เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) หลกั การและแนวคดิ เก่ยี วกับแผนการจัดการเรยี นรู้
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) หลกั การและแนวคดิ เกยี่ วกับแผนการจัดการเรียนรู้ การจดั ทาแผนการจัดกจิ กรรมเรียนร้หู รือแผนการสอน เป็นกจิ สาคัญของครทู ี่ทาให้ครูทราบ ล่วงหน้าว่าจะสอนอะไร เพ่ือจุดประสงค์ใด สอนอย่างไร ใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อะไรและ วัดผลประเมินโดยวิธีใดเป็นการเตรียมตัวให้พร้อมก่อนสอน ทาให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจในการสอน สอนครอบคลุมเน้ือหาและสอนอย่างมีแนวทางและเป้าหมาย ดังน้ันผู้สอน จึงจาเป็นต้องมีความรู้ เกีย่ วกบั ความหมาย ความสาคัญ ลกั ษณะข้นั ตอนการจัดทา และหลักการวางแผนการจดั กจิ กรรมการ เรียนรู้ตลอดจนลักษณะการสอนที่ดี เพ่ือส่งผลให้การเรียนการสอนดาเนินไปสู่จุดหมายปลายทางท่ี กาหนดไว้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ความหมายของแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ นกั การศกึ ษาได้ใหค้ วามหมายของแผนการเรียนรูห้ รือแผนการสอนไว้ ดงั น้ี กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้หมายถึงผลของการ เตรียมการวางแผนจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ โดยนาสาระและมาตรฐานการเรียนผลการ เรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปีหรือรายภาค มาสร้างหน่วยการเรียนรู้คาอธิบายรายวิชาและกระบวนการ เรียนรู้โดยเขียนเปน็ แผนการจดั การเรียนร้ใู หเ้ ปน็ ไปตามศักยภาพของผูเ้ รียน ชวลติ ชูกาแพง (2553) ได้ใหค้ วามหมายของแผนการจดั การเรยี นร้หู มายถึงเอกสารท่เี ปน็ ลายลกั ษณ์อักษรของครผู ู้สอน ซึ่งเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครง้ั โดยใช้สื่อและอุปกรณ์ การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง เน้ือหา เวลา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรยี นให้เป็นไปอยา่ งเต็มศักยภาพ บุญชม ศรีสะอาด (2553) ได้ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แนวทาง ปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนซึ่งได้จากการกาหนดไว้ล่วงหน้าว่าจะสอนใคร ในเนื้อหาใดเพื่อให้ เกิดอะไร สอนเม่ือใด สอนดว้ ยวธิ ีใด (ใชส้ ื่ออะไร กิจกรรมชนดิ ใด การวัดและประเมนิ ผลอยา่ งไร) วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2555) ให้ความหมายไว้ว่า เป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ ส่ือการจัดการเรียนรู้ การวัดผลให้สอดคล้องกับเน้ือหาและจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ทาให้ ผู้จัดการเรียนร้ทู ราบว่าจะจัดการเรยี นรู้เน้อื หาใด เพื่อจุดประสงคใ์ ด จัดการเรียนรู้อยา่ งไร ใช้ส่ืออะไร และวัดผลประเมินผลโดยวิธใี ด ชนาธิป พรกุล (2555) ได้ให้ความหมายว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นแนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เขียนไว้ล่วงหน้า ทาให้ผู้สอนมคี วามพรอ้ มและม่ันใจว่าจะสามารถสอนได้ บรรลจุ ุดประสงค์ทกี่ าหนดไว้ และดาเนินการสอนได้ราบรน่ื
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) สุพล วังสินธุ์ (2543 : 5) ให้ความหมายของแผนการสอนวา่ แผนการสอนคือ แผนการ หรือโครงการทจ่ี ัดทาไวเ้ ป็นลายลักษณ์อักษรเพ่ือการปฏบิ ตั ิการสอนในวชิ าหนึง่ เป็นการเตรียมการ สอนไปส่จู ดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ วโิ รจน์ มังคละมณี (2546 : 212) ให้ความหมายแผนการสอนวา่ เป็นหัวใจสาคัญของการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะแผนการสอนจะกาหนดลงไปว่ารายละเอียดต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับการเรียนการสอนแต่ละครั้งอย่างละเอียด ซ่ึงอย่างน้อยท่ีสุดจะต้องกาหนดจานวนคาบเวลาที่ใช้ สอน สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอน และการวดั ผลประเมนิ ผล วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2541 : 2) ใหแ้ นวคิดเก่ยี วกบั แผนการสอนว่า หมายถึง แผนการ หรือโครงการท่จี ัดทาขน้ึ เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรเพ่ือใชใ้ นการปฏิบตั กิ ารสอนใน รายวิชาใดรายวชิ าหน่ึง เป็นการเตรยี มการสอนอย่างมีระบบและเป็นเครื่องมือทีช่ ว่ ยใหค้ รพู ฒั นาการจดั การเรียนการสอนไปสู่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้และจดุ มุง่ หมายของผ้บู ริหารได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ จรวยพร ประสานทอง (2542 : 14) ได้ให้ความหมายของแผนการสอนว่าคือ แนวทาง หรือโครงการสอนท่ีผู้สอนควรจัดเตรียมไว้ล่วงหน้า เพ่ือสอนในรายวิชาท่ีตนสอนและให้การสอนเกิด ประสิทธิภาพ ถวัลย์ มาศจรัส (2546 : 20) ให้ความหมายว่า เป็นการนามวลประสบการณ์สาหรับการ เรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรมากาหนดเป็นสาระการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับระยะเวลาในการจัดการ เรียนรูท้ ีเ่ ป็นลายลักษณอ์ ักษรล่วงหน้าอย่างเปน็ ระบบ จากที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง เอกสารที่ ครผู ู้สอนจดั ทาขึ้นจากการวิเคราะห์หลักสตู ร เป็นการเตรียมการล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ เพ่ือใช้เป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ช่วยให้ผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางที่หลักสูตร กาหนดไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ความสาคญั ของแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ความสาคัญของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ มีผู้ให้ความสาคญั ของแผนการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ไว้ ดังนี้ อาภรณ์ ใจเท่ยี ง (2546) ใหค้ วามสาคญั ของแผนการจดั การเรียนรู้ไวด้ ังน้ี 1. ทาใหผ้ ูส้ อนสอนดว้ ยความม่ันใจ เมื่อเกดิ ความม่นั ใจในการสอนย่อมจะสอนด้วย ความคล่องแคล่วเปน็ ไปตามลาดบั ขน้ั ตอนอย่างราบร่ืน ไมต่ ดิ ขดั เพราะไดเ้ ตรยี มการทุกอยา่ งไว้ พรอ้ มแล้ว 2. ทาใหเ้ ปน็ การสอนทม่ี คี ุณคา่ คมุ้ กับเวลาท่ผี ่านไป เพราะผ้สู อนสอนอย่างมีแผน มเี ปา้ หมายและมที ศิ ทางในการสอน มใิ ชส่ อนอย่างเล่อื นลอย ผูเ้ รยี นจะได้รับความรู้ความคิด เกิดเจตคตเิ กิดทักษะและเกิดประสบการณ์ใหม่ตามท่ีผสู้ อนวางแผนไวท้ าใหเ้ ปน็ การเรียนการสอนทมี่ ี
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) คณุ ค่า 3. ทาให้เป็นการสอนที่ตรงตามหลักสูตร ท้ังนี้เพราะในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ผู้สอน ต้องศึกษาหลักสูตร ท้ังด้านจุดประสงค์การสอนเนื้อหาสาระท่ีจะสอนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนการใช้สื่อการสอนการวัดและประเมินผล แล้วจัดทาออกแบบเป็นแผนการจัดการเรียนรู้เมื่อ ผู้สอนสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ก็ย่อมทาให้เป็นการสอนท่ีตรงตามจุดมุ่งหมายและทิศทางของ หลักสูตร 4. ทาให้การสอนบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ดีกว่าการสอนท่ีไม่มีการวางแผนเน่ืองจากใน การวางแผนการจัดการเรียนรู้ผู้สอนต้องวางแผนอย่างรอบคอบในทุกองค์ประกอบของแผนการ จัดการเรียนรู้รวมทั้งการจัดเวลาสถานท่ีรวมทั้งสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ซ่ึงจะเอ้ืออานวยให้เกิด การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งสะดวกและง่ายข้นึ 5. ทาให้ผู้สอนมเี อกสารเตอื นความจาสามารถนามาใช้เปน็ แนวทางในการสอนต่อไป ทาให้ไม่ เกิดความซ้าซ้อนและเป็นแนวทางในการทบทวนหรือการออกข้อทดสอบเพื่อวัดผลประเมินผลผเู้ รียน ได้ 6. ทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและต่อวิชาที่เรียนท้ังนี้เพราะผู้สอนสอนด้วยความ พร้อมเป็นความพร้อมทั้งด้านจิตใจและความพร้อมท้ังด้านวัตถุ ความพร้อมทางด้านจิตใจ คือความ ม่ันใจในการสอนเพราะผู้สอนได้เตรยี มการสอนอย่างรอบคอบ ส่วนความพร้อมท้ังด้านวัตถุ คือการที่ ผสู้ อนไดเ้ ตรียมเอกสารหรอื สอื่ การสอนไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง เมอ่ื ผสู้ อนเกดิ ความพรอ้ มในการสอนย่อม สอนด้วยความกระจ่างแจ้ง ทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างชัดเจนในบทเรียนอันส่งผลให้ผู้เรียนเกิด เจคติทด่ี ตี ่อผสู้ อนและต่อวิชาที่เรยี น ชวลิต ชกู าแพง (2551) ไดร้ ะบุถงึ ความสาคญั ของแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรดู้ ังนี้ 1. ช่วยให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในจุดมุ่งหมายของเรื่องที่จะจัดกิจกรรมและเลือกจัด กิจกรรมได้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน มีคุณภาพตรงกับเจตนารมณ์ของหลักสูตร ซึ่งส่งเสริมให้ นกั เรยี นเกิดการเรยี นรตู้ ามลาดบั ขน้ั ตอนและทันเวลา 2. ช่วยใหค้ รมู ีความเชอ่ื มั่นในตนเองมากย่งิ ข้ึน เมือ่ ได้เตรียมการสอนมาอยา่ งดีแลว้ การสอนก็ จะเปน็ ไปอยา่ งเรียบร้อย 3. ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้เร็ว เพราะเม่ือครูเตรียมการสอนดีย่อมทาให้การจัด กจิ กรรมเป็นไปตามข้ันตอน จนนักเรียนไดร้ ับความรูค้ วามเขา้ ใจเร็วข้นึ 4. ทาให้นักเรียนเกดิ เจตคติที่ดตี ่อกลุ่มประสบการณ์ที่เรียน การท่คี รูเตรียมการสอนทาให้ครู มีความมั่นใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมได้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ทา ให้นกั เรียนเรยี นด้วยความสนกุ สนาน และเกดิ เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ เร่อื งทเี่ รยี น 5. ทาให้นักเรียนเกิดความเล่อื มใสศรัทธาในตัวครเู พราะครูมีความมั่นใจมกี ารเตรียมการเรยี น การสอนมาอย่างดีกระบวนการเรียนการสอนเป็นไปตามข้ันตอนอย่างมีประสิทธิภาพนักเรียนก็เกิด ความเลื่อมใสศรัทธาครูย่ิงขน้ึ 6. ถ้าครูมีความจาเป็นไม่ได้สอนด้วยตนเอง ผู้มาสอนแทนก็จะมาสอนแทนได้บรรลุตาม จุดประสงค์ทก่ี าหนด
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) 7. ทาให้การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ช่วยให้ครู สามารถวินิจฉัยจุดอ่อนของนักเรียนที่จะได้รับการแก้ไข และทราบจุดเด่นที่ควรได้รับการส่งเสริม ตอ่ ไป นอกจากนยี้ งั ช่วยใหค้ รเู ห็นภาพการทางานของตนเองไดเ้ ดน่ ชัดยง่ิ ขนึ้ 8. ครูผสู้ อนสามารถใช้เป็นข้อมูลท่ีถูกต้องเท่ียงตรง เพื่อเสนอแนะแก่บุคลากรและหน่วยงาน ท่เี กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ กก่ รมวชิ าการ ศกึ ษานิเทศก์และผบู้ ริหาร เพ่ือปรบั ปรุงหลกั สตู รใหเ้ หมาะสมยิ่งขนึ้ 9. ชว่ ยให้ผู้บริหารหรือผู้เก่ียวข้องได้ทราบข้ันตอนกระบวนการต่าง ๆ ในการสอนของครูเพ่ือ การนิเทศตดิ ตามและประเมินผลการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 10. เป็นการพัฒนาวิชาชีพครูที่แสดงว่าการสอนต้องได้รับการฝึกฝนที่มีความเชี่ยวชาญ โดยเฉพาะมเี ครือ่ งมือและเอกสารทีจ่ าเป็นสาหรับการประกอบอาชพี 11. เป็นผลงานทางวิชาการอย่างหน่ึงที่แสดงให้เห็นถึงความชานาญพิเศษ หรือควาเช่ียวชาญ ของผ้จู ัดทาแผนการสอน ซึ่งสามารถนาไปพฒั นางานในหน้าท่ีและเสนอเล่ือนระดบั ให้สงู ขึ้น วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน์ (2555) สรปุ ความสาคญั ของแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ วด้ งั น้ี 1. ทาให้เกิดการวางแผนท่ีดี วิธีเรียนท่ีดี ท่ีเกิดจากการผสมผสานความรู้และจิตวิทยา การศึกษา 2. ช่วยให้ครูมีคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีทาไว้ล่วงหน้าด้วยตนเองและทาให้ครูมีความ ม่ันใจในการจดั การเรียนรู้ได้ตามเปา้ หมาย 3. ช่วยให้ครูผู้สอนทราบว่าการสอนของตนได้เดินไปในทิศทางใด หรือทราบว่าจะสอนอะไร ด้วยวธิ ใี ด สอนทาไม สอนอย่างไร จะใชส้ ่ือและแหล่งเรยี นรู้อะไร และจะวัดประเมนิ ผลอยา่ งไร 4. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนใฝ่ศึกษาหาความรู้ ทั้งเร่ืองหลักสูตร วิธีจัดการเรียนรู้จะจัดหาและใช้ สอื่ แหลง่ เรียนรู้ ตลอดจนการวดั และประเมินผล 5. ใหเ้ ป็นคมู่ อื กบั ครทู ม่ี าสอนแทนได้ 6. เกิดประโยชนก์ ับวงการศกึ ษา สพุ ล วังสนิ ธุ์ (2543 : 6) ใหค้ วามสาคัญของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีสอน วิธีเรียนที่ดี ที่เกิดจากการผสมผสานความรู้และจิตวิทยา การศึกษา 2. ชว่ ยให้ครมู ีคูม่ อื การสอนท่ที าด้วยตนเองลว่ งหน้า ทาให้ครูมีความมั่นใจในการสอนได้ตาม เป้าหมาย 3. ส่งเสริมให้ครูใฝ่ศึกษาหาความรู้ ทั้งหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนตลอดจนการ วัดผลประเมินผล 4. ใช้ค่มู อื สาหรบั ครทู ีม่ าสอนแทน 5. เป็นหลกั ฐานแสดงข้อมลู ท่ีถูกต้อง เที่ยงตรง มีประโยชน์ต่อการศึกษา 6. เป็นผลงานทางวิชาการ แสดงความชานาญและเชยี่ วชาญของผูจ้ ดั ทา ทวีศักดิ์ ไชยมาโย (2537 : 4-5) ให้ความสาคัญของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ ดงั นี้ 1. ชว่ ยให้ครูได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้ในเรื่องของหลักสูตรแนวการสอนการจดั ทาจัดหาส่ือ ประกอบการสอน ตลอดจนวิธกี ารวัดและประเมินผลอยา่ งละเอียด
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) 2. ช่วยให้เกิดการวางแผนวิธีสอนวิธีเรียนที่มีความหมายยิ่งข้ึน เพราะการจัดทาแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เป็นการผสมผสานเนื้อหาสาระและจุดประสงค์การเรียนจา กหลักสูตรกับหลัก จิตวิทยาการศึกษาหรือนวัตกรรมการเรียนใหม่ ๆ ตลอดจนปัจจัยอานวยความสะดวกของโรงเรียน และสภาพปัญหา ความสนใจ ความต้องการของนักเรียนผู้ปกครองและทรัพยากรในท้องถิ่น โดยใช้ วิธกี ารเชิงระบบ เพอื่ ให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ช่วยให้ครูมีครูมือท่ีทาไว้ด้วยตนเองล่วงหน้า เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ครบถว้ นและทันเวลา ชว่ ยใหค้ รมู คี วามมัน่ ใจในการสอนมากขน้ึ 4. ทาให้การประเมินผลการเรียนรู้ทางการเรียนเป็นไปตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ ช่วยให้ ครูสามารถวนิ ิจฉัยจุดอ่อนของนักเรียนท่ีจะไดร้ ับการแก้ไขและทราบจุดเด่นท่ีควรได้รบั การเสริมสร้าง ตอ่ ไป นอกจากนีย้ งั ชว่ ยใหค้ รูเห็นภาพการทางานของตนเองให้เดน่ ชัด 5. ครูผู้สอนสามารถใช้เป็นข้อมูลที่ถูกต้อง เที่ยงตรง เพ่ือเสนองานแก่บุคลากรและ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมวิชาการ ศึกษานิเทศก์และผู้บริหาร เพื่อปรับปรุงหลักสูตรให้ เหมาะสมย่งิ ขึน้ 6. ช่วยให้ผู้บริหารหรือผู้ที่เก่ียวข้องสามารถทราบขั้นตอน กระบวนการต่าง ๆ ในการสอน ของครู เพื่อการนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการสอนซึ่งมปี ระสิทธภิ าพ 7. ผู้สอนติดธุระจาเป็นไม่สามารถสอนด้วยตนเองได้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จะใช้ เป็นคู่มอื แกผ่ ูม้ าสอนไดอ้ ยา่ งดี 8. เป็นการพัฒนาวิชาชีพครูที่แสดงว่างานสอนต้องได้รับการฝึกฝน มีความเช่ียวชาญ โดยเฉพาะมีเคร่อื งมือและเอกสารทีจ่ าเปน็ สาหรับการประกอบอาชีพ 9. เป็นผลงานทางวิชาการอย่างหน่ึงที่แสดงให้เห็นถึงความชานาญพิเศษ หรือความ เชี่ยวชาญของผู้จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งสามารถนาไปพัฒนางานในหน้าท่ีและเสนอ เลอ่ื นระดับใหส้ ูงขนึ้ จากความสาคญั ของแผนการจดั การเรยี นรสู้ รปุ ไดว้ า่ แผนการจัดการเรยี นรู้มีประโยชน์ ต่อระบบการศึกษา เปน็ เอกสารผลงานทางวิชาการ ชว่ ยใหผ้ ู้สอนมคี วามเชือ่ มัน่ ในการสอน ผู้เรยี น เกดิ ความเชื่อมัน่ ในเนอ้ื หาและผู้สอน ช่วยทาใหก้ ารจัดการเรยี นรู้บรรลุตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ และช่วยเป็นคู่มอื สาหรับผู้สอนแทนได้ องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ มนี ักการศึกษาได้กล่าวถงึ องค์ประกอบท่สี าคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้ดงั นี้ ณัฐวุฒิ กิจรงุ่ เรือง (2545) เสนอองคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. หัวเรอื่ ง 2. สาระสาคัญ
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 4. เน้อื หาสาระ 5. กิจกรรมการเรยี นรู้ 6. สือ่ การเรียนรู้ 7. การวดั ผลประเมินผลการเรยี นรู้ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2553) ไดเ้ สนอองคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ ดงั ตอ่ ไปน้ี สว่ นนา : รายวชิ า/กลมุ่ /ช้ัน ช่อื หน่วยการเรียนรู้ จานวนเวลาที่สอน 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ 2. ตวั ช้วี ัดช้ันปี 3. สาระสาคัญ 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 5. สาระการเรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 7. การวดั ผลประเมนิ ผล 8. สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้ 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ชนาธิป พรกุล (2555) แผนการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน มีองค์ประกอบท่ีสาคัญอยู่ 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1. เรอ่ื งและเวลาที่ใช้สอน 2. ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวัง/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3. สาระสาคญั 4. เนอื้ หา (สาระ) 5. กจิ รรมการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรยี นการสอน) 6. ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ การเรยี นรู้ (สอ่ื การเรยี นการสอน) 7. การวดั ผลและประเมนิ ผล แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีควรมีองค์ประกอบที่สาคัญครบถ้วนทุกองค์ประกอบมีความ สอดคล้องเก่ียวข้องสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ผู้สอนสามารถตรวจสอบความถูกต้องและความ สอดคล้องขององค์ประกอบต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ความถูกต้อง หมายถึง ข้อความในแต่ละองค์ประกอบมีความถูกต้องตามลักษณะของ องคป์ ระกอบนั้น ความสอดคล้อง หมายถึง ความสัมพันธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบที่มีความเก่ียวข้องต่อเน่ืองอยา่ ง สมเหตุสมผลเป็นเรือ่ งเดยี วกัน การสอนในชีวิตประจาวัน หากผู้สอนเขียนรายละเอียดของท้ัง 7 องค์ประกอบ และสอนได้ บรรลุจุดประสงค์ก็เพียงพอแล้ว ไม่จาเป็นต้องเพิ่มเติมองค์ประกอบอ่ืน ๆ เว้นแต่มีจุดประสงค์อย่าง อ่ืน
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2555) ได้เสนอองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้เกิดขึ้นจาก ความพยายามตอบคาถามดังต่อไปน้ี 1. สอนอะไร (หนว่ ย หวั เรื่อง ความคิดรวบยอด หรือสาระสาคญั ) 2. เพอ่ื จดุ ประสงค์อะไร (จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม) 3. ตัวสาระอะไร (โครงรา่ งเนื้อหา) 4. ใชว้ ิธกี ารใด (กิจกรรมการเรียนการสอน) 5. ใชเ้ ครอ่ื งมืออะไร (ส่อื การเรยี นการสอน) 6. ทราบได้อย่างไรว่าประสบผลสาเร็จหรือไม่ (การวดั ผลประเมนิ ผล) แผนการสอนมอี งคป์ ระกอบดงั น้ี 1. กลุ่มสาระการเรียนร้หู นว่ ยที่สอนและสาระสาคญั (ความคิดรวบยอด) ของเรือ่ ง 2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3. สาระการเรียนรู้ 4. กิจกรรมการเรยี นการสอน 5. ส่อื การเรยี นการสอน 6. วัดผลประเมนิ ผล สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ (2542 : 15) ได้กาหนด แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (Lesson plan) ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ สาคัญ 9 หัวขอ้ โดยบรู ณาการ ของหนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ 7 หวั ข้อ และเพิม่ เติม ของสานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครอู ีก 2 หัวข้อ ดังนี้ 1. สาระสาคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการของเร่ืองหนึ่งท่ีต้องการให้ เกิดกับนกั เรียนเม่อื เรียนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แลว้ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (Learning objective) เป็นการกาหนดจุดประสงค์ที่ต้องการให้ เกิดกับนักเรียนเมื่อเรียนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว 3. เนื้อหา (Content) เป็นเน้ือหาที่จดั กจิ กรรมและต้องการให้เกิดกับนักเรียนเมอ่ื เรยี นตาม แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แลว้ 4. กิจกรรมการเรียนการสอน (Instructional activities) เป็นการเสนอขั้นตอนหรือ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทก่ี าหนดในแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5. ส่ือการเรียนรู้และอุปกรณ์ (Instructional media) เป็นสื่อการเรียนรู้และวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่กาหนดในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. การวัดและประเมินผล (Measurement and evaluation) เป็นการกาหนดข้ันตอน หรือวิธีการวัดและประเมินผลวา่ นักเรียนบรรลุจุดประสงค์ตามท่ีกาหนดในกิจกรรมการเรียนการสอน แยกประเมินเป็น ประเมินกอ่ นสอน ขณะทสี่ อน และประเมินหลังสอน 7. กิจกรรมเสนอแนะ เป็นกิจกรรมบันทึกเพิ่มเติมของครูผู้สอนหลังจากที่ได้นาแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้บังคับบัญชาตรวจ เพ่ือปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ก่อนนาไปใช้ สอน
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) 8. กิจกรรมเสนอแนะของผู้บังคับบัญชา เป็นการตรวจแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือ เสนอแนะหลังจากที่ไดต้ รวจความถูกตอ้ ง การกาหนดรายละเอียดในหัวขอ้ ต่าง ๆ 9. บันทึกผลหลังสอน เป็นการบันทึกของผู้สอนบันทึกหลังจากนาแผนการจัดกิจกรรมการ เรยี นรูไ้ ปใชส้ อนแลว้ เพือ่ นาแผนไปปรบั ปรุง และใช้สอนในคราวต่อไป ประกอบด้วย 3 หวั ข้อ คือ 9.1 ผลการเรยี น เปน็ การบันทกึ ผลการเรียนดา้ นปริมาณและคุณภาพทง้ั 4 ดา้ น คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัยและกระบวนการซึ่งได้กาหนดขึ้นในกิจกรรมการเรียนการสอน และขั้นประเมนิ ผล 9.2 ปัญหาอุปสรรค เป็นการบันทึกปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในขณะสอนก่อนสอนและ หลงั ทาการสอน 9.3 ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข เป็นการบันทึกข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงการเรียนการ สอนใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ บรรลุจดุ ประสงค์ของบทเรยี นท่หี ลักสตู รกาหนด กล่าวโดยสรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบท่ีสาคัญได้แก่ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้สาระการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ส่ือ และแหล่งเรียนรู้และการ วัดผลประเมนิ ผล เพอ่ื วัดคุณภาพของผู้เรยี นโดยใช้วิธกี ารวดั ที่หลากหลาย ขั้นตอนการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในการจัดทาแผนการสอน ผู้สอนมีอิสระในการออกแบบแผนการสอนการจัดการเรียนรู้ของ ตนเอง ซ่ึงมีได้หลากหลายรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตามผู้สอนควรปฏิบัติตามนโยบายของโรงเรียนที่ กาหนดไว้ให้ใช้รูปแบบใด ถ้าโรงเรียนไม่ได้กาหนดรูปแบบไว้ จึงเลือกแบบที่ตนเองเห็นว่าสะดวกต่อ การนาไปใช้ สรุปขัน้ ตอนการจดั ทาแผนการสอนไดด้ ังน้ี (สาลี รกั สทุ ธี, 2553 : 79-82) ขัน้ ตอนการทาแผนการสอน การทาแผนการสอนมขี น้ั ตอนดงั นี้ 1. ศึกษาเวลาท่ีจะใช้งานจริงหรือกาหนดปฏิทินงาน โดยเมื่อได้รับทราบว่าสอนวิชาใดแล้ว ต้องศึกษาว่าสอนสัปดาห์ละกี่คาบ ในหนึ่งภาคเรียนมีก่ีสัปดาห์ มีวันหยุดหรือวันที่ใช้กิจกรรมของ โรงเรียนเทา่ ใด เหลือเวลาทใี่ ชส้ อนจรงิ เทา่ ใด จดบนั ทึกไว้ 2. ศึกษาหลักสูตรโดยเฉพาะในกลุ่มประสบการณ์ หรือวิชาท่ีทาแผนการสอนเช่น ศึกษา จุดหมายของหลักสูตร เป้าหมายที่สาคัญของหลกั สตู ร จดุ ประสงค์ของกลมุ่ ประสบการณ์หรอื รายวิชา นั้น ศึกษาเน้ือหากิจกรรมเสนอแนะจากคาอธิบายรายวิชาในหลักสูตร คู่มือหลักสูตร คู่มือการสอน ศกึ ษาเนอ้ื หาว่ามคี วามสมั พนั ธ์กบั วชิ าใดไดบ้ ้าง เพอ่ื จะได้นามาบรู ณาการ 3. กาหนดโครงสร้างของเนื้อหาสาระ จุดประสงค์ของการสอน ตลอดภาคเรียนของกลุ่ม ประสบการณ์หรือรายวิชาน้ัน โดยใช้จุดประสงค์ในคาอธิบายรายวิชาของหลักสูตรเป็นจุดประสงค์ ปลายทาง ใช้คาอธิบายเชิงเน้ือหาโดยใช้เอกสารอื่นประกอบ โดยใช้เอกสารอ่ืนประกอบด้วย เช่น หนังสือเรียน หนังสืออ้างอิง ข้อมูลทางสังคม เศรษฐกิจวัฒนธรรมในท้องถ่ินมากาหนดเป็นเนื้อหา ย่อย
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) 4. กาหนดโครงสร้างของวิชาท่ีสอน โดยนาจานวนคาบหรือจานวนช่ัวโมงสอนท่ีมีจริงในแต่ ละภาคเรียนมากาหนด 5. กิจกรรมการเรียนการสอน สื่ออปุ กรณ์ให้สอดคล้องกับเนื้อหาจุดประสงคข์ องการเรียนรู้ โดยให้มีการบูรณาการกับวชิ าอื่น ๆ รวมทั้งกาหนดวิธวี ัดผลและประเมนิ ผลด้วยซึง่ อาจจะทาเป็นราย ชว่ั โมง หรือรายหัวขอ้ เรื่องก็ไดใ้ ห้มกี ารบรู ณาการกบั วิชาอ่นื สุพล วังสินธุ์ (2543 : 7) ได้เสนอแนะข้ันตอนการทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ศึกษาหลักสูตร ต้องศึกษาหลักสูตรอย่างกว้างขวางและอย่างลึกซึ้งในรายวิชาและ รายวิชาที่สอน เช่น ศึกษาโครงสร้างของวิชา สื่อการเรียนการสอนท่ีกาหนดในรายวิชาท่ีจะสอน ดว้ ยแผน คาอธบิ ายรายวชิ าและธรรมชาตขิ องวิชา เปน็ ต้น 2. วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา เวลาและกิจกรรมวิเคราะห์ได้จากคาอธิบาย รายวิชา โดยสัมพันธก์ ับจดุ ประสงค์ของวชิ าและจดุ ประสงคข์ องหลกั สูตร 3. หากลวิธีสอน กลวิธีสอนจะต้องสอดคล้องกับหลักสูตร โดยใช้ทักษะกระบวนการและ ทฤษฎีการเรียนรตู้ ่าง ๆ ตลอดท้ังผสมผสานระหว่างประสบการณ์ และจินตนาการของผู้สอนเองคง จะไม่มีวิธีการสอนใดวิเศษสุดในโลกนี้ แต่วิธีการสอนที่เหมาะสม และสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ มากที่สดุ จะต้องยดึ หลักในการให้ผเู้ รียนเปน็ ผู้ปฏิบตั ิ ให้ค้นพบคาตอบดว้ ยตนเอง ให้รู้จกั การวางแผน และฝึกทักษะเป็นกลุ่มและรายบุคคล เพื่อให้นักเรียนได้เป็นผู้คิดเป็น ทาเป็นแก้ปัญหาเป็นและเห็น ช่องทางในการทางานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4. การจัดทาสื่อการเรียนการสอน จะต้องสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่ง อาจจะเป็นสื่อการเรียนการสอนที่ใช้อยู่แล้วหรือสื่อที่คิดค้นขึ้นใหม่ก็ได้ แต่ต้องให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับเนอื้ หาด้วย 5. จัดทาเครื่องมือวัดผลประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผลให้สอดคล้องกับ หลักสูตร โดยเครื่องมือน้ันจะต้องวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านพุทธิพิสัยจิตพิสัย และทักษะพิสัย ตลอดท้ังครอบคลุมถึงกระบวนการวางแผนของนักเรียนทั้งจากสถานการณ์จริงและ สถานการณ์จาลองอีกดว้ ย 6. กาหนดโครงสร้าง 1 รายวิชา กาหนดโครงสร้างสาหรับหน่ึงรายวิชาสามารถปฏิบัติได้ 2 ลักษณะ กล่าวคือ โครงสร้างอย่างละเอียดและโครงสร้างอย่างสังเขป โครงสร้างอย่างละเอียด เป็น การวางโครงสร้างสัมพันธ์จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา เวลา กระบวนการ ส่ือการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลให้เป็นภาพรวมตลอด ใน 1 รายวิชา ส่วนโครงสร้างอย่างสังเขปเป็นการวาง โครงสร้างโดยสัมพันธ์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนื้อหาและเวลา เพอ่ื ให้ภาพรวมทั้งหมดใน 1 รายวชิ า 7. การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ขยายจากโครงสร้างเป็นการเขียนแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจะนาไปใช้ในแต่ละคาบ / ชั่วโมงอย่างละเอียดและปฏิบัติจริงท้ังน้ีโดย ส่วนประกอบในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วยให้การดาเนินการสอนบรรลุเป้าหมายตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งมีมากมายหลากหลายข้อแตกต่างกัน แต่ส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้ จะต้องมีใน แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คอื 7.1 เน้อื หาสาระ
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) 7.2 จุดประสงค์ 7.3 กจิ กรรมการเรยี นการสอน 7.4 ส่ือการเรียนการสอน 7.5 การวดั และประเมินผล อาภรณ์ ใจเทย่ี ง (2546) ไดน้ าเสนอขนั้ ตอนการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ดังนี้ 1. วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา รายปี รายภาค และหน่วยการเรียนรู้ท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึน เพื่อประโยชน์ในการเขียนรายละเอียดของแตล่ ะหัวข้อของแผนการจัดการเรียนรู้ 2. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเพื่อนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยให้ ครอบคลุมพฤติกรรมท้ังดา้ นความรู้ ทักษะ/กระบวนการ เจตคติ และคา่ นิยม 3. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ โดยเลือกและขยายสาระท่ีเรียนให้สอดคล้องกับผู้เรียน ชุมชน และท้องถิน่ 4. วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคญั 5. วิเคราะห์กระบวนการประเมินผล โดยเลือกใช้วิธีการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ 6. วิเคราะห์แหล่งการเรียนรู้ โดยคัดเลือกส่ือการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ท้ังในและนอก หอ้ งเรียนใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั กระบวนการเรยี นรู้ ชวลิต ชกู าแพง (2553) ได้สรปุ ข้ันตอนการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสารหลกั สูตรและเอกสารทเี่ กยี่ วข้อง 2. ศึกษาวิธีวิเคราะห์เนื้อหาสาระสาคัญเพ่ือวางแผนในการสอน การกาหนดผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวัง และการประเมนิ ผลการเรยี นรูใ้ หต้ รงตามทหี่ ลกั สูตรกาหนด 3. ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างเนอ้ื หา สาระสาคญั และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 4. สร้างแผนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิธีสอน จะสอนเร่ืองอะไร ใบงาน และแบบประเมิน ตา่ ง ๆ ประกอบทา้ ยแผน 5. นาแผนการเรียนรไู้ ปตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชิงเนือ้ หาจากผูเ้ ชีย่ วชาญ 6. นาแผนการเรียนรู้มาปรบั ปรุงแก้ไขจดั พมิ พ์เปน็ ฉบบั จริงแลว้ นาไปทดลองกับกลุ่มตวั อย่าง วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน์ (2555) ได้เสนอข้ันตอนการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ ดังน้ี 1. ศกึ ษาและวิเคราะหส์ าระการเรยี นรทู้ จี่ ะจดั การเรยี นรู้ 1.1 จดุ ประสงค์ประจาวชิ า 1.2 ตวั ช้วี ดั 1.3 คาอธิบายรายวชิ า 1.4 โครงสร้างของหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1.5 การวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรียนรู้ 1.6 แผนการเรียนรู้ 2. ศกึ ษาแนวการจดั การเรยี นร้ขู องกรมวิชาการ 2.1 ศึกษารายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้กบั ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) 2.2 วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั กบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.3 นากิจกรรมในแนวการจัดการเรยี นรมู้ าพิจารณาประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. ขั้นการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เป็นข้ันที่สาคัญที่ผู้เขียนต้องวางแผนอย่างรอบคอบ โดยกาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม กาหนดเน้ือหาให้เหมาะสมกับเวลา กาหนดกิจกรรมการเรียน การสอน กาหนดสื่อและการวัดผลที่สอดคลอ้ งกบั จดุ เน้นขอหลกั สตู ร สรุปได้ว่า การทาแผนการจัดการเรียนรู้ต้องดาเนินการเป็นข้ันตอน คือ การศึกษาหลักสูตร และเอกสารที่เก่ียวข้อง วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เลือก รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กาหนดการวัดผลและประเมนิ ผล เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ ตามทว่ี างแผนไว้ และตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือผู้สอนจะได้แผนการจัดการ เรียนรูท้ ม่ี คี ณุ ภาพ ประโยชน์ของแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2542 : 134) ได้สรุปประโยชน์ของ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ว่า ถ้าครูได้จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และใช้แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจัดทาขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นาข้อบกพร่องมาปรับปรุงให้ สมบูรณ์ยิ่งข้ึนเพ่ือนาไปใช้สอนในคร้ังต่อไป แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ ดงั น้ี 5.1 ครรู วู้ ตั ถุประสงค์การสอน 5.2 ครูจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนดว้ ยความมน่ั ใจ 5.3 ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดเ้ หมาะสมกับวยั ของนักเรยี น 5.4 ครจู ดั กจิ กรรมการเรียนการสอนอยา่ งมคี ณุ ภาพตรงตามเจตนาหลักสูตร 5.5 ถ้าครูประจาวิชาไม่ได้สอน ผู้ที่สอนแทนสามารถสอนแทนได้ตามจุดประสงค์ ทก่ี าหนด 5.6 ขยายรายละเอียดจากแผนการสอนระยะยาว ช่วยในการประมาณระยะเวลา ในแต่ละหน่วยการเรียนได้ 5.7 นักเรียนจะได้รับผลการเรียนรู้อย่างเต็มที่จากครูผู้สอนท่ีได้มีการเตรียมตัวมา เปน็ อย่างดี 5.8 แผนการจัดการเรียนรู้ช่วยท้ังครูท่ีมีประสบการณ์มากให้สอนได้ดีย่ิงข้ึน เพราะ สถานการณก์ ารเรยี นและตวั ของผู้เรียนย่อมเปลย่ี นแปลงไปทุกปี และช่วยใหค้ รูผูม้ ปี ระสบการณ์น้อย หายประหมา่ ช่วยให้บคุ ลกิ และสุขภาพจิตดีขึ้น ทัศนยี ์ ศุภเมธี (2542 : 131-132) ได้กลา่ วถึงประโยชน์ของ แผนการจัดการเรียนรู้ ไว้ว่าทาให้การสอนได้ครอบคลุมเน้ือหาวิชาในหลักสูตร เม่ือจัดกิจกรรมตาม แผนการจัดการเรียนรู้ ก็จะสอนได้ครบตามหลักสตู ร 1. อานวยความสะดวกใหแ้ ก่ครใู นการเตรยี มการสอนแต่ละคร้ัง
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) 2. ทาให้การเรียนการสอนในโรงเรียนท่ีมีห้องเรียนในระดับช้ันเดียวกัน หรือ กลุ่มโรงเรยี นเดียวกันทาการสอนเหมือนกนั นักเรียนเรียนรู้เหมือนกัน 3. ช่วยครูในการช่วยเหลือเด็กที่ขาดเรียนไม่ให้ได้เรียนครบในแต่ละสัปดาห์และถ้าขาด เนือ้ หาใดจะได้จดั การสอนให้ครบได้ 4. สะดวกในการวัดและประเมินผล สามารถทาได้พรอ้ มกนั ใชข้ อ้ สอบเดียวกันได้ 5. เป็นแนวทางให้ครจู ดั การสอนและจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนไดส้ ะดวก รูปแบบของแผนการจดั การเรยี นรู้ มนี ักการศึกษาไดก้ ลา่ วถึงรปู แบบของแผนการจดั การเรยี นร้ไู ว้ดังน้ี สุวทิ ย์ มลู คา และคณะ (2549) กล่าวถึงรูปแบบของแผนการจดั การเรียนร้ดู ังน้ี แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีนยิ มใชก้ ันมี 3 รูปแบบใหญๆ่ คือ 1. แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรรยาย เขียนโดยใช้ประเด็นทั้ง 10 ประเด็น มากากับ แต่การ ลาดับกิจกรรมการเรียนการสอนจะเขียนเป็นเชิงบรรยายกิจกรรมที่ครูจัดเตรียมไว้ โดยไม่ระบุว่า นักเรยี นทาอะไร
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี.............. เร่อื ง...........................................ระยะเวลา..........................................คาบ 1. สาระสาคญั ......................................................................................................................................... 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้.ู ........................................................................................................................ 3. จดุ ประสงคป์ ลายทาง......................................................................................................................... 4. จุดประสงค์นาทาง.......................................................................................................................... .... 4.1 ......................................................................................................... ................................. 4.2 ......................................................................................................................... .................. 4.3 .............................................................................................................. ............................ 5. เนอ้ื หาสาระ........................................................................................................................................ 6. สือ่ /อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน............................................................................................................ 7. กจิ กรรมการเรยี นการสอน.................................................................................................................. 8. การวัดและประเมนิ ผล........................................................................................................................ 9. กจิ กรรมเสนอแนะ.............................................................................................................................. 10. บนั ทึกผลหลังสอน............................................................................................................................ 10.1 ผลการสอน................................................................................................................. ..... 10.2 ปญั หา/อุปสรรค............................................................................................................... 10.3 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ........................................................................................... ลงชือ่ ............................................ผสู้ อน ................................................ 2. แผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง เขียนโดยใช้ประเด็นสาคัญที่เป็นองค์ประกอบของ แผนการจัดการเรียนรู้มากากับ และบรรจุองค์ประกอบสาคัญเหล่าน้ันไปตามตารางเกือบท้ังหมดดัง ตัวอย่าง การเขียนแผนการจดั การเรียนรูแ้ บบตาราง จุดประสงค์ เนอ้ื หา กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ กระบวนการ การวดั ประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้................. ................ ................ .................... ...................... .............................. จุดประสงคป์ ลายทาง................. ................ ................ .................... ...................... .............................. จุดประสงคน์ าทาง...................... ................ ................ .................... ...................... ..............................
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) 3. แผนการจัดการเรียนรู้แบบพิสดาร เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ทีม่ ีรายละเอียดมากขึ้น การ ลาดับกิจกรรมการเรียนการสอน แยกเป็นกิจกรรมที่ครูปฏิบัติและสิ่งที่นักเรียนปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้อง กัน ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่.ี ............. เรอ่ื ง...........................................ระยะเวลา..........................................คาบ 1. สาระสาคญั ......................................................................................................................................... 2. จุดประสงค์การเรียนร.ู้ ........................................................................................................................ 3. จดุ ประสงคป์ ลายทาง......................................................................................................... ................ 4. จดุ ประสงคน์ าทาง.............................................................................................................................. 4.1 ......................................................................................................................... .................. 4.2 ........................................................................................................................................... 4.3 ......................................................................................................................... ................. ขัน้ ตอนจุดประสงคน์ าทาง กิจกรรมการเรยี นการสอน วิธวี ัดระหว่างเรียน ครู นกั เรยี น 5. เนื้อหาสาระ........................................................................................................................................ 6. ส่ือ/อุปกรณ์การเรยี นการสอน............................................................................................................ 7. กจิ กรรมการเรียนการสอน.................................................................................................................. 8. การวัดและประเมินผล....................................................................................................................... 9. กิจกรรมเสนอแนะ............................................................................................................... .............. 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน.............................................................................................................. ............. 10.1 ผลการสอน............................................................................................... ...................... 10.2 ปญั หา/อุปสรรค......................................................................................... .................... 10.3 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข .................................................................. ........................ ลงช่อื ............................................ผ้สู อน ........................................... วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2555) ได้สรุปรูปแบบของแผนการเรียนรู้ไม่มีรูปแบบตายตัวข้ึนอยู่กับ หน่วยงานหรือสถานศึกษาแต่ละแห่งจะกาหนด ลักษณะส่วนใหญ่ของแผนการสอนจะคล้ายคลึงกัน ซ่งึ พอสรุปได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) 1. แบบเรียงหัวข้อ รูปแบบน้ีจะเรียงตามลาดับก่อนหลัง โดยไมต่ อ้ งตีตารางรูปแบบนีใ้ ห้ความ สะดวกในการเขียน เพราะไม่ต้องตีตาราง แตม่ ีส่วนเสียคือยากตอ่ การดใู ห้สัมพันธ์กนั ในแต่ละหัวข้อ 2. แผนการเรียนรู้แบบบรรยายหรือเรียงหัวข้อ เป็นรูปแบบที่เขียนลาดับกิจกรรมการเรียน การสอนเป็นเชิงบรรยายกิจกรรมท่ีครูจดั เตรียมไว้โดยไมร่ ะบุชัดเจนว่านักเรียนทาอะไร 3. แบบก่งึ ตาราง รปู แบบนี้จะเขยี นเป็นช่อง ๆ ตามหัวข้อทก่ี าหนด แม้ว่าต้องใช้เวลาในการตี ตารางแตก่ ส็ ะดวกตอ่ การอ่าน ทาให้เห็นความสมั พนั ธ์ของแต่ละหัวขอ้ อยา่ งชดั เจน จากรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้สรุปได้ว่า รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ไม่มี รปู แบบตายตัว ผู้สอนสามารถเลอื กได้ตามความเหมาะสม ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ทด่ี ี มีนกั การศกึ ษาได้กล่าวถงึ ลักษณะของแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ดีดงั น้ี สุวิทย์ มูลคา และคณะ (2549) ไดเ้ สนอแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ีดคี วรมีลักษณะ ดังนี้ 1. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ไว้ชัดเจน (ในการสอนเร่ืองนั้นต้องการให้ ผู้เรียนเกิด คณุ สมบัตอิ ะไร หรอื ดา้ นใด) 2. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้อย่างชัดเจน และนาไปสู่ผลการเรียนรู้ตาม จุดประสงค์ไดจ้ ริง (ระบุบทบาทครู ผสู้ อน และผูเ้ รยี นไว้อย่างชดั เจน จะตอ้ งทาอะไรจงึ จะทาให้ การเรยี นการสอนบรรลผุ ล) 3. กาหนดส่ืออปุ กรณ์ หรือแหล่งเรียนรู้ไว้ชัดเจน (จะใช้ส่ือ อุปกรณ์หรือแหล่งเรียนรู้อะไรมา ชว่ ยบ้าง และจะตอ้ งใชอ้ ยา่ งไร) 4. กาหนดวิธีวัดประเมินไว้อย่างชัดเจน (จะใช้วิธีการและเคร่ืองมือวัดประเมินผลใด เพื่อให้ บรรลุจุดประสงคก์ ารเรียนร้นู ้ัน) 5. ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ (ในกรณีท่ีมีปัญหาและนาไปใช้ หรือไม่สามารถกาหนดการ จดั การเรียนรตู้ ามแผนน้ันได้ ก็สามารถปรับเปล่ยี นเป็นอย่างอื่นได้โดยไม่กระทบต่อการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้) 6. มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ และสอดคล้องกับสภาพความ เปน็ จรงิ ทีผ่ ู้เรยี นดารงชีวติ อยู่ 7. แปลความได้ตรงกัน แผนการจัดการเรียนรู้ที่เขียนข้ึนจะต้องส่ือความหมายได้ตรงกัน เขียนให้อ่านเข้าใจง่าย กรณีการสอนแทนหรือเผยแพร่ ผู้นาไปใช้สามารถเข้าใจและใช้ได้ตรงตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องผ้เู ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ 8. มีการบูรณาการ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีดีจะสะท้อนให้เห็นการบูรณาการแบบองค์รวม ของเนอ้ื หาสาระความรู้ และวิธีการจัดการเรยี นร้เู ขา้ ด้วยกัน 9. มีการเชื่อมโยงความรู้ไปใช้อย่างต่อเน่ือง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นาความรู้และ ประสบการณ์เดิมมาเช่อื มโยงกับความรู้ และประสบการณ์ใหม่ และนาไปใชก้ ับชีวิตจรงิ ในเร่ืองต่อไป
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขุน (16/07/2022) สมนกึ ภัททิยธนี (2553) ไดส้ รุปลกั ษณะทด่ี ขี องแผนการจดั การเรยี นรู้ ดงั น้ี 1. เนื้อหาตอ้ งเขียนเปน็ รายคาบ หรือรายชั่วโมงตารางสอน โดยเขียนให้สอดคล้องกบั ช่ือเรอ่ื ง ให้อยู่ในโครงการสอน และเขียนเฉพาะเนื้อหาสาระสาคัญพอสงั เขป (ไม่ควรบนั ทึกแผนการสอนอย่าง ละเอยี ดมาก ๆ เพราะจะทาให้เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ย) 2. ความคิดรวบยอด (Concept) หรือหลักการสาคัญ ต้องเขียนให้ตรงกับเน้ือหาที่จะสอน ส่วนน้ีถือว่าเป็นหัวใจของเร่ืองครูต้องทาความเข้าใจในเนื้อหาที่จะสอนจนสามารถเขียนความคิดรวบ ยอดได้อยา่ งมคี ุณภาพ 3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องเขียนให้สอดคล้อง กลมกลนื กับความคิดรวบยอดมิใช่เขียน ตามอาเภอใจไม่ใช่เขียนสอดคล้องเฉพาะเนื้อหาท่ีจะสอนเท่าน้ันเพราะจะได้เฉพาะ พฤติกรรมที่ เก่ยี วกบั ความร้คู วามจา สมองหรอื การพฒั นาของนกั เรยี นจะไม่ได้รับการพัฒนาเท่าทค่ี วร 4. กิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ 5. ส่ือท่ีใช้ควรเลือกให้สอดคล้องกบั เน้ือหา ส่ือดังกล่าวต้องช่วยให้นักเรยี นเกิดความเข้าใจใน หลกั การได้งา่ ย 6. วดั ผลโดยคานงึ ถงึ เนื้อหา ความคิดรวบยอด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและช่วงท่ีทาการวัด (ก่อนเรยี น ระหวา่ งเรยี น หลังเรียน) เพอื่ ตรวจสอบวา่ การสอนของครูบรรลุจดุ ม่งุ หมายท่ีต้ังไวห้ รอื ไม่ วมิ ลรตั น์ สุนทรโรจน์ (2555) ได้ระบุลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ีดีดังนี้ 1. สอดคลอ้ งกับหลกั สูตร และแนวการจดั การเรยี นรู้ของกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. นาไปใชไ้ ดจ้ ริงและมีประสิทธภิ าพ 3. เขียนอยา่ งถกู ต้องตามหลกั วิชา เหมาะสมกับผ้เู รยี นและเวลาทกี่ าหนด 4. มคี วามกระจา่ งชดั เจน ทาให้ผู้อา่ นเข้าใจง่ายและเข้าใจตรงกัน 5. มรี ายละเอียดมากพอท่ีทาใหผ้ ูอ้ า่ นสามารถนาไปใชจ้ ัดการเรียนร้ไู ด้ สรุปได้ว่าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีควรมี สอดคล้องกับหลักสูตร กาหนดองค์ประกอบของ แผนการจัดการเรียนรู้แต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน กิจกรรมการเรียนรู้เลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลท่ีสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้สามารถอ่าน แลว้ แปลความได้ตรงกันและนาไปใช้จดั การเรียนรไู้ ด การประเมินคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ มีนกั การศกึ ษาไดก้ ล่าวถึง การประเมินคุณภาพของแผนการจดั การเรียนร้ดู งั น้ี วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) ได้ระบุถึงการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ว่าการประเมิน แผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือตรวจสอบความถกู ตอ้ งเหมาะสมครอบคลุม เพ่ือการปรบั ปรงุ แก้ไขแผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น การประเมินแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจจะ ดาเนนิ การได้ 3 ระยะ ดงั น้ี
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) 1. การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้นาไปใช้เม่ือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เสร็จแล้ว ก่อน นาไปใช้ควรตรวจสอบก่อนว่า แผนการจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ และเป็นแผนการ จดั การเรียนรทู้ ่ีมคี วามครอบคลุมถูกต้องชัดเจนเพียงใด การประเมินประกอบดว้ ย 1.1 การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ครูผู้สอนสามารถตรวจสอบได้ว่าแผนการจัดการ เรียนรู้ที่เขียนขึ้นตามขั้นตอนและกระบวนการต่างๆ จัดเป็นแผนการจัดการเรียนรู้หรือไม่เพียงใด ได้ จากการวิเคราะหก์ ิจกรรมการเรยี นการสอน 1.2 การประเมินองค์ประกอบต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้เป็นการตรวจสอบ องค์ประกอบต่างๆ ในแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ีไดจ้ ัดทาข้นึ มีความถูกต้อง ครอบคลมุ ชดั เจน และสัมพนั ธก์ นั หรอื ไม่ เพียงใด 2. การประเมินผลการสอนระหว่างนาไปใชเ้ ปน็ การตรวจสอบว่าการปฏบิ ัติตาม แผนการจัดการเรยี นร้โู ดยการสงั เกตและบันทึกปญั หา หรือข้อบกพร่องต่าง ๆ ทท่ี าให้การเรียน ไม่เป็นไปตามทว่ี างแผน หรือไมป่ ระสบผลสาเร็จและประเดน็ ทีค่ วรปรับปรุงแกไ้ ขต่อไป ครูผ้สู อนควร ตรวจสอบสงั เกต และประเมนิ ผลการสอนตามหวั ข้อทก่ี าหนดไว้ลงในแบบบันทึกหลังสอน 3. การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้เมื่อส้ินสุดการใช้เป็นการประเมินภาพรวม เม่ือสอนจบ แต่ละหน่วยหรือบท และเม่ือสอนจบท้ังรายวิชาเพ่อื ให้ได้ข้อสรุปวา่ เมือ่ จัดการเรียนการสอนตามแผน ท่ีจัดไว้แล้วน้ัน บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนเป็น อย่างไร ผลการทดสอบหลังเรียนเป็นอย่างไร เม่ือเทียบกับการทดสอบก่อนเรียน ซึ่งควรมีการประเมิน เป็น 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 3.1 ประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รยี น โดยการทดสอบหลงั เรียนแล้วนาคะแนน ไปวิเคราะห์เปรียบเทียบกับการทดสอบก่อนเรียน เพื่อทราบความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน เพ่ือชี้วดั วา่ แผนการจัดการเรียนรทู้ จ่ี ัดทาขึน้ นน้ั ใช้ได้ผลดีเพยี งใด 3.2 ประเมินจากการนาผลการบันทึกระหว่างการใช้แผนการจัดการเรียนรู้มาสรุปรวม เมอื่ สอนจบแตล่ ะหน่วยหรือแต่ละบทและสรปุ รวบรวมผลหลังสอนไว้ท้ังรายวชิ าซ่ึงจะเปน็ ข้อมลู สาคัญ ในการพจิ ารณาหาทางปรับปรุง แก้ไขแผนการจัดการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมย่ิงขึ้น จากท่ีกล่าวมาพอสรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ควรมีองค์ประกอบที่สาคัญได้แก่หัวเร่ือง ของแผนการจดั การเรยี นรู้สาระสาคญั จุดประสงค์การเรียนรู้เน้ือหา กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การวัดผลและประเมินผล ภาคผนวกหรือเอกสารประกอบท้ายแผน ความคิดเห็นของผู้ตรวจ ผลการ ใช้แผนการจัดการเรยี นรู้หรอื ผลการสอน
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตรต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 2551. กรงุ เทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์ เพอื่ การเกษตรแห่งประเทศไทย. ชนาธปิ พรกลุ . (2555). การออกแบบการสอน การบูรณาการการอา่ น การคิดวเิ คราะห์ และการเขียน. พิมพ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ชวลติ ชกู าแพง. (2551). การพฒั นาหลกั สตู ร. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ชวลติ ชกู าแพง. (2553). การวจิ ยั หลักสูตรและการสอน. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม. ณฐั วฒุ ิ กิจร่งุ เรอื ง. (2545). ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ของครูมอื อาชพี . กรงุ เทพฯ : เยลโลก่ ารพมิ พ์. ถวลั ย์ มาศจรัส. (2546). สรรพศาสตร์ของการเขยี น ในการจดั ทานวตั กรรมการศกึ ษาเพื่อ พฒั นาการ เรียนร้ผู ู้เรียน และการพฒั นาผลงานทางวชิ าการของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์ธารอกั ษร. ทวศี ักด์ิ ไชยมาโย. (2537). คมู่ อื ปฏิบัตกิ ารจัดทาแผนการสอน. นครพนม : สวณั พา. ทัศนีย์ ศภุ เมธี. (2542). การสอนภาษาไทย. กรงุ เทพ ฯ : สถาบันราชภัฏธนบรุ .ี บุญชม ศรสี ะอาด. (2553). การพฒั นาการสอน. กรุงเทพฯ : สุวรี ยาสาสน์ . วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน์. (2555). การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ แบบ Backward Design. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วิโรจน์ มังคละมณี. (2546). การจดั กิจกรรมกฬี าในชุมชน, กรงุ เทพฯ : ประสานมติ ร. วัฒนาพร ระงบั ทุกข์. (2541). การจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง. กรุงเทพฯ : เลฟิ แอนด์เลฟิ เพรส. วฒั นาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง. พมิ พ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : แอลทีเพรส. สมนึก ภทั ทิยธนี. (2553). การวดั ผลการศึกษา. พิมพ์ครงั้ ท่ี 7. กาฬสินธ์ุ : ประสานการพิมพ์. สพุ ล วังสนิ ธ์ุ. (2543). “การจดั กจิกรรมการเรียนูรูส้ ่โครงงาน”. วารสารวิชาการ. 3(9) (กนั ยายน 2543). : 11-15. สวุ ิทย์ มลู คา และคณะ. (2549). การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่เี นน้ การคิด. พิมพ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. สาลี รกั สทุ ธี. (2553). คู่มอื การจัดทาสื่อนวตั กรรมและแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบสือ่ นวัตกรรม. นนทบรุ ี : ทรัพย์การพมิ พ์. สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ. (2542). พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พทุ ธศักราช 2542.กรุงเทพฯ : โรงพิมพครุ ุสภาลาดพราว.
เวบ็ ไซต์การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ (16/07/2022) อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2546). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. อาภรณ์ ใจเทย่ี ง. (2553). วธิ จี ัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคดิ . กรงุ เทพ : ภาพพิมพ์.
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: