ ารประเมนิ ผลวดั ผลคอ่ นขา้ งยาก 4.4 นักเรียนบางคน ผู้ปกครองบังคับให้มาเรียน บางคนอายุได้ แต่ความสนใจไม่ม ี ยังไม่มีสมาธิพอท่ีจะนั่งเรียนได้นานถึงคร่ึงหรือหน่ึงชั่วโมงในเด็กเล็ก บางคนกล้ามเน้ือมือในการเขียน ตัวอกั ษรยงั ไม่ได้ การเขียนจึงยังสอนไม่ได้ 4.5 นักเรียนบางส่วนไม่สามารถเรียนได้ต่อเน่ืองในระยะยาว ทำให้ไม่สามารถเรียน ต่อเนอื่ งตามหลักสตู รท่กี ำหนดไวไ้ ด ้ 4.6 ผเู้ รยี นท่ีใหค้ วามสนใจภาษาจนี คอ่ นขา้ งน้อย 4.7 ปัจจุบันมีผู้เรียนท่ีสนใจศึกษาภาษาจีนอยู่บ้าง แต่ยังขาดความกระตือรือร้นใน การหาความรู้เพม่ิ เติมจากภายนอกห้องเรยี น 4.8 ผู้เรียนขาดทักษะในการฝึกฝนทางการออกเสียงท่ีถูกต้อง ซึ่งผู้เรียนจะบอกว่า การออกเสียงเปน็ ส่ิงทีย่ าก รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 47
4.9 ไม่มุ่งมั่นพากเพียรเหมือนสมัยก่อน ตั้งเป้าเพียงเรียนให้ได้เกรดดีๆ หรือขอเพียง สอบผา่ น ไม่จำคำศพั ท์ อาศัยเคร่ืองแปลเขียนตวั อักษรจีน ไม่มรี ะเบยี บแบบแผน 4.10 พอไปได้ ปญั หาน้อย 4.11 ควรปลูกฝงั ทักษะพื้นฐานเบื้องตน้ และให้รกั ทจี่ ะเรียนภาษาจนี 4.12 ควรให้เรียน สือ่ สาร ปนความสนกุ สนาน เลน่ ไปด้วย 4.13 ส่งเสริมให้ประชาชน นักเรียน นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของภาษาจีน มากข้นึ 4.14 สร้างระบบการเรียนที่เอื้อให้นักเรียนกลับมาเรียนได้ต่อเน่ือง แม้ต้องขาดเรียนใน บางครั้ง เช่น เรียนชดเชยหอ้ งอ่นื หรอื เข้าเรยี นในระบบออนไลน ์ 4.15 มีการประชาสัมพันธ์ถึงข้อดีของการเรียนภาษาจีนให้มากข้ึน ทำให้ผู้เรียนเห็น ประโยชนข์ องการเรียนภาษาจนี 5. ด้านความรว่ มมือกับหนว่ ยงานอื่น 5.1 ปัจจุบันในเขตจังหวัดสมุทรปราการมีค่อนข้างน้อย เน่ืองจากบางโรงเรียนเพ่ิงเปิด หลกั สูตรภาษาจนี 5.2 หนว่ ยงานอนื่ ขาดการประชาสมั พนั ธ์ จงึ ไมท่ ราบเรอ่ื งการรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 5.3 ทางโรงเรียนต้องการให้มีการอบรมให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับภาษาจีน จนี ศกึ ษา ขอ้ มลู ทุนการศึกษาต่างๆ ให้มากย่ิงขึ้น 5.4 ในวงการคนไทยเช้ือสายจีนจะส่งเสริมและให้เกียรติครูสอนภาษาจีนมาก เมื่อ จัดการอบรมหรอื สง่ ครอู บรมท่ปี ระเทศจนี นอกจากจะสนบั สนุนค่าใช้จ่ายบางสว่ น ยงั ตดิ ตามไปเยย่ี ม ขณะอบรม ครูอาวุโสก็เข้าไปช่วยดูแล ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นส่วนมากคือ จัดการอบรม คอรส์ ระยะส้ันใหก้ บั นกั เรียนในโรงเรียน หรือการเขา้ คา่ ยภาษาจนี 5.5 ยนิ ดีร่วมมอื กบั หนว่ ยงานอืน่ 5.6 ศูนย์ภาษาจีนในหน่วยอื่นๆ ควรให้การสนับสนุนในหลักสูตร สื่อ การวัดผล ประเมนิ ผล 5.7 ไดร้ ับการสนบั สนนุ หนงั สือจากทางโรงเรยี นไต้หวันสง่ มา เพอ่ื ใช้สอนในโรงเรียน 5.8 สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือในการจัด การเรยี นการสอนภาษาจีน และทางโรงเรียนมีพี่เลย้ี งในการจัดการเรยี นการสอน 5.9 ไดร้ ับความรว่ มมอื เปน็ อย่างดี 48 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
จากความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ สามารถ สรปุ ไดด้ งั น้ี 1. ดา้ นหลกั สตู ร หลักสูตรที่ใช้จัดการเรียนการสอนในปัจจุบันควรปรับปรุงให้มีความทันสมัย ควรม ี ผู้เช่ียวชาญเข้ามาร่วมพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถ่ินด้วย นอกจากนี้ หลักสูตรโรงเรียนของรัฐและเอกชน รวมถึงโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาควรมี ความสอดคล้องกัน ซ่ึงเน้ือหาของหลักสูตรควรสอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย เพื่อให้ การดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบเกดิ ประสิทธิภาพสงู สุด 2. ดา้ นสื่อการสอน สื่อการสอนภาษาจีนมีให้เลือกจำนวนมาก สามารถส่ังซ้ือผ่านอินเตอร์เน็ตได้ แต่สื่อ การสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรท่ีเปิดสอนมีจำนวนน้อย จึงทำให้โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาต้อง จัดทำข้ึนเอง และส่ือการสอนควรมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ควรมีการจัดทำสื่อการสอนที่ทันกับ ยุคสมัยสังคมออนไลน์ (Social Network) เพ่ือให้สามารถนำมาใช้ได้จริง รวมถึงควรมีการแนะแนว การใช้สอื่ การสอนด้วย 3. ดา้ นผู้สอน ในส่วนของครูผู้สอนชาวไทย ควรมีการพัฒนาความรู้ความสามารถของครูผู้สอนอย่าง ต่อเนอ่ื ง มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรรู้ ะหว่างครผู ู้สอน สว่ นครูผู้สอนชาวจีนมีบางสว่ นทีข่ าดประสบการณ์ ทางด้านการสอน และไม่ได้เรียนจบทางด้านภาษาจีนโดยตรง รวมถึงไม่สามารถสอนภาษาจีนใน ประเทศไทยได้ระยะยาว เนอ่ื งจากมีความตอ้ งการกลับประเทศจีน 4. ด้านผู้เรียน ผู้เรียนขาดการฝึกฝนภาษาจีนท้ังด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ขาดความต่อเนื่องในการเรียนภาษาจีนระยะยาว ควรมีการส่งเสริมให้ประชาชน นักเรียน หรือนักศกึ ษาตระหนักถงึ ความสำคัญของภาษาจนี มากขึ้น 5. ดา้ นความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอ่นื ปัจจุบันบางโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนบางแห่งมีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี แต่บางแห่งไม่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน ซ่ึงทางโรงเรียนหรือ สถาบนั สอนภาษามีความต้องการในสว่ นน ี้ รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 49
ตอนท่ี 5 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสมั ภาษณ์ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสมั ภาษณก์ ารจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ แบง่ ออกเปน็ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ปัญหาและอุปสรรคในการ จัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ ซงึ่ มรี ายละเอียด ดังน ้ี 1. สภาพปัจจบุ นั ของการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ 1.1 ดา้ นหลักสูตร “หลักสูตรภาษาจีนที่เปิดสอน มีหลักสูตรสำหรับเด็กและสำหรับผู้ใหญ่ ในส่วน หลักสูตรภาษาจีนสำหรับเด็กนั้น จะเป็นเด็กช่วงอายุประมาณ 6-13 ปี โดยเรียนเป็นเทอม เทอมละ 24 ชั่วโมง เรียนประมาณ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตลอดหลักสูตรเรียนประมาณ 6 เทอม หรือ 144 ช่ัวโมง เวลาเรียนสามารถเลือกเรียนวันเสาร์หรืออาทิตย์ ช่วงเช้าหรือช่วงบ่ายได้ตามที่หลักสูตร กำหนด ในส่วนหลักสูตรภาษาจีนสำหรับผู้ใหญ่นั้น หลักสูตรหลักแบ่งออกเป็นหลักสูตรภาษาจีน ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง 3 ระดับ โดยเรียนเป็นเทอมเช่นกัน เทอมละ 40 ชั่วโมง เรียน ประมาณ 5 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ แต่ละระดับแบ่งเป็น 5 เทอม ช่ัวโมงรวมของหลักสูตรภาษาจีน ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูงทั้งหมด 600 ช่ัวโมง เวลาเรียนในส่วนของหลักสูตรหลักเป็น วันธรรมดา ช่วงเย็น แต่ถ้าเป็นหลักสูตรเฉพาะทาง เป็นวันเสาร์-อาทิตย์ ช่วงเช้าหรือช่วงบ่ายตามท่ี หลักสูตรกำหนด นอกจากน้ียังมีหลักสูตรเฉพาะทาง เช่น หลักสูตรการค้าระหว่างประเทศ หลักสูตร อบรมเพ่ือเตรียมสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) หลักสูตรสนทนาเร่งรัด เป็นต้น โดยหลักสูตร ภาษาจีนที่เปิดสอนเน้นการฝึกฝนทักษะรวมท้ังการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เพ่ือให้ สามารถนำไปใช้ไดใ้ นชีวติ ประจำวัน ซง่ึ ทุกหลกั สตู รได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ” (Chinese_01) “หลักสูตรภาษาจีนมีท้ังหมด 5 หลักสูตร หลักสูตรที่ทำการเปิดสอนแล้วม ี 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาจีนเพื่อการซ้ือ-ขายหนังสือ หนังสือพิมพ์ และเคร่ืองเขียน หลักสูตร ภาษาจีนเพื่อการซื้อขายอาหารไทย เคร่ืองด่ืม และผลไม้ ภาษาจีนเพื่อการซื้อขายเครื่องแต่งกาย ส่วนอีก 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาจีนเพ่ือการซ้ือขายอาหารจีน เคร่ืองดื่ม และผลไม้ หลักสูตร ภาษาจีนเพ่ือการซื้อขายยา ยังไม่เคยเปิด เนื่องจากยังไม่มีผู้สมัครเรียนใน 2 หลักสูตรดังกล่าว เวลาเรยี นเป็นวันเสาร์-อาทติ ย์ ช่วงบา่ ย เรยี นครง้ั ละประมาณ 4-5 ชวั่ โมง ตลอดหลกั สูตร 40 ช่ัวโมง เนน้ ทกั ษะการพดู เป็นหลัก เพ่ือใหผ้ เู้ รียนสามารถนำไปใช้ในการสอื่ สารได”้ (Chinese_02) 50 รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
“หลักสตู รภาษาจนี ทเี่ ปิดสอน เปน็ หลกั สูตรภาษาจีนเพือ่ การสื่อสาร เน้นการนำไป ใช้ในชีวิตประจำวนั จำนวนชัว่ โมงตลอดหลักสูตร 400 ชวั่ โมง ระยะเวลาในการเรยี น 6 เดือน เปิดรับ ปีละ 2 รุ่น หลักสูตรเน้นการฝึกฝนทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เน้นการปูพ้ืนฐาน การเรยี นรู้ภาษาจีนอยา่ งถกู ตอ้ งและเป็นสากล เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งในอนาคตได”้ (Chinese_03) 1.2 ดา้ นส่อื การสอน “ส่ือการสอนที่ใช้เป็นตำราเรียนท่ีจัดทำโดยคนจีน และมีโทรทัศน์ วีดีโอ ช่วยสอน ประเภทตัวอักษรที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน จะเป็นตัวย่อ แต่จะสอนให้รู้ตัวเต็มด้วย การถอด เสียงภาษาจีนใช้ระบบพินอิน ส่วนห้องปฏิบัติการทางภาษาส่วนมากจะใช้ในการสอบมากกว่าใช้ใน การจัดการเรียนการสอน” (Chinese_01) “สื่อการสอนที่ใช้เป็นตำราเรียนท่ีพัฒนาขึ้นเอง โดยได้รับความร่วมมือทางด้านครู อาจารย์จากสถานศกึ ษาในพืน้ ท่มี ารว่ มกนั จัดทำท้ังท่ีเปน็ คนไทยและคนจีน นอกจากตำราเรียน อาจมี การใช้บัตรคำศัพท์ แล้วแต่ผู้สอนจะเลือกใช้ ประเภทตัวอักษรท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็น อักษรจีนตัวย่อ การถอดเสียงภาษาจีนใช้ระบบพินอิน ซึ่งไม่มีการใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษาใน การจัดการเรยี นการสอน” (Chinese_02) “ส่ือการสอนที่ใช้เป็นตำรา/ชุดการเรียน โดยพัฒนาร่วมกันกับผู้เชี่ยวชาญคนจีน และคนไทย เป็นตำราภาษาจีนท่ีเน้นการเรียนภาษาจีนสำหรับคนไทย ใช้อักษรจีนตัวย่อ เน้ือหาใน ตำราเรียนจะมีตวั อักษรจนี พินอิน เสยี งภาษาไทยกำกับ และคำแปลประกอบร่วมกัน” (Chinese_03) 1.3 ด้านผสู้ อน “ผู้สอนเป็นคนจีนที่จบระดับมหาวิทยาลัย และมาอยู่ที่ประเทศไทยเป็นเวลานาน ผู้สอนจึงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทย ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน นน้ั มที งั้ ทใ่ี ชภ้ าษาจนี รว่ มกบั ภาษาไทย และใชภ้ าษาจนี อยา่ งเดยี ว ซงึ่ ในหลกั สตู รภาษาจนี กลางระดบั ตน้ และระดับกลาง ผู้สอนคนจีนต้องสามารถใช้ภาษาไทยส่ือสารกับผู้เรียนคนไทยได้บ้าง เพ่ือให้ ผูเ้ รียนสามารถเข้าใจความหมายของคำศัพท์ที่เรียนได้ ในสว่ นหลักสูตรภาษาจีนระดับสูง ผู้สอนคนจีน จะสอนโดยใช้ภาษาจีนเป็นหลัก เพ่ือให้ผู้เรียนได้ฝึกพูดภาษาจีน ซึ่งผู้สอนส่วนใหญ่เป็นอาจารย์พิเศษ รายงานการวจิ ยั เพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 51
ไม่ใช่อาจารย์ประจำ ทำให้สามารถปรับเปลี่ยนผู้สอนได้เมื่อหมดเทอม (1 เทอมประมาณ 2 เดือน) ในกรณีท่ีผู้สอนสอนไม่ดี จะไม่จัดให้สอนอีก ในส่วนความก้าวหน้าทางวิชาชีพของผู้สอน กำลังจะเร่ิม ใหผ้ ู้สอนไปอบรมเพิ่มพูนความรเู้ กย่ี วการสอนภาษาจีน” (Chinese_01) “ผู้สอนเป็นคนจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานาน อายุประมาณ 40-50 ปี ภาษาที่ใช้ในการสอนเป็นการใช้ภาษาจีนร่วมกับภาษาไทย แต่เน้นการใช้ภาษาจีนในการสอนมากกว่า ผู้สอนมีช่ัวโมงสอนสัปดาห์ละ 5 ชั่วโมง ในส่วนของผู้สอนท่ีเชิญมาสอนน้ันจะได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถทางดา้ นภาษาจนี จากตน้ สังกัดที่สอนประจำอยู่แลว้ ” (Chinese_02) “ผสู้ อนเปน็ คนจนี ทมี่ าสอนอยทู่ ปี่ ระเทศไทยเปน็ การสอนผา่ นสอื่ และมกี ารสอนเสรมิ แบบสอนในหอ้ งเรียนหลังจากเรียนผ่านสอื่ แลว้ ประมาณ 10 ชั่วโมงตอ่ หลกั สตู รแตล่ ะรุ่น” (Chinese_03) 1.4 ดา้ นผเู้ รียน “ผู้เรียนท่ีสนใจมีท้ังนักเรียนและบุคคลท่ัวไป จำนวนผู้เรียนต่อห้องไม่ต่ำกว่า 10 คน สูงสุดไม่เกิน 20 คน เม่ือเรียนจบเทอมแล้วมีการจัดสอบวัดความรู้โดยสถาบัน และมีการ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสอบวัดระดบั ความรู้ทางภาษาจีน (HSK) เพ่ือให้ได้มาตรฐาน” (Chinese_01) “ผู้เรียนที่สนใจส่วนใหญ่เป็นประชาชนทั่วไป และมีนักเรียนมาร่วมเรียนบ้าง แต่ ต้องมีอายุ 15 ปีข้ึนไป จำนวนผู้เรียนต่อห้องประมาณ 15คน (ไม่เกิน 20 คน) ต่อห้อง ผู้เรียนที่มา เรียนต้องการเรียนภาษาจีนเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ และนำไปใช้ในการส่ือสารในชีวิตประจำวัน แต่ไม่ถึง ข้ันนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ คนท่ีมาเรียนไม่มีพื้นความรู้ภาษาจีนกลางมาก่อน ในเรื่องของ การวัดผล มกี ารวัดผลก่อนเรยี นและหลังเรยี นที่จัดทำโดยครูผูส้ อน” (Chinese_02) 52 รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
“ผู้เรียนที่มาเรียนมีทั้งนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนที่สนใจทั่วไป ส่วนใหญ่ต้องการมาเรียนเพื่อไปเรียนภาษาจีนต่อในระดับที่สูงข้ึน ผู้เรียนแต่ละรุ่น มีจำนวนตั้งแต่ 40-50 คน ไปจนถึง 100 กว่าคน แล้วแต่รุ่น ซ่ึงผู้เรียนท่ีสมัครเรียน มีท้ังที่มีพื้นความรู้ภาษาจีน มาก่อน และยังไม่มีพื้นความรูภ้ าษาจีน” (Chinese_03) 1.5 ด้านความร่วมมือกบั หน่วยงานอนื่ “มีความร่วมมือกับสถาบันขงจื่อในประเทศ โดยจะได้ครูผู้สอนมาช่วยในการ จัดการเรียนการสอนภาษาจีน ซ่ึงเป็นครูผู้สอนที่สามารถสอนภาษาจีนในระดับสูงได้ และในอนาคต อันใกล้นี้จะดำเนินการจัดทำศูนย์อบรมครูสอนภาษาจีน อบรมครูไทยท่ีสอนภาษาจีนในโรงเรียน รฐั บาล โดยให้ผสู้ อนท่ีอยใู่ นสังกดั ไดร้ บั การอบรมด้วย นอกจากนยี้ งั มคี วามร่วมมอื กบั มหาวิทยาลยั ใน ประเทศจีนด้วย ทางประเทศจีนให้การสนับสนุนในเร่ืองของการให้ทุนและท่ีได้รับการสนับสนุน มากทีส่ ดุ คือ ทางประเทศจนี ส่งครผู ู้สอนมาให้ แต่ผสู้ อนทมี่ าสอน สอนไดเ้ พยี ง 1 ปี ก็กลับไปประเทศ จนี มาสอนได้เพยี งระยะสนั้ เท่าน้ัน” (Chinese_01) “ปจั จบุ นั ไม่มคี วามรว่ มมือกับหน่วยงานภายนอก” (Chinese_02) “มีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศ สถาบันขงจ่ือในระดับ มหาวิทยาลัย รวมทั้งโรงเรียนในระดับต่างๆ ทั่วประเทศในการร่วมดำเนินการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี ” (Chinese_03) 2. ปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ “ในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ปญั หาและอปุ สรรคท่ีพบ ส่วนมากเปน็ ดา้ นผเู้ รียน ทั้งในส่วนผู้เรียนท่ีเป็นคนไทย และผู้เรียนท่ีเป็นลูกหลานคนจีน ผู้เรียนมีความพยายามท่ีจะเรียนรู้ ไม่มากพอ ไม่ค่อยอดทน ผู้เรียนรู้สึกว่าภาษาจีนยาก โดยผู้เรียนที่มาสมัครเรียนต่อห้องมีมากถึง 30 คนตอ่ ห้อง แต่เรยี นได้ประมาณ 2-3 เทอม ผเู้ รียนจะหายไประหวา่ งทางพอสมควร ย่ิงเรียนภาษา จีนในระดับสูง เนื้อหายิ่งยาก ผู้เรียนท่ีหายไปก็มีจำนวนสูงข้ึน ซึ่งโดยรวมเรียนได้ประมาณ 1 ป ี พอเร่ิมพูดได้ จะหยุดเรียน ในส่วนท่ีเรียนต่ออย่างต่อเนื่อง เป็นผู้เรียนท่ีมีโครงการไปศึกษาต่อยัง รายงานการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 53
ประเทศจีน และตอ้ งการสอบวัดระดับความรทู้ างภาษาจีน (HSK) นอกจากนี้ ปญั หาท่พี บยงั มีในส่วน ของด้านสื่อการสอนท่ีมีเน้ือหาไม่สอดคล้องกับบริบทสังคมไทย เน่ืองจากตำราเรียนที่ใช้เป็นตำราท ี่ จัดทำโดยคนจนี ” (Chinese_01) “ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมากท่ีสุด คือเรื่องของ ผสู้ อน หาผ้สู อนยาก เน่ืองจากคา่ ตอบแทนผูส้ อนนอ้ ย และผู้เรียนไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ยในการเรยี น” (Chinese_02) “ปัญหาและอุปสรรคท่ีพบในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมากที่สุด คือ การเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายทย่ี งั ไม่มากพอ การประชาสมั พนั ธ์หลกั สูตรไม่ทัว่ ถงึ นอกจากน้ี ปญั หาทพ่ี บยังมใี นเร่อื ง ของผู้เรียนเลิกเรียนกลางคัน หลังจากเร่ิมเรียนแล้วความสนใจของผู้เรียนลดลง มีผู้เรียนคงเหลือ ประมาณร้อยละ 50 ของผู้เรียนทั้งหมด และท่ีสอบผ่านการวัดและประเมินผลของหลักสูตรคิดเป็น รอ้ ยละ 80 ของผ้ทู ี่มาสอบทั้งหมด” (Chinese_03) 3. ข้อเสนอแนะเกยี่ วกบั การจดั การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ 3.1 “ควรมีการพัฒนาครูสอนภาษาจีนที่เป็นคนไทย โดยส่งคนไทยไปเรียนที่ประเทศ จีนเพื่อให้มีทักษะ มีความรู้ความสามารถทางภาษาจีน จำนวนมากข้ึน จะได้กลับมาสอนภาษาจีนท่ี ประเทศไทย ทำใหม้ คี วามม่ันคงในเรอื่ งของครผู สู้ อน” (Chinese_01) 3.2 “โรงเรียนสอนภาษานอกระบบ ควรได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการ บ้าง เช่น การสนับสนุนเรื่องการสอน ควรจะมีส่ือการสอนที่ทันสมัย จะช่วยให้การจัดการเรียน การสอนสามารถพฒั นาได้ดขี ้นึ ซงึ่ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเปน็ การสนบั สนุนในเร่ืองงบประมาณโดยตรง” (Chinese_01) 3.3 “ควรมีการพัฒนาครูผู้สอนภาษาจีนของหน่วยงาน เพื่อท่ีจะได้ไม่ต้องพึ่งพาคร ู ผู้สอนจากภายนอก” (Chinese_02) 54 รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
3.4 “ควรมีมาตรฐานหลักสูตรของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ เน่อื งจากหลกั สูตรภาษาจนี ทใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนนอกระบบน้ัน มคี วามหลากหลายมาก” (Chinese_03) จากการสัมภาษณ์สภาพปัจจุบัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. สภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ด้านหลักสูตร มีความหลากหลาย เนื้อหาของหลักสูตรเน้นการพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนเป็นหลัก ด้านสื่อการสอน มีการพัฒนาตำราท่ีใช้ในการเรียนร่วมกับผู้เช่ียวชาญทางด้านภาษาจีน และใช้ระบบ พินอินท่ีเป็นมาตรฐานสากลในการเรียนการสอน ด้านผู้สอน ส่วนใหญ่จะเป็นคนจีนที่พูดภาษาไทยได้ เพ่ือสามารถใช้ภาษาไทยในการอธิบายหรือส่ือสารกับผู้เรียนได้ ในกรณีท่ีผู้เรียนไม่เข้าใจภาษาจีน ด้านผู้เรียน ผู้ที่สนใจเรียนภาษาจีนมีทั้งนักเรียน นิสิต นักศึกษา และบุคคลท่ัวไปที่สนใจ ส่วน ด้านความร่วมมอื กับหน่วยงานภายนอก จะได้รบั การสนบั สนนุ ในเรอ่ื งของผสู้ อน และการจดั การเรยี น การสอน 2. ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ มีปัญหาในเร่ืองของ ผู้เรียน ผู้สอน และการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงในส่วนของผู้เรียน จะพบปัญหาผู้เรียนเลิกเรียน กลางคันค่อนข้างมาก ส่วนผู้สอนนั้น พบว่า หาผู้สอนยาก และในส่วนของการเข้ากลุ่มเป้าหมาย พบวา่ การประชาสมั พันธ์หลกั สตู รยังไมแ่ พร่หลายเท่าที่ควร 3. ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ควรมีการพัฒนา ความรู้ความสามารถของครูผู้สอน มีการจัดทำมาตรฐานของหลักสูตรที่ใช้ในโรงเรียนหรือสถาบันสอน ภาษาจีนนอกระบบ รวมถึงทางกระทรวงศึกษาธิการควรให้การสนับสนุนทางด้านการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนด้วย รายงานการวิจยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 55
บทที่ 5 บทสรปุ : ขอ้ สงั เกต ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ เกย่ี วกบั การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใน ประเทศไทย โดยทำการศึกษาเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย และนำผลจากการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลเพ่ือเสนอ แนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ซึ่งสามารถสรุปผลการวิจัย ดังต่อไปน ้ี สรปุ ผลการวจิ ัย 1. สภาพปัจจุบันของการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบมีกระจายอยู่ตามทุกภูมิภาคของประเทศไทย การจัดตั้งโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนบางแห่งจัดต้ังมานานกว่า 20 ปี บางแห่งเพิ่งเริ่มจัดต้ัง ได้เพียงปีเดียว โดยสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในแต่ละด้าน มีรายละเอียด ดงั น้ี 1.1 ด้านหลกั สูตร จากผลการศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับด้านหลักสูตรที่พบมากท่ีสุด พบว่าวันและเวลา ท่ีมีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบจะเป็นวันเสาร์- อาทิตย์ เวลากลางวัน จำนวนชั่วโมงที่มีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ประมาณ 1-3 ชั่วโมง 56 รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ต่อสัปดาห์ โดยจำนวนช่ัวโมงตลอดหลักสูตรมากกว่า 30 ชั่วโมง หลักสูตรภาษาจีนท่ีเปิดสอนเป็น หลักสตู รภาษาจีนทั่วไป ระดับต้น โดยหลกั สตู รทเี่ ปิดสอนเนน้ การพัฒนาทักษะรวม คือ เนน้ ทง้ั ทักษะ การฟัง การพูด การอา่ น และการเขียน 1.2 ด้านสือ่ การสอน จากผลการศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับด้านส่ือการสอนที่พบมากที่สุด พบว่า สื่อที่ใช้ ในการจัดการเรียนการสอนเน้นการใช้ตำราเรียน (Textbook) โดยผู้จัดทำตำราเรียนจัดทำโดยคนจีน ประเภทของตัวอักษรจีนที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนเป็นอักษรจีนตัวย่อ การถอดเสียง ภาษาจนี ใชร้ ะบบพนิ อนิ และโรงเรยี นหรอื สถาบนั สอนภาษาจนี นอกระบบสว่ นใหญไ่ มม่ หี อ้ งปฏบิ ตั กิ าร ทางภาษาเพอื่ ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน 1.3 ดา้ นผู้สอน จากผลการศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั เกยี่ วกบั ดา้ นผสู้ อนทพ่ี บมากทส่ี ดุ พบวา่ ผสู้ อนภาษาจนี ในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบเป็นผู้สอนสัญชาติไทยและผู้สอนสัญชาติจีน มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านภาษาจีน แต่ถ้าเป็นผู้สอนสัญชาติอื่น เช่น ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น มีเพียงประกาศนียบัตรทางด้านภาษาจีน การใช้ภาษาในการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน ผู้สอนสัญชาติไทย และผู้สอนสัญชาติจีน ใช้ท้ังภาษาไทยและภาษาจีนในการสอน ส่วน ผู้สอนสัญชาติอื่น มีท้ังท่ีใช้ภาษาจีนอย่างเดียว และใช้ทั้งภาษาไทยกับภาษาจีน หรือภาษาจีนกับ ภาษาอังกฤษ จำนวนผสู้ อนภาษาจนี ของทัง้ ผสู้ อนประจำและผสู้ อนพเิ ศษ มีประมาณ 2 คน และสอน น้อยกวา่ หรอื เท่ากับ 10 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์ อายุโดยเฉลย่ี ของผสู้ อนสัญชาติไทย ผสู้ อนสญั ชาตจิ ีน หรอื สญั ชาตอิ นื่ ประมาณ 30-35 ปี และความก้าวหนา้ ทางวิชาชีพของผูส้ อนในโรงเรียนหรือสถาบันสอน ภาษาจีนนอกระบบคือ การใหผ้ ู้สอนภาษาจนี เขา้ อบรมเพ่มิ พูนความรู้ดา้ นการสอนภาษาจนี 1.4 ดา้ นผเู้ รียน จากผลการศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั เกยี่ วกบั ดา้ นผเู้ รยี นทพ่ี บมากทส่ี ดุ พบวา่ ผเู้ รยี นภาษาจนี เป็นบุคคลท่ัวไปที่สนใจ จำนวนผู้เรียนย้อนหลัง 3 ปีที่มีอัตราเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ืองเป็นผู้เรียนในกลุ่ม นักเรียนช้ันประถมต้น-ปลาย ผู้เรียนมีวัตถุประสงค์ในการเรียนภาษาจีนเพื่อเพิ่มเติมความรู้ทาง ด้านภาษา โดยเป็นความสนใจส่วนตัว จำนวนผู้เรียนต่อห้องน้อยกว่า 10 คน ก่อนมาเรียนภาษาจีน ผู้เรียนไม่มีพ้ืนฐานความรู้ภาษาจีน กรณีผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้ภาษาจีนมาก่อน แต่มีพื้นความรู้ ภาษาจีนไม่เท่ากัน โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนจะจัดห้องเรียนโดยแบ่งกลุ่มตามระดับความรู้ ภาษาจนี ของผู้เรยี น และเกณฑ์หรือดชั นบี ่งช้ีระดบั ความรู้ภาษาจีนของผ้เู รยี นวัดโดยการสอบวดั ระดับ ความรู้ทางภาษาจนี ของโรงเรยี นหรอื สถาบันสอนภาษา รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 57
1.5 ดา้ นความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน จากผลการศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนในการ จัดการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีพบมากที่สุด พบว่า โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาส่วนใหญ่ยังไม่มี ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื กรณที ม่ี คี วามรว่ มมอื ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นนั้ หนว่ ยงาน ท่ีร่วมมือเป็นท้ังหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ หน่วยภายในประเทศท่ีมีความร่วมมือเป็น โรงเรียนหรือสถาบันระดับเดียวกัน ส่วนหน่วยงานภายนอกประเทศที่มีความร่วมมือเป็นมหาวิทยาลัย ส่วนการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีมีความร่วมมือ หน่วยงานท้ังภายในประเทศและภายนอก ประเทศให้การสนับสนุนด้านส่ือการสอนมากที่สุด โดยความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการจัด การเรียนการสอนภาษาจีนน้ัน สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษา นอกระบบ 2. ปญั หาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ในประเทศไทย ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง โดยปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในแต่ละด้าน มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 ด้านหลกั สูตร ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านหลักสูตร โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับน้อย และจากผลการศึกษาเกีย่ วกบั ประเด็นตา่ งๆ ดา้ นหลักสูตร พบวา่ ปญั หาและอปุ สรรคที่มี ค่าเฉลีย่ สงู สุด คอื หลกั สตู รขาดความทนั สมัยทสี่ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จุบนั 2.2 ดา้ นสอ่ื การสอน ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านส่ือการสอน โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง และจากผลการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ด้านส่ือการสอน พบว่า ปัญหาและ อปุ สรรคท่ีมีค่าเฉลยี่ สงู สดุ คือขาดสื่อการเรียนการสอนภาษาจีนทีท่ นั สมยั 2.3 ดา้ นผ้สู อน ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านผู้สอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ น้อย และจากผลการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ด้านผู้สอน พบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คอื ผสู้ อนเนน้ การสอนภาคทฤษฎีมากกวา่ การปฏิบตั ิ 58 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
2.4 ดา้ นผเู้ รียน ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านผู้เรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง และจากผลการศึกษาเก่ียวกับประเด็นต่างๆ ด้านผู้เรียน พบว่า ปัญหาและอุปสรรคท่ีม ี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้เรียนมีปัญหาในการค้นคว้าข้อมูลเก่ียวกับวิชาท่ีเรียนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง 2.5 ดา้ นความร่วมมอื กบั หน่วยงานอ่นื ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และจากผลการศึกษาเก่ียวกับประเด็นต่างๆ ด้านความร่วมมือกับ หน่วยงานอ่ืน พบว่า ปัญหาและอุปสรรคท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบไมไ่ ด้รบั การสนบั สนนุ จากหน่วยงานภายอืน่ 3. แนวทางในการพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย จากผลการศึกษาเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยท่ีได้สรุปข้างต้น สามารถเสนอแนวทางในการพัฒนา ระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในแต่ละดา้ นได้ ดังน ้ี 3.1 ด้านหลกั สูตร หลักสูตรท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบ ควรพัฒนาให้มีความทันสมัยที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และเนื้อหาของหลักสูตร ควรสอดคล้องกับบรบิ ทของประเทศไทย 3.2 ดา้ นสื่อการสอน ส่ือการสอนที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบเนน้ การใชต้ ำราเรยี น (Textbook) เปน็ หลกั ซงึ่ จากผลการศกึ ษาพบวา่ สอื่ การเรยี นการสอน ท่ีใช้นั้นขาดความทันสมัย จึงควรมีการผลิตหรือพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีทันสมัยและ ตอบสนองการใชส้ ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศในปจั จบุ นั 3.3 ด้านผ้สู อน โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบส่วนมากสนับสนุนให้ผู้สอนภาษาจีนเข้า อบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านการสอนภาษาจีน ซ่ึงทำให้ผู้สอนสามารถพัฒนาความรู้ความสามารถทาง วิชาการในการสอนภาษาจีนได้อย่างต่อเน่ือง แต่จากผลการศึกษายังพบว่า ผู้สอนส่วนใหญ่เน้น การสอนภาคทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้ จึงควรจัดอบรมการสอนท่ีเน้นการปฏิบัติให้แก่ รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 59
ผู้สอนภาษาจีน เพ่ือให้ผู้สอนสามารถสอนให้ผู้เรียนนำภาษาจีนไปใช้สื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ ได้จรงิ 3.4 ดา้ นผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมาเรียนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบโดยมากเป็นผู้เรียนที่ ไม่มีพ้ืนฐานความรู้ทางด้านภาษาจีน และจากผลการศึกษายังพบว่า ปัญหาของผู้เรียนท่ีมาเรียนท่ี โรงเรยี นหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบนัน้ คอื ผูเ้ รียนมปี ัญหาในการคน้ คว้าขอ้ มูลเก่ียวกบั วิชาท่ี เรียนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง อาจเน่ืองมาจากผู้เรียนไม่มีพื้นฐานความรู้ทางด้านภาษาจีน หรอื เรมิ่ เรยี นแลว้ ยงั มพี น้ื ฐานความรภู้ าษาจนี นอ้ ย ทำใหไ้ มส่ ามารถคน้ ควา้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั วชิ าภาษาจนี ท่ีเรียนด้วยตนเองได้ จึงควรมีการแนะนำแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถค้นคว้าข้อมูลจากการเรียน ไดด้ ้วยตนเองเพ่อื ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ภาษาจนี เพมิ่ พนู ทกั ษะด้านต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง 3.5 ด้านความร่วมมือกบั หน่วยงานอน่ื โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษามีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นบางส่วน ซึ่งส่วนใหญ่ ไม่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน กรณีท่ีมีความร่วมมือนั้น การได้รับการสนับสนุนส่วนมากเป็นด้าน ส่ือการสอน แต่จากผลการศึกษายังพบว่า ถึงแม้การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอ่ืนบางส่วน จะสอดคล้องกับความต้องการ แต่การให้การสนับสนุนบางส่วน อาทิเช่น การสอบ HSK หรือการให้ การอบรมครูนั้น อาจมีบางส่วนที่ไม่ได้รับการสนับสนุนตามท่ีต้องการ จึงควรมีการสำรวจ ความต้องการรับการสนับสนุนของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษานอกระบบว่ามีด้านใดบ้าง และ สำรวจว่ามีหน่วยงานใดบ้างที่สามารถให้การสนับสนุนได้ เพื่อให้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี นอกระบบมีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึน้ ข้อสังเกต ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นหลกั สตู รและสอื่ การสอน ด้านหลักสูตรควรมีการจัดทำมาตรฐานหลักสูตรท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบ เนื่องจากปัจจุบันหลักสูตรท่ีใช้มีความหลากหลาย ขาดความสอดคล้องกับหลักสูตร การเรียนการสอนภาษาจนี ในระบบ รวมถึงหากมีการเปล่ียนสถานทีเ่ รยี น อาจทำให้การเรยี นการสอน ภาษาจีนขาดความต่อเน่ืองได้ และด้านส่ือการสอนน้ัน พบว่า สื่อการสอนที่เป็นตำราเรียน มีความ หลากหลายมาก ท้ังตำราเรียนท่ีจัดทำในประเทศจีน และตำราเรียนที่จัดทำในประเทศไทย แต่ละ โรงเรียนหรือสถาบันเลือกใช้ตำราเรียนตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียนหรือสถาบัน ซึ่งนอกจาก ตำราเรียนแล้ว ส่ือการสอนประเภทอ่ืน ยังขาดความทันสมัยและไม่แพร่หลายด้วย จึงควรม ี การกำหนดมาตรฐานของสือ่ การสอนภาษาจนี ท่เี หมาะสม 60 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ขอ้ สังเกต ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะด้านผสู้ อนและผเู้ รียน ด้านผู้สอนควรมีการพัฒนาบุคลากรของประเทศไทยให้มีความรู้ความสามารถทางด้าน ภาษาจีน รวมถึงส่งเสริมให้บุคลากรของไทยไปศึกษาต่อที่ประเทศจีน เพื่อที่จะได้กลับมาพัฒนา การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ดีกว่าการต้องพ่ึงพาผู้สอนท่ีเป็นคนจีนจากประเทศจีน ซึ่ง ผู้สอนคนจีนส่วนใหญ่สอนภาษาจีนท่ีประเทศไทยได้ช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น การเปล่ียนแปลงใน เรื่องของผู้สอนบ่อยอาจส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพของ ประเทศไทยในระยะยาวได้ และด้านผู้เรียนน้ัน ควรมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของ การเรียนภาษาจีน เพ่ือลดปัญหาการเลิกเรียนกลางคัน ทำให้ไม่สามารถเรียนรู้ภาษาจีนเพ่ือนำไปใช้ ประโยชนไ์ ด้จรงิ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบเป็นส่ิงท่ีมีความสำคัญมาก เนื่องจาก การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ โดยเฉพาะด้านหลักสูตรและด้านสื่อการสอนมีความ หลากหลายมาก หากมีการกำหนดมาตรฐานท่ีชัดเจนจะช่วยให้โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบสามารถดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนภายใต้มาตรฐานเดียวกัน และมีความ สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในระบบ ในส่วนด้านผู้สอนและด้านผู้เรียนควรมี การพัฒนาบุคลากรของไทยให้มีความรู้ความสามารถทางด้านภาษาจีนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อจะได้ ช่วยกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยได้อย่างต่อเน่ือง และในส่วนของ ความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนน้ัน ควรมีหน่วยงานในการส่งเสริมการทำความร่วมมืออย่างท่ัวถึง และครอบคลุม เพอ่ื ให้การจดั การเรียนการสอนภาษาจีนมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลสงู สดุ รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 61
บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551. กรงุ เทพฯ : กลมุ่ แผนงาน สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ฯ. ชลทิตย์ เอ่ียมสำอาง และประเสริฐ จินดารัตน์. (2554). ความเป็นผู้นำทางการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (รวมบทความทางวิขาการเร่ือง ความเป็นผู้นำทางการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ). กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . จิรัฎฐิยา ชนะเคน และคณะ. (2556). ศึกษาความนิยมของการเรียนพิเศษนอกสถานศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ. วันที่สืบค้นข้อมูล 20 ธันวาคม 2558, เข้าถึงได้จาก http://www.slideshare.net/ oil_intira/ is2-30617250. ณัฎฐลักษณ์ ศรีมีชัย. (2554). การประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (รวมบทความทางวิขาการเร่ือง ความเป็นผู้นำทาง การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย). กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ทวีป อภิสิทธ์ิ. (2554). การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาของโลกยุคใหม่ที่มาแรง. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ยั เบอื้ งตน้ . พมิ พค์ รง้ั ที่ 7. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พมิ พส์ วุ รี ยิ าสาสน์ . ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). การเรียนการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทย : การศึกษานอกระบบ. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สถิติการศึกษาเอกชน. (2558). สถิติวิชาชีพสอนภาษาจีน ปีการศึกษา 2553-2557. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์. (2554). ผู้นำการปฏิรูปการศึกษานอกระบบ (รวมบทความทางวิชาการเรื่อง ความเป็นผู้นำทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย). กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน). (2546). พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พรกิ หวาน กราฟกิ จำกดั . สำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2551). พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. 62 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
สำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2556). แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษา เอกชน พ.ศ. 2556 - 2560. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. สำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร.์ (2556). แผนปฏบิ ัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2556 - 2559). กรงุ เทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. สุดาทิพย์ โตเต็มโชคชัยการ. (2547). การศึกษาการตลาดของโรงเรียนสอนภาษาจีนในเขต กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บรหิ ารธุรกิจ. มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ ย์. รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 63
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1 แบบสอบถามเพื่อการวจิ ยั โครงการวจิ ยั เพือ่ การพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทย : การศึกษานอกระบบ
แบบสอบถามนี้เป็นการศึกษาเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย โดยทำ การศึกษาเก่ียวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบใน ประเทศไทย และนำผลจากการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลเพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนนอกระบบ ซึ่งข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการตอบแบบสอบถามนีจ้ ะนำไปใช้เพื่อประโยชนใ์ นการวิจัยเทา่ นั้น ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม คำช้แี จง : โปรดกรอกข้อความลงในช่องวา่ ง 1. ชอื่ สถานศกึ ษา......................................................................................................................................................... 2. ทีอ่ ยู ่ เลขท่ี.....................หมูท่ ่ี.............ตรอก/ซอย..........................................ถนน.......................................................... ตำบล/แขวง......................................อำเภอ/เขต..........................................จงั หวดั ............................................... รหสั ไปรษณยี .์ ........................โทรศพั ท์...........................................อเี มล์................................................................ 3. เปิดสอนภาษาจนี เม่ือปี พ.ศ. ................................... ตอนที่ 2 สภาพปจั จุบนั ของการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ คำชี้แจง : โปรดกรอกข้อความลงในชอ่ งวา่ ง และใสเ่ คร่ืองหมาย P ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั สภาพความเป็นจริง 1. ดา้ นหลักสูตร 1.1 วนั และเวลาท่ีจัดการเรยี นการสอน (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) £ ทกุ วัน เวลากลางวนั £ ทุกวัน เวลาเยน็ £ วนั จันทร์-ศุกร์ เวลากลางวัน £ วันจนั ทร์-ศุกร์ เวลาเย็น £ วันเสาร์-อาทิตย์ เวลากลางวัน £ วนั เสาร-์ อาทิตย์ เวลาเย็น £ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ)..................................................... 1.2 จำนวนชว่ั โมงในการจดั การเรยี นการสอนต่อสัปดาห์ £ 1-3 ช่ัวโมง £ 4-6 ชั่วโมง £ อื่นๆ (โปรดระบ)ุ ...................................................... 1.3 จำนวนชั่วโมงในการจดั การเรยี นการสอนตอ่ หลักสูตร £ นอ้ ยกวา่ 30 ช่วั โมง £ มากกวา่ 30 ชัว่ โมง £ อืน่ ๆ (โปรดระบ)ุ ...................................................... 1.4 หลกั สูตรภาษาจีนท่ีเปิดสอนมหี ลกั สตู รใดบา้ ง (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) £ หลกั สูตรภาษาจนี ทัว่ ไป ระดบั ต้น £ หลักสตู รภาษาจีนทั่วไป ระดับกลาง £ หลักสูตรภาษาจีนทวั่ ไป ระดับสูง £ หลกั สูตรภาษาจีนเฉพาะทาง (โปรดระบ)ุ ......................................................................... £ อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................................................................................... รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 67
1.5 หลักสตู รภาษาจนี ท่เี ปดิ สอนเนน้ ทักษะดา้ นใด (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) £ การฟงั £ การพูด £ การอา่ น £ การเขยี น £ การฟงั -การพูด £ การอ่าน-การเขยี น £ การฟงั -การพูด-การอ่าน-การเขยี น £ อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ ........................................... 2. ดา้ นสื่อการสอน 2.1 ส่ือท่ีใช้ในการจัดการเรยี นการสอน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) £ ตำราเรยี น (Textbook) £ หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (e-book) £ เวบ็ ไซต์ (Website) £ แอพลเิ คช่นั (Application) £ แผ่นซีดี (CD) วซี ีดี (VCD) หรือดวี ีดี (DVD) £ โปสเตอรภ์ าษาจีน (Chinese Poster) บัตรคำศพั ท์ (Word Card) £ อน่ื ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................... 2.2 ผู้จัดทำหนงั สอื หรือส่ือทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) £ จัดทำโดยคนไทย £ จดั ทำโดยคนจนี £ อืน่ ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................... 2.3 ประเภทของตวั อกั ษรจนี ทใี่ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน £ ตัวย่อ £ ตัวเต็ม £ ท้งั ตัวเต็มและตวั ย่อ £ ใช้หนังสอื ตัวยอ่ แตส่ อนให้ร้ตู ัวเตม็ ดว้ ย £ ใช้หนงั สอื ตวั เตม็ แตส่ อนให้รู้ตัวยอ่ ดว้ ย 2.4 การถอดเสยี งภาษาจีนใช้ระบบใด £ พินอนิ £ จอู้ ิน £ ถอดเสยี งดว้ ยภาษาไทย 2.5 ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษาเพอ่ื ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน £ มี £ ไม่มี 68 รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
3. ดา้ นผู้สอน 3.1 สญั ชาตคิ ุณวฒุ ิ และจำนวนของผ้สู อนภาษาจีน (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) 3.1.1 ผู้สอนสญั ชาตไิ ทย £ ผสู้ อนสัญชาตไิ ทย ประกาศนยี บัตรทางดา้ นภาษาจนี ......................คน £ ผสู้ อนสญั ชาตไิ ทย วุฒกิ ารศกึ ษาทางด้านภาษาจีนระดับปรญิ ญาตรี ......................คน £ ผ้สู อนสญั ชาตไิ ทย วุฒิการศึกษาทางด้านภาษาจนี ระดบั ปริญญาโท ......................คน £ ผู้สอนสัญชาตไิ ทย วุฒกิ ารศึกษาทางดา้ นภาษาจนี ระดับปรญิ ญาเอก ......................คน 3.1.2 ผสู้ อนสญั ชาติจีน £ ผู้สอนสญั ชาติจีน ประกาศนยี บัตรทางด้านภาษาจีน......................คน £ ผสู้ อนสัญชาตจิ นี วุฒิการศึกษาทางดา้ นภาษาจีนระดบั ปริญญาตร ี ......................คน £ ผสู้ อนสัญชาติจนี วุฒกิ ารศึกษาทางด้านภาษาจีนระดับปริญญาโท ......................คน £ ผูส้ อนสัญชาตจิ ีน วุฒิการศกึ ษาทางดา้ นภาษาจนี ระดับปรญิ ญาเอก ......................คน 3.1.3 ผู้สอนสัญชาติอืน่ (เช่น ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซยี เปน็ ต้น) £ ผู้สอนสัญชาติ (ระบสุ ัญชาติ)............................. £ มปี ระกาศนยี บัตรทางดา้ นภาษาจีน......................คน £ ไม่มมี ีประกาศนียบัตรทางด้านภาษาจีน......................คน £ ผู้สอนสญั ชาติ (ระบุสญั ชาต)ิ ............................. £ มวี ฒุ กิ ารศึกษาทางด้านภาษาจนี ระดบั ปริญญาตร ี ......................คน £ ไมม่ ีวฒุ กิ ารศึกษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปริญญาตร ี ......................คน £ ผสู้ อนสัญชาติ (ระบุสญั ชาต)ิ ............................. £ มีวุฒิการศึกษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปรญิ ญาโท ......................คน £ ไมม่ วี ฒุ กิ ารศึกษาทางดา้ นภาษาจีนระดับปริญญาโท ......................คน £ ผู้สอนสญั ชาติ (ระบสุ ัญชาติ)............................. £ มีวุฒิการศึกษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปรญิ ญาเอก ......................คน £ ไม่มวี ฒุ ิการศกึ ษาทางดา้ นภาษาจนี ระดบั ปรญิ ญาเอก ......................คน 3.2 ผู้สอนใชภ้ าษาใดในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 3.2.1 ผสู้ อนสัญชาติไทยใชภ้ าษา £ ภาษาไทย £ ภาษาไทยกบั ภาษาจีน £ ภาษาจีน 3.2.2 ผสู้ อนสัญชาตจิ ีนใชภ้ าษา £ ภาษาจนี £ ภาษาไทยกบั ภาษาจนี £ ภาษาจีนกับภาษาองั กฤษ รายงานการวจิ ยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 69
3.2.3 ผสู้ อนสญั ชาติอนื่ (เชน่ ไต้หวนั สงิ คโปร์ มาเลยเซีย เป็นตน้ ) ใชภ้ าษา £ ภาษาจนี £ ภาษาไทยกับภาษาจนี £ ภาษาจนี กับภาษาองั กฤษ £ อืน่ ๆ (โปรดระบุ)............................................. 3.3 จำนวนผสู้ อนภาษาจนี ประจำ/พิเศษ และจำนวนชว่ั โมงสอน 3.3.1 ผูส้ อนประจำ........................คน สอนภาษาจีนสัปดาห์ละประมาณ.................ชว่ั โมง 3.3.2 ผู้สอนพิเศษ..........................คน สอนภาษาจนี สปั ดาห์ละประมาณ.................ชัว่ โมง 3.4 ผู้สอนอายุเฉลย่ี ประมาณเทา่ ใด 3.4.1 ผู้สอนสัญชาติไทย £ น้อยกวา่ 25-25 ปี £ 30-35 ปี £ 40-45 ป ี £ 50-60 ป ี 3.4.2 ผสู้ อนสัญชาตจิ ีนหรอื สญั ชาตอิ ่นื (เชน่ ไต้หวัน สงิ คโปร์ มาเลยเซีย เปน็ ต้น) £ น้อยกว่า 25-25 ป ี £ 30-35 ป ี £ 40-45 ปี £ 50-60 ป ี 3.5 ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าชีพของผสู้ อน £ สถานศึกษาสนบั สนุนให้ผสู้ อนภาษาจีนเข้าอบรมเพิ่มพนู ความรดู้ ้านการสอนภาษาจีน £ สถานศึกษามีนโยบายมอบรางวลั แก่ผสู้ อนภาษาจนี £ สถานศกึ ษาสนับสนนุ ใหผ้ ูส้ อนภาษาจนี ศึกษาตอ่ £ อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................. 4. ด้านผเู้ รียน 4.1 กลมุ่ ผเู้ รียน (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) £ นักเรยี นตำ่ กว่าช้นั ประถม £ นักเรยี นชน้ั ประถมต้น-ปลาย £ นกั เรียนชั้นมธั ยมตน้ -ปลาย £ นิสิต/นักศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา £ บคุ คลทวั่ ไปทีส่ นใจ 4.2 จำนวนผู้เรยี น 3 ปีย้อนหลงั £ นกั เรียนต่ำกวา่ ชั้นประถม ปี พ.ศ. 2555 …. คน ปี พ.ศ. 2556 ……. คน ปี พ.ศ. 2557 …. คน £ นกั เรยี นชน้ั ประถมตน้ -ปลาย ปี พ.ศ. 2555 …. คน ปี พ.ศ. 2556 ……. คน ปี พ.ศ. 2557 …. คน £ นกั เรยี นชัน้ มธั ยมต้น-ปลาย ปี พ.ศ. 2555 …. คน ปี พ.ศ. 2556 ……. คน ปี พ.ศ. 2557 …. คน £ นสิ ติ /นกั ศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ปี พ.ศ. 2555 …. คน ปี พ.ศ. 2556 …. คน ปี พ.ศ. 2557 ….. คน £ บคุ คลทวั่ ไปทีส่ นใจปี พ.ศ. 2555 …. คน ปี พ.ศ. 2556 ……. คน ปี พ.ศ. 2557 ….. คน 4.3 ผู้เรียนมวี ตั ถุประสงคใ์ นการเรียนภาษาจีน (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) £ เพอื่ สอบเข้าเรยี นตอ่ ในระดบั การศึกษาทส่ี ูงขึ้น £ เพ่ือใชใ้ นการทำงาน โดยเป็นความสนใจสว่ นตัว £ เพอื่ ใชใ้ นการทำงาน โดยเปน็ ความตอ้ งการหน่วยงานต้นสังกดั £ เพือ่ เพิม่ เติมความรู้ทางดา้ นภาษา โดยเปน็ ความสนใจสว่ นตวั £ อ่นื ๆ (โปรดระบุ).................................................................................................. 70 รายงานการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
4.4 จำนวนผูเ้ รียนต่อหอ้ ง £ น้อยกวา่ 10 คน £ 11-20 คน £ 21-30 คน £ มากกว่า 30 คน 4.5 พน้ื ฐานความรู้ภาษาจีนของผ้เู รียน 4.5.1 กอ่ นเรียนผูเ้ รยี นมพี น้ื ฐานความรูภ้ าษาจนี อยา่ งไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) £ ไม่มีพื้นฐานความรภู้ าษาจีน £ มีพืน้ ฐานความรูภ้ าษาจนี โดยเคยเรยี นมาไม่เกิน 3 ปี £ มีพ้นื ฐานความรู้ภาษาจีนโดยเคยเรียนมา 3-6 ปี £ มีพ้นื ฐานความรู้ภาษาจนี โดยเคยเรียนมากกวา่ 6 ปี £ อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ................................................................................................... 4.5.2 กรณผี เู้ รยี นมีพ้นื ฐานความรู้ภาษาจีนไม่เทา่ กัน สถาบนั ของทา่ นมมี าตรการอย่างไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) £ สอบวัดความรภู้ าษาจีน โดยขา้ มไปเรียนรายวชิ าทส่ี ูงกว่า £ จัดหอ้ งเรียนโดยแบ่งกลมุ่ ตามระดับความรู้ภาษาจนี £ จัดห้องเรียนรวมกัน เพื่อผเู้ รียนจะได้ชว่ ยเหลือกนั £ ให้ผเู้ รยี นปรบั พน้ื ฐานความรู้ภาษาจนี กอ่ น £ ไมม่ มี าตรการใด ๆ £ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ).................................................................................................. 4.5.3 เกณฑ์หรือดชั นีบ่งชร้ี ะดับความรภู้ าษาจีนของผู้เรียน (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) £ จดั สอบวัดระดับความรโู้ ดยสถาบัน £ ไม่มีเกณฑ์การวดั ผลนอกเหนอื จากการสอบรายวชิ า £ กำหนดเกณฑก์ ารสอบ HSK (ระดับ........) £ อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................. 5. ด้านความร่วมมือกับหนว่ ยงานอน่ื 5.1 มีความร่วมมือกบั หน่วยงานอืน่ ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี หรือไม่ £ มี £ ไม่มี (หาก “ไมม่ ี” ข้ามไปตอบตอนที่ 3) 5.2 หน่วยงานท่ีมีความร่วมมอื ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี £ เป็นหนว่ ยงานภายในประเทศ £ เป็นหน่วยงานภายนอกประเทศ £ ทั้งหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ 5.3 ประเภทของหน่วยงานทมี่ ีความรว่ มมือในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี 5.3.1 หน่วยงานภายในประเทศท่มี คี วามร่วมมอื (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) £ ศนู ย์เครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี £ หอ้ งเรียน/สถาบนั ขงจ่อื £ มหาวทิ ยาลัย £ สถาบนั ระดบั เดยี วกัน รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 71
£ บรษิ ัทเอกชน £ อื่นๆ (โปรดระบุ)........................................................................................................... 5.3.2 หน่วยงานภายนอกประเทศท่มี คี วามรว่ มมอื (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) £ สำนักงานฮัน่ ปั้น £ มหาวทิ ยาลัย £ สถาบันระดับเดยี วกัน £ บริษทั เอกชน £ อื่นๆ (โปรดระบุ)........................................................................................................... 5.4 ได้รับการสนบั สนนุ จากหน่วยงานทท่ี ำความรว่ มมอื ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนด้านใดบา้ ง (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 5.4.1 หนว่ ยงานภายในประเทศให้การสนับสนุน £ ดา้ นหลักสตู ร (เชน่ สนบั สนุนการจดั ทำหลักสูตรในการสอนภาษาจนี ) £ ดา้ นส่ือการสอน (เช่น สนบั สนนุ ส่อื ท่ีใชใ้ นการเรียนสอนภาษาจนี ท้ังหนังสอื หรอื สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์) £ ด้านผู้สอน (เชน่ สนับสนนุ ผสู้ อนภาษาจนี ใหท้ ุนการศกึ ษากบั ผู้สอน) £ ดา้ นผูเ้ รียน (เชน่ สนับสนุนให้บุคลากรในหนว่ ยงานมาเรยี นภาษาจนี ทส่ี ถานศกึ ษาของท่าน ให้ทุนการศกึ ษากบั ผเู้ รยี น) £ ดา้ นอน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................................................................. 5.4.2 หนว่ ยงานภายนอกประเทศใหก้ ารสนับสนุน £ ดา้ นหลกั สูตร (เช่น สนับสนุนการจดั ทำหลักสตู รในการสอนภาษาจนี ) £ ดา้ นสอ่ื การสอน (เชน่ สนับสนุนสือ่ ที่ใชใ้ นการเรียนสอนภาษาจีนท้ังหนงั สอื หรือ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์) £ ด้านผูส้ อน (เช่น สนับสนุนผสู้ อนภาษาจีน ให้ทุนการศกึ ษากับผสู้ อน) £ ด้านผูเ้ รียน (เช่น สนบั สนุนใหบ้ คุ ลากรในหน่วยงานมาเรยี นภาษาจีนท่ีสถานศึกษาของท่าน ใหท้ ุนการศึกษากบั ผเู้ รยี น) £ ดา้ นอน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................................................................. 5.5 ความรว่ มมือกบั หน่วยงานอนื่ ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี สอดคล้องกับความต้องการหรอื ไม ่ £ สอดคล้อง £ ไม่สอดคลอ้ ง เพราะเหตใุ ด (โปรดระบ)ุ ........................................................................... 72 รายงานการวิจยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ตอนที่ 3 ปญั หาและอปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ คำชี้แจง : โปรดอ่านข้อความตอ่ ไปนี้แล้วใส่เคร่อื งหมาย P ลงในชอ่ งท่ีตรงกับปญั หาและอุปสรรค ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบมากทีส่ ุด 5 หมายถึง แสดงระดบั ปญั หาและอุปสรรคมากทสี่ ุด 4 หมายถึง แสดงระดบั ปัญหาและอปุ สรรคมาก 3 หมายถงึ แสดงระดบั ปัญหาและอปุ สรรคปานกลาง 2 หมายถงึ แสดงระดับปัญหาและอุปสรรคนอ้ ย 1 หมายถึง แสดงระดับปญั หาและอปุ สรรคน้อยทสี่ ุด ปญั หาและอปุ สรรคด้านหลักสูตร ระดับปัญหาและอุปสรรค 5 4 3 2 1 ปญั หาและอปุ สรรคดา้ นหลกั สตู ร 1. หลักสตู รขาดความทันสมยั ที่สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปัจจุบนั 2. หลกั สูตรไม่ครอบคลุมในการพัฒนาทักษะฟัง พดู อ่าน และเขียน 3. สถาบนั ขาดความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีน เพื่อพฒั นาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพ 4. หลกั สูตรไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรยี นได้เพียงพอ 5. สถาบันจัดการเรยี นการสอนไม่สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร ปัญหาและอปุ สรรคด้านสือ่ การสอน 1. ขาดส่ือการสอนท่ีเหมาะสมกับวชิ าในหลกั สตู ร 2. สื่อการสอนทต่ี ้องใชใ้ นการเรยี นการสอนของหลักสูตรไมเ่ พียงพอ 3. ขาดสอ่ื การเรยี นการสอนภาษาจีนทีท่ นั สมัย 4. สื่อการสอนท่ีใช้ไม่มีความหลากหลาย 5. ไม่สามารถพัฒนาส่อื การสอนทม่ี คี ุณภาพได้เอง ปัญหาและอุปสรรคด้านผู้สอน 1. ผสู้ อนขาดประสบการณ์ ความชำนาญ ความร้คู วามสามารถทาง วชิ าการในการสอนภาษาจนี 2. ผสู้ อนเนน้ การสอนภาคทฤษฎีมากกว่าการปฏบิ ตั ิ 3. ผู้สอนขาดการเตรียมความพรอ้ มในการสอนเป็นอยา่ งด ี 4. ผู้สอนตอบคำถามเก่ยี วกบั ปญั หาท่เี รยี นไดไ้ ม่ดพี อ 5. ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ไมค่ รอบคลมุ และสอดคล้องกับหลักสตู ร ทเี่ รียน รายงานการวิจัยเพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 73
ปญั หาและอุปสรรคด้านหลกั สูตร ระดบั ปญั หาและอปุ สรรค 5 4 3 2 1 ปญั หาและอุปสรรคดา้ นผูเ้ รยี น 1. ผู้เรยี นขาดความร่วมมอื ในการฝกึ ฝนทกั ษะต่าง ๆ เก่ยี วกบั วิชาทีเ่ รยี น 2. ผู้เรียนมีปัญหาในการค้นควา้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับวชิ าท่เี รยี นจากแหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ ดว้ ยตนเอง 3. ผเู้ รียนมีความสนใจในการเรียนภาษาจนี นอ้ ย 4. ผ้เู รยี นมวี นิ ยั และความรบั ผิดชอบในการเรียนภาษาจนี นอ้ ย 5. ผ้เู รยี นต้องพ่งึ พาผู้สอนในการเรยี นภาษาจีนเทา่ น้ัน ปญั หาและอุปสรรคดา้ นความร่วมมือกบั หน่วยงานอืน่ 1. สถาบนั ไมม่ คี วามรว่ มมือกับหน่วยงานอืน่ 2. สถาบนั ไม่ไดร้ บั การสนบั สนุนจากหน่วยงานอื่น 3. สถาบันได้รบั การสนับสนุนจากหนว่ ยงานอนื่ แต่ไมต่ อ่ เนื่อง 4. สถาบนั ไมม่ ีความร่วมมือกบั หน่วยงานอืน่ ทต่ี อ้ งการรว่ มมอื 5. สถาบันขาดการสร้างความร่วมมือเชงิ รุกกบั หน่วยงานอนื่ 74 รายงานการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ตอนที่ 4 ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คำชีแ้ จง : โปรดแสดงความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ เพื่อ เป็นประโยชน์ในการปรบั ปรุงและพัฒนาตอ่ ไป 1. ดา้ นหลักสตู ร ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. ดา้ นสื่อการสอน ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. ดา้ นผ้สู อน ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 4. ด้านผเู้ รยี น ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 5. ด้านความรว่ มมอื กบั หน่วยงานอื่น ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... รายงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 75
ภาคผนวก 2 รายช่ือโรงเรยี นหรอื สถาบันสอนภาษาจนี นอกระบบ
ภาคกลาง ลำดบั ชอ่ื โรงเรยี นหรือสถาบนั ท่อี ยู่ โทรศพั ท ์ ที่ สอนภาษาจนี 1 สอนภาษาจนี เป่ยจิง 76/42 โครงการหลกั สีส่ แควร์ ถ.แจ้งวัฒนะ 02-5521708-9 แขวงอนสุ าวรยี ์ เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร 10220 2 กวดวชิ าและภาษาเพิ่มพนู 1759/5 ช้ัน1 ห้อง G103 ศนู ยก์ ารค้าเพชรเกษม 02-8093119 พาวเวอร์ เซ็นเตอร์ ถ.เพชรเกษม แขวงหลักสอง เขตบางแค กรุงเทพมหานคร 10160 3 สอนภาษาญ่ปี ุ่นและ 318/5 ศนู ยก์ ารคา้ เดอะพาชิโอ อาคาร A ชัน้ 2 - ภาษาจนี สวุ รรณภมู ิ ห้อง A203 ถ.ลาดกระบงั แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรงุ เทพมหานคร 10520 4 โลกใหมท่ างการศึกษา 61 อาคารพาราไดซพ์ าร์ค ช้นั 4 ถ.ศรนี ครินทร ์ - พาราไดซ์พาร์ค แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 5 ภาษาต้นไทร 104/43 หม่ทู ี่ 1 อาคาร E ช้นั 3 02-5737559 โครงการดิอเวนวิ แจง้ วฒั นะ ถ.แจ้งวฒั นะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพมหานคร 10210 6 บ้านภาษาจนี 210/105 ม.1 ถ. ปาณวถิ ี ต.บางเพรยี ง อ.บางบ่อ - จ.สมทุ รปราการ 10560 7 สอนภาษานิวเซน็ จูรไี่ ชนสิ 99/8 หมู่บา้ นวินด์มลิ ล์ ถ.บางนา-ตราด 0897699201 ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 8 เสริมภาษา 1809 ถ.สามัคครี ังสรรค์ ต.บางพึ่ง อ.พระประแดง 02-8185591 จ.สมุทรปราการ 10130 9 ทักษะภาษา 23/10-11 ถ.สขุ มุ วทิ ต.ปากนำ้ อ.เมอื งสมทุ รปราการ 02-7563322 จ.สมทุ รปราการ 10270 10 สอนภาษาสมทิ อิงลิชออฟ 13/4-5 ม.6 ต.ลาดสวาย อ.ลำลกู กา - แลงเกวจ จ.ปทมุ ธานี 12150 11 ภาษาและภูมิปญั ญาตะวันออก 161 ศูนยก์ ารค้าฟิวเจอร์พารค์ รังสติ ถ.พหลโยธิน 02-9580158-9 ต.ประชาธปิ ตั ย์ อ.ธญั บุรี จ.ปทมุ ธานี 12110 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 77
ลำดับ ชอ่ื โรงเรียนหรอื สถาบัน ท่ีอย่ ู โทรศพั ท ์ 02-9818908 ท่ี สอนภาษาจนี - 12 ไชนสี เอ็ดดเู ทนเมนท์ ช้ัน1-2 อาคารเลขท่ี 32 ซ.รงั สิต-ปทุมธานี 14 ถ.รงั สิต-ปทุมธานี ต.ประชาธปิ ตั ย์ อ.ธัญบรุ ี 035-229377-8 จ.ปทุมธานี 12110 036-413816 13 ภาษาโนว์มอร ์ ชั้น1-2 อาคารเลขท่ี 300/74-75 หมู่ 13 - ถ.เมืองเอก ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทมุ ธานี 12150 14 ภาษาตา่ งประเทศ อซี ีซี อยุธยา 126/1 หมทู่ ี่ 3 อาคารเทสโกโ้ ลตสั ซุปเปอร์เซว็นเตอรส์ าขาอยธุ ยา ถ.เอเชีย ต.คลองสวนพลู อ.พระนครศรอี ยธุ ยา จ.พระนครศรีอยธุ ยา 13000 15 ภาษาหวั เต๊อะวิทยา 26/9 ศนู ย์การค้ามโนราห์ ถ.ปรางคส์ ามยอด ต.ท่าหนิ อ.เมืองลพบรุ ี จ.ลพบรุ ี 15000 16 ภาษาและคอมพวิ เตอร์ 99/14 อาคารศนู ย์การคา้ เทสโก้ โลตัส ศาลายา อซี ซี ี ศาลายา ถ.ป่ินเกล้า-นครชยั ศรี ต.บางเตย อ.สามพราน จ.นครปฐม 73160 ภาคตะวันออก ทอ่ี ย ู่ โทรศัพท ์ ลำดบั ชอื่ โรงเรยี นหรอื สถาบนั 278/2 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมืองชลบรุ ี - จ.ชลบุรี 20000 ท่ ี สอนภาษาจีน 1 ศูนยก์ ลางภาษานานาชาติ 3/19 หมู่ที่ 5 ถ.สุขมุ วทิ ต.บ้านสวน อ.เมอื งชลบรุ ี 038-796203-4 บางแสน จ.ชลบรุ ี 20000 2 รักภาษา 352/28,29 หมทู่ ่ี 7 ต.ท่าตมู อ.ศรีมหาโพธิ - 3 สอนภาษา 304 จ.ปราจนี บุรี 25000 78 รายงานการวิจยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทอี่ ย ู่ โทรศพั ท ์ 92/2 ซอยข้างโรงแรมพาราไดซ์ ถ.วดั โพธิวราราม 042-340356 ลำดบั ชื่อโรงเรยี นหรอื สถาบนั ต.หมากแข้ง อ.เมืองอุดรธานี จ.อุดรธานี 41000 ศูนย์จำหนา่ ยสนิ คา้ คณุ ภาพลุ่มนำ้ โขง ถ.มติ รภาพ - ท่ ี สอนภาษาจนี ต.หนองกอมเกาะ อ.เมืองหนองคาย 1 ภาษาชนัชภมู ิ จ.หนองคาย 43000 2 สอนภาษาและวัฒนธรรม อาเซยี น ภาคเหนือ ลำดับ ชื่อโรงเรียนหรือสถาบัน ที่อยู่ โทรศพั ท ์ ที่ สอนภาษาจีน 1 พระคณุ ภาษาจนี กลางเชยี งใหม ่ 3 ซอย 7 ถ.หมน่ื ด้ามพร้าคต ต.ชา้ งเผอื ก 053-217074 อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชยี งใหม่ 50300 2 ตำราและสนทนาภาษา 17/1 ถ.ทา้ ยวงั ต.ชา้ งมอ่ ย อ.เมอื งเชียงใหม่ 053-232372 เชยี งใหม่ จ.เชยี งใหม่ 50300 3 กวดวิชาบ้านครูมนตร ี 204/4 อาคารพาณชิ ย์ 3 ชั้น ถ.วังเหนือ-พะเยา 081-9600412 ต.วังซา้ ย อ.วงั เหนือ จ.ลำปาง 52140 4 หวั เหวิน 425 หมทู่ ่ี 2 ต.แมส่ าย อ.แมส่ าย จ.เชยี งราย 57130 - 5 สอนภาษาญ่ปี นุ่ -จนี เชยี งราย 665/7-8 ถ.ศรีเกดิ ต.เวียง อ.เมอื งเชยี งราย 053-740287 จ.เชียงราย 57000 ภาคตะวันตก ที่อยู่ โทรศัพท ์ 2/25 ต.บ้านใต้ อ.เมอื งกาญจนบุรี 034-515198 ลำดบั ชอ่ื โรงเรียนหรือสถาบนั จ.กาญจนบุรี 71000 ท่ี สอนภาษาจนี 1 จนี ศึกษากาญจนบุร ี รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 79
ภาคใต ้ ท่ีอย่ ู โทรศัพท ์ 074-32567 ลำดบั ชอ่ื โรงเรยี นหรือสถาบนั 1/17-18 ถ.จริ ะนคร ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 - ที่ สอนภาษาจนี 189 ต.วงั ประจัน อ.ควนโดน จ.สตูล 91160 - 1 คณุ ภาพภาษาจีนหาดใหญ่ 10-12 ถ.ไทรงาม ต.ทบั เท่ยี ง อ.เมอื งตรัง จ.ตรัง 92000 2 กวดวชิ าศรีมาลนิ ีจายา 3 ภาษาและกวดวชิ า อาจารย์อรรถพล 80 รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
เกีย่ วกับผู้วจิ ยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กนกพร ศรญี าณลักษณ ์ การศกึ ษา Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) East China Normal University, P.R. CHINA, 2006 M.A. (Chinese Literature and Characters) Nanjing Normal University, P.R. CHINA, 2004 ศศ.บ. (ภาษาจนี ) เกยี รตนิ ยิ มอนั ดับ 1 มหาวิทยาลยั บรู พา, 2543 การทำงาน ตลุ าคม พ.ศ. 2555 – ปจั จบุ นั รองคณบดีฝา่ ยวางแผนและพฒั นา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร ์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ปี พ.ศ. 2551 - กนั ยายน พ.ศ. 2555 หวั หนา้ ภาควชิ าภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร ์ มหาวิทยาลัยบรู พา ปี พ.ศ. 2543 – ปัจจบุ ัน อาจารยป์ ระจำสาขาวิชาภาษาจนี ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 81
ผลงานทางวชิ าการ ผลงานวจิ ัย กนกพร ศรีญาณลักษณ์. (2559). การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ภาษาจีนด้วยตนเอง ของนิสิตคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการ มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา, 24 (46), (กันยายน - ธนั วาคม 2559). กนกพร ศรีญาณลักษณ์. (2557). การศึกษาอุปลักษณ์และภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมของคำเรียกสี ในสำนวนจนี . ใน การประชมุ วิชาการเวทีวิจัยมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ประจำปี 2557 “ทศิ ทางการวจิ ยั : การพัฒนาสงั คมสปู่ ระชาคมอาเซยี น” คร้ังท่ี 8 (หน้า 411-422). ชลบรุ :ี คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา. กนกพร ศรีญาณลักษณ์. (2554). การสื่อความหมายของภาพมงคลจีน. วารสารจีนศึกษา, 4(4), หน้า 22-43. ผลงานแปล โจว เสี่ยวเกิง. (2555). เทคนิคสุดเจ๋ง จำง่าย ไวยากรณ์จีน. (กนกพร ศรีญาณลักษณ์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: เนชัน่ บคุ๊ ส์. 82 รายงานการวิจัยเพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
Search