Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Bอช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ

Bอช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ

Published by anongnard.fern.2531, 2020-06-11 05:02:51

Description: Bอช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ

Search

Read the Text Version

43 บทที่ 3 การจดั การความเส่ียง สาระการเรยี นรู เปนการวิเคราะหศักยภาพ และการจัดการเก่ียวกับผลการดําเนินงานที่ผานมาจนถึงปจจุบัน โดย มงุ เนนถึงยอดการขายสนิ คา และบริหารผลกําไร สภาพแวดลอ มภายใน ภายนอก จดุ ออ น จดุ แข็ง โอกาส และ อุปสรรค มสี ่งิ ใดบางท่ีทําใหเกิดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ จะไดแนวทางในการจัดการแกไขความ เสี่ยงเหลา น้นั เพอ่ื พฒั นาอาชพี ใหม นั่ คง ตวั ช้วี ัด 1. วเิ คราะหศ กั ยภาพ และจดั การเกย่ี วกับผลการดําเนินการในอดตี ที่ผานมา 2 - 3 ป จนถึงปจจุบนั 2. อธิบายวธิ แี กปญ หาความเสย่ี งเพอื่ ความม่นั คงของอาชีพ 3. สามารถวางแผนปฏิบตั กิ าร ขอบขา ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 ความหมายของความเส่ยี ง และการจดั การความเส่ยี ง เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพ และการจดั การความเสยี่ งกับผลการดําเนินงาน เร่อื งที่ 3 การแกป ญหาความเส่ยี ง เรือ่ งท่ี 4 การวางแผนปฏบิ ตั กิ ารจัดการความเส่ียง

44 เรอื่ งที่ 1 ความหมายของความเสยี่ ง และการจดั การความเส่ยี ง ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณหรือการกระทําใด ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นภายในสถานการณที่ไมแนนอน และสงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลว หรือการลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายและ วัตถุประสงค เชน การลงทุนใดท่ีมีความไมแนนอนในอัตราผลตอบแทนสูงความเสี่ยงก็จะสูงตาม ดังนั้น จงึ อาจกลาวไดว า ความเสย่ี ง คอื อตั ราของความไมแนน อน การจัดการความเส่ียง หมายถึง กระบวนการในการวิเคราะห ประเมิน ดูแล ตรวจสอบ และควบคุม ความเส่ียงที่สัมพันธกับกิจกรรมหนาท่ีและกระบวนการทํางาน เพื่อใหงานลดความเสียหายจากความเส่ยี ง มากท่ีสุด อนั เน่ืองมาจากภยั ทีต่ อ งเผชิญในชว งเวลาใดเวลาหน่งึ หรือเรียกวา อุบตั ิภัยทีย่ ากจะหยั่งรูวาจะเกิดขึ้น เม่ือใด ความสาํ คญั ของความเสย่ี ง ในการบริหารจัดการทั่วไป จะตองดําเนินงานตามวัตถุประสงคและเปาหมายโดยเฉพาะที่จะ เกยี่ วของกับการควบคมุ เพื่อใหไดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายน้ัน สิ่งท่ีตองเนนคือ การตรวจสอบภายใน การ ควบคมุ ภายใน การบริหารจัดการความเสีย่ ง ผลกระทบจากความเสี่ยง ผลของความเสย่ี งอาจสง ผลกระทบถึงองคก ารได ดังน้ี 1. ความเส่ียงตอการดาํ เนนิ การทข่ี าดทุน ผลการดาํ เนินงานท่ีขาดทนุ ขององคการแสวงหากาํ ไรท่ีเกิด จากการตัดสินใจผิดพลาดของผูบริหาร หรือเกิดจากภัยธรรมชาติที่ไมคาดฝน อาจนําไปสูความลมสลาย ขององคการได สวนองคก ารทางการศึกษาถึงแมไ มไ ดเปนองคการแสวงหาผลกําไร หากผูบริหารตัดสินใจ ผดิ พลาดยอมสง ผลถงึ ความชะงักงันหรอื ลม เหลวไดเ ชน กัน 2. ความเสี่ยงตอความลมเหลวของนโยบายหรือโครงการ หากผิดพลาดในนโยบาย ยอมสงผล ตอทิศทางการพัฒนา หากเปน ระดบั โครงการก็จะสง ผลถึงความสญู เปลาของโครงการ จากการไมไดศึกษา ความเปนไปได ไมไดคํานึงจุดคุมทุน หรือมีการทุจริตคอรัปชั่น โดยเฉพาะโครงการของภาครัฐที่ประสบ ความลมเหลว 3. ความเส่ียงตอความเช่ือถือไววางใจ ความสําเร็จหรือความลมเหลวของผูบริหาร จะส่ังสมถึง กระแสนิยมและความไวว างใจของสาธารณชน ทําไมจึงตอ งปองกันความเสยี่ ง ทุกคนเห็นความสาํ คญั ของการปอ งกันความเสีย่ งโดยการลดความเสี่ยงอยูแ ลว เชน ในชีวิตจริงการ ทําประกันภัยรถยนต การทําประกันชีวิต หรือประกันสุขภาพ เหลานี้เปนการปองกันความเสี่ยงสวน บคุ คล สวนการปอ งกันความเสีย่ งจากองคก าร เพ่ือลดความเสยี่ งในองคก ารนั่นเอง จึงพอสรุปได ดงั นี้ 1. เพ่ือใหผ ลดาํ เนนิ งานของหนวยงานเปน ไปตามเปาหมาย และวตั ถุประสงคทีว่ างไว 2. เพื่อสงเสริมความมั่นคง และลดความผันผวนของรายได อันจะทําใหองคการเติบโตอยางมี เสถียรภาพ

45 3. ลดโอกาสท่ีจะทําใหเกิดการสูญเสียจากการดาํ เนนิ งาน 4. เพิม่ คุณคาใหก ับบุคลากร และผูเกีย่ วขอ ง 5. เพื่อใหเ กิดการบรู ณาการกบั ระบบงานอ่ืนไดดีกวา เดิม เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพ และการจดั การความเสย่ี งกบั ผลการดาํ เนนิ งาน ผูประกอบการตองทาํ การศึกษาวาธุรกิจของตนเปนอยางไร มีปจจัยอะไรที่มีผลกระทบตอความ เสย่ี ง การจําแนกความเสย่ี งเพอื่ ประโยชนใ นการบรหิ ารจัดการ เชน ความเส่ียงทั่วไป และความเสี่ยงเฉพาะ พ้ืนที่ ในแตละประเภทมีรายละเอียดแตกตางกัน บางอยางสามารถปองกันได การศึกษาความเส่ียงเฉพาะ พื้นที่ในสถานศกึ ษา นอกจากจะศึกษาปจจัยภายในท่ีมากระทบกับความเส่ียงแลว ยังตองพิจารณาถึงความ เสี่ยงท่ีอาจจะเกดิ จากการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย การเงนิ การบริหารจัดการทรพั ยส ิน การพสั ดคุ รภุ ัณฑ และ นวัตกรรมเทคโนโลยี การเขา ใจระบบและตวั แบบ เพอ่ื นํามาจัดทาํ การบริหารความเส่ียง การศึกษาวงจรความเสี่ยงทําให ผูบรหิ ารไดเ ห็นภาพรวมของความเสีย่ งท้ังหมด เพื่อประโยชนในการวางมาตรฐานระบบการควบคุมภายใน การคนหา การระบุ การวิเคราะหความเส่ยี ง และการจัดลาํ ดับความเส่ยี ง วงจรความเสย่ี ง ท่ฝี า ยบรหิ ารจัดการ ความเสีย่ งจะตอ งศกึ ษา เพอ่ื นํามาบริหารวามีวิธใี ดบา ง เชน ใชการถา ยโอนความเส่ียงหรือการควบคุมภายใน เปน ตน ในการวิเคราะหศักยภาพ และการจัดการความเสีย่ งกบั ผลการดําเนินงาน ประกอบดวยปจจัยสําคัญ ดงั ตอไปนี้ 1. สินคา หมายถึง สิ่งที่มีตัวตน เชน เส้ือ รองเทา หรือไมมีตัวตน เชน แกส ซื้อขายได และสราง ความพึงพอใจใหก บั ผบู รโิ ภคได 2. ประเภทสนิ คา แบงตามลกั ษณะการซอ้ื หรือการบรโิ ภค แบง ไดเปน 2 ประเภท คอื 1) สินคา อุปโภค บรโิ ภค หมายถงึ สนิ คาหรอื บรกิ ารทผี่ ซู ื้อ ซ้อื ไปเพือ่ ใชเ อง หรือ เพ่อื ใชใ นครอบครัว สินคาอุปโภค บรโิ ภค แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื (1) สนิ คา สะดวกซ้ือ เปนสินคา ทีผ่ ซู ื้อหาซ้ือไดงาย ซือ้ บอ ยครงั้ ใชเวลาในการซ้อื นอย ราคาสินคา จะถูก การซอื้ มักจะมีการระบยุ ี่หอ เพราะผซู ือ้ คุนเคยกับสินคา น้นั เชน ยาสฟี น ยาสระผม สบู ผงซกั ฟอก เปน ตน (2) สนิ คาจับจา ยหรอื สนิ คาเลอื กซอ้ื เปนสนิ คา ทผี่ ซู ือ้ เปรียบเทียบคุณภาพ ราคา รูปแบบ สี กอน การตัดสนิ ใจจะเดนิ ดูหลาย ๆ รา นกอ น เชน เส้ือผา รองเทา เคร่อื งประดับ เปนตน (3) สินคาพิเศษ เปนสินคาที่มีคุณสมบัติพิเศษ ราคาแพง เชน รถยนต บาน ผูซื้อจะคัดเลือก อยางละเอยี ด เปรียบเทยี บราคาสนิ คา และคุณภาพของสนิ คา 2) สินคาอุตสาหกรรม หมายถึง สินคาท่ีซื้อมาเพ่ือนํามาใชผลิตเปนสินคาอ่ืนตอไป หรือเพอ่ื ใชใ น การดาํ เนนิ งานของธรุ กจิ เชน วัตถุดบิ อปุ กรณเ ครอ่ื งจกั ร เคร่อื งมอื ส่งิ กอ สราง เปนตน

46 3. คา ใชจ ายตา ง ๆ หมายถึง ตนทุนสวนทหี่ ักออกจากรายไดใ นรอบระยะเวลาทดี่ าํ เนินการงานหนง่ึ ๆ คา ใชจ า ยสามารถแบงไดเ ปน 3 ประเภท ดงั นี้ 1) ตนทุนขาย หมายถึง ตนทุนของสินคาท่ีขายหรือบริการท่ีให กลาวคือในกิจการซ้ือเพ่ือ ขาย ตนทนุ ของสนิ คา ทข่ี ายจะรวมราคาซอื้ และคาใชจ ายอืน่ ๆ ทจ่ี ําเปน เพ่ือใหสินคาอยูในสภาพพรอมท่ีจะ ขาย สว นในกจิ การผลิตเพื่อขาย ตนทุนของสินคาท่ีขายคือ ตนทุนการผลิตของสินคาน้ัน ซ่ึงประกอบดวย คา วัตถดุ บิ คาแรงงานและโสหยุ การผลติ 2) คาใชจ า ยในการดําเนนิ งาน หมายถงึ คา ใชจายทเี่ กดิ ขึ้นอนั เนอ่ื งมาจากการขายสนิ คา หรอื บรกิ าร และคาใชจายทเี่ กดิ ขน้ึ เนอื่ งจากการบรหิ ารกิจการอนั เปน สว นรวมของการดาํ เนนิ งาน 3) คาใชจายอื่น ๆ หมายถึง คาใชจา ยนอกเหนอื จากทจี่ ดั เขา เปนตน ทนุ ขาย และคาใชจายใน การดาํ เนินงาน เชน ดอกเบย้ี จายภาษเี งนิ ได คา ใชจ า ยสําหรับธรุ กิจขายสินคา จะประกอบดวย ตนทุนขาย คาใชจายในการดําเนินงาน และคาใชจายอื่น ๆ สําหรับธุรกิจบริการคาใชจายจะประกอบไปดวยคาใชจายในการดําเนินงานและ คาใชจ า ยอื่นเทา นนั้ 4. ผลกาํ ไร คือผลตอบแทนท่ีกจิ การไดรบั จากการขายสนิ คาหรือบริการ จากการประกอบธุรกจิ หรอื เกดิ จากการดาํ เนินงาน รวมทัง้ กจิ กรรมอ่ืนซ่ึงเกยี่ วเน่อื งกบั การประกอบธุรกิจหรอื การดําเนนิ งาน 5. คแู ขง ขนั การมีคแู ขง ขนั ทางธุรกจิ เปรยี บเสมือนมียาชูกําลังท่ีจะทําใหกิจการ และพนักงานขายตาง ๆ มีความเขมแขง็ และอดทนทีจ่ ะดําเนนิ การตอ ไปอยา งมีประสิทธิภาพ มีความกระตือรือรน สรางสรรค และ พัฒนาตนเองใหม ีคุณภาพอยางตอ เน่ือง ถึงจะแขงขันกับคแู ขงขันในตลาดธรุ กจิ ไดอยา งแทจรงิ คูแขงขันหมายถึง บุคคล กลุมบุคคลหรือสถาบันที่ดําเนินกิจการดานธุรกิจอยางเดียวกัน หรือใกลเคียงกัน ซ่ึงสามารถใชแทนกันได โดยตองแขงขันกันดานการขาย การผลิตทั้งปริมาณและ คุณภาพ เพ่ือเปนกิจการที่ยึดครองตลาดใหมากที่สุด นอกจากน้ีการแขงขันของกิจกรรมทางธุรกิจยังมี ความสาํ คัญตอ ประชาชนท้ังระบบเศรษฐกจิ ดงั น้ี 1) มีสนิ คาใหเลือกหลากหลายมากขน้ึ เมื่อธุรกจิ ตางแขงขนั กนั มากกจ็ ะตองมีสินคา และบรกิ าร เพ่มิ มากขึ้น เปน ผลดีแกป ระชาชนท่จี ะมีโอกาสเลอื กใชสนิ คาไดต ามความตองการ 2) สินคามีคุณภาพสูงขึ้น การแขงขันเพื่อครองสวนแบงของตลาดใหไดมากที่สุด และนานที่สุด สนิ คา จะตอ งมคี ณุ ภาพมากทีส่ ุดเพราะเปนแรงจงู ใจสาํ คญั ของลกู คา 3) ราคาสนิ คาถกู ลง สินคาชนดิ ใดก็ตามเม่อื มีจาํ นวนมากโอกาสในการเลอื กมสี ูง คูแขงขัน ธุรกิจจะใชกลยุทธจูงใจลูกคาดวยการลดราคา หรือใหสิทธิพิเศษตาง ๆ เพราะปริมาณสินคาที่มีอยู ในทองตลาดคอนขางมาก 4) มีการพัฒนาสินคาแปลกใหมขึ้นเรื่อย ๆ กิจการตาง ๆ ที่ดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ ที่มีคูแขงขันมากจะตองคิดคนวิธีการผลิตที่จะทําใหสินคามีคุณภาพสูงขึ้น รวมทั้งคิดคนประดิษฐ ปรับปรุงสนิ คาอยูต ลอดเวลาเพือ่ ใหเปน ท่ีตองการของผบู รโิ ภค

47 ส่ิงท่ีควรรูเกีย่ วกบั คแู ขงขนั พนักงานขายหากมีขอมูลที่เก่ียวกับคูแขงขันมากเทาใด ความไดเปรียบในการขายสินคา ก็ยิ่งมีมากขนึ้ เทา นัน้ การมงุ ม่ันแตจะขายสินคาของตนเองเพียงอยางเดียวโดยไมพิจารณาสภาพตลาดและ การขายของคูแขงขันจะทําใหเกิดปญหากับการขายของตนเอง ดังนั้นพนักงานขายควรรูขอมูลคูแขงขัน ในดา นตาง ๆ ดังตอ ไปน้ี (1) ขนาดของตลาด พนักงานขายจะตองหาทางทราบใหไดวาคูแขงขันครอบครอง สวนแบงตลาดอยูมากนอ ยเพยี งใด แนวโนม การขายในอนาคตจะเปนลักษณะใด กลมุ ลูกคาท่ีสาํ คัญ ไมวา จะเปน เพศ อายุ อาชีพ และฐานะโดยรวม (2) การจดั จําหนายสินคา แมจ ะเปนสนิ คาชนิดเดียวกัน สินคาแตละชนิดของแตละบริษัท หรือแตละยห่ี อ จะมีวิธกี ารจัดจําหนายสนิ คา ที่แตกตา งกนั (3) วธิ กี ารสง เสริมการขาย การสงเสริมการขายของสินคาตาง ๆ ในปจจุบันมีหลากหลาย วธิ ีและเปนการแขงขันที่เพ่ิมความรุนแรงมากขึ้น ไมวาจะเปนการโฆษณาดวยสื่อมวลชนทุกชนิด การลด แลก แจก แถม สง ช้ินสว นเขา รว มชงิ โชค (4) ลักษณะของผลิตภัณฑ พนักงานขายจะตองรูวาขณะนี้สินคาของตนมีคูแขงขันอยู มากนอ ยเพยี งใด ยี่หอใดบาง สนิ คาของบริษัทใดกําลังครอบครองตลาด มีจุดดี จุดดอยอยางไร อะไรบางที่ เปนจุดไดเปรียบของสินคา ของตนเองกับสนิ คายี่หออน่ื ๆ (5) ประเภทของลูกคา พนักงานขายจะตองรูวาลูกคาของคูแขงขันเปนบุคคลหรือกิจการ ประเภทใด มีอํานาจในการจดั ซอื้ ขนาดไหน ความตองการสินคา จากคูแ ขง จาํ นวนใด ฐานะทางการเงินมัน่ คง หรอื ไม และลูกคา เหลา นัน้ ตองการสินคาท่มี ลี กั ษณะเชน ใดบา ง (6) ขนาดของกิจการ พนักงานขายจําเปนตองรูขอมูลเก่ียวกับกิจการของคูแขงขันวามี ระดบั กาํ ลังความสามารถขนาดไหน เชน ขายเปน กิจการระดับครอบครวั หรอื เปน กิจการขนาดใหญท ี่มกี ําลงั การผลิตสงู รวมท้ังเปนกิจการท่ีมสี าขาครอบคลมุ ไปท่ัวโลกหรอื ไม เพราะจะไดทราบกําลังการแขงขัน เชน เงินทุน แมกจิ การของตนเองจะมีขนาดเลก็ กวาก็อาจจะมผี ลดี (7) ยุทธวิธีการขายของพนักงานขาย พนักงานขายเปนบุคคลที่มีความสําคัญตอกิจการ ทุกแหงเพราะเปนกลไกหนึ่งที่จะทําใหกิจการกาวหนาตอไป ทุกกิจการจึงตองสงเสริมและสนับสนุน ใหพนกั งานขายศึกษาหาความรู ความชํานาญ และใหมีความสามารถแขงขันกับคแู ขง ขันได 6. สวนครองการตลาด หมายถงึ อตั รายอดขายสินคา ตอยอดขายท้ังสิ้นของคูแขงขัน ในการ วเิ คราะหส ว นครองตลาด โดยจะหาสว นครองตลาดที่เกิดขน้ึ แลว นําไปเปรียบเทียบกับอัตราสวนครองตลาด ที่ไดกาํ หนดไว แลว วิเคราะหถ งึ ผลตา งท่ีเกดิ ข้ึนวาเกิดจากสาเหตุอะไรแลวจึงหาวิธแี กไ ขปรบั ปรงุ ตอ ไป 7. สมรรถนะธุรกิจ หมายถงึ ความรู ทกั ษะ และคุณลักษณะที่จําเปนของบุคคลในการทํางาน บรหิ ารธุรกิจใหป ระสบความสาํ เรจ็ มีผลงานไดตามเกณฑห รอื มาตรฐานทก่ี าํ หนดหรือสงู กวา

48 ตัวอยา งสมรรถนะ 1. สมรรถนะสว นบคุ คล ไดแ ก การตดิ ตอ สอ่ื สาร ความมนั่ ใจตนเอง ความคิดสรางสรรค และการสรางนวัตกรรม เปน ตน 2. สมรรถนะของผูจัดการ ไดแก การติดตอสื่อสาร การวางแผน และการบริหารงาน การทาํ งานเปน ทมี ความสามารถเชิงกลยุทธ ความสามารถดานตางประเทศ ความสามารถในการจัดการ ตนเอง เปน ตน 8. สภาพแวดลอมภายใน หมายถึง การศึกษาจุดแข็ง จุดออน กลยุทธและวิธีการของ คูแขง ขัน เพ่อื ใหส ามารถหามาตรการในการตอบสนอง ประกอบดวย จุดแข็ง คือ การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกร สิ่งแวดลอมใดมีศักยภาพ มีคุณภาพ ถือวา เปนจุดแขง็ เชน ผลติ ภณั ฑม คี ุณภาพดี เปนตน จุดออน คือ การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกร ส่ิงแวดลอมใดท่ีมีประสิทธิภาพ และสรางความเสยี หายใหองคก รถือวาเปน จุดออ น เชน บุคลากรขาดความชาํ นาญในการผลิตสินคา เปนตน 9. สภาพแวดลอมภายนอก หมายถึง การศึกษาโอกาสและอุปสรรค ตองมีความรูเก่ียวกับ โครงสรางธุรกิจของตัวองคกรเอง ขอมูลลูกคา ขอมูลคูแขง ขาวสารทางเศรษฐกิจท้ังภายในและภายนอก ประเทศมาเปน ตวั ชว ยในการวเิ คราะหบนพ้ืนฐานของขอ มูลทีเ่ ปน จริง โอกาส คอื การวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายนอกองคกร ส่ิงแวดลอมใดท่ีสงผลดีตอองคกร และเอื้อใหองคก รประสบความสาํ เร็จตามเปาหมายถอื วา เปน โอกาส เชน การทาํ ธรุ กจิ การขนสง ราคาน้ํามัน ที่ต่ําลงถือเปนโอกาสในการทํากําไร เปน ตน อปุ สรรค คอื สิ่งแวดลอมภายนอกองคกรท่ีสงผลเสียหายตอองคกร เชน ในชวงเศรษฐกิจตกตํ่า ผูบริโภคมอี ํานาจการซือ้ ลดลง สงผลใหยอดขายสินคาตาง ๆ ลดลง และภัยน้ําทวมกอใหเกิดความเสียหาย กับผูประกอบการตาง ๆหรือการทําธุรกิจการขนสง ถานํ้ามันข้ึนราคา ถือวาเปนอุปสรรคตอองคกร เพราะจะทําให ผลกําไรลดลง เปน ตน 10. วงจรความเสี่ยง วงจรความเสี่ยง หมายถึง การตัดสินใจของผูบริการทุกระดับจะตองเผชิญกับความเส่ียง การทจี่ ะตองเผชญิ และตอ งเอาชนะความเส่ยี งไดน ้นั ผบู รหิ ารจาํ เปนตอ งรแู ละเขา ใจวงจรความเสี่ยงเพอ่ื จะได นํามาใชในการบรหิ ารจดั การความเสยี่ งตามวตั ถปุ ระสงคข ององคก ร

49 การสรางตนแบบวงจรความเส่ียงจะทําใหผูบริหารไดมองเห็นภาพรวมของความเส่ียง ทง้ั หมด สามารถนาํ มาใชในการวางมาตรฐานระบบควบคุมภายในของผูบริหารหรือของผูตรวจสอบภายใน อีกดวย รวมทั้งการนําผลการปฏิบัติตามตนแบบวงจรความเส่ียงมาวางแผนการตรวจสอบ หรือการวาง แผนการตรวจสอบภายในของผตู รวจสอบไดอีกวิธหี นงึ่ 7 2 3 การตรวจสอบ สํารวจ คนหาและระบุ ความเส่ยี ง ความเสี่ยง ความเสี่ยง 6 1 4 การบรหิ าร ทําความเขา ใจ การวิเคราะห ความเสยี่ ง วัตถปุ ระสงคของ ความเสีย่ ง องคกรนนั้ ๆ 5 การประเมิน และจัดลาํ ดับ ความเส่ียง ภาพ แสดงตน แบบวงจรความเสีย่ ง

50 1. ทําความเขาใจวัตถุประสงคขององคการ เพื่อใหบุคลากรทุกคนไดเขาใจทิศทาง และจุดมุงหมาย การที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคการ ตองอาศัยการสนับสนุน จากองคป ระกอบของวตั ถปุ ระสงค 2. การสํารวจความเส่ียง ผูบริหารควรมอบหมายใหมีผูรับผิดชอบ โดยเฉพาะทําหนาท่ี สํารวจความเสี่ยงอาจเปน ฝายตรวจสอบ หรือผูตรวจสอบภายใน แตงตั้งผูรับผิดชอบ เปนฝายบริหาร ความเสี่ยงโดยมอบหมายใหคณะทํางานจากผูเช่ียวชาญของหนวยงานตาง ๆ เปนคณะทํางานเฉพาะกิจ จนกวากิจกรรมการสํารวจความเสี่ยงแตละครงั้ จะแลวเสรจ็ 3. การคนหาและระบุความเสีย่ ง เปน การคนหาความเส่ยี งทตี่ อ งการจากขอ มลู ตา ง ๆ 4. การวเิ คราะหค วามเสี่ยง การวเิ คราะหข ้ึนอยกู ับลกั ษณะความเสีย่ ง และชนิดของเครื่องมอื ท่จี ะพจิ ารณามาใชในการวิเคราะหท ี่นยิ มกนั คือ การวเิ คราะหเ ชงิ เปรยี บเทียบ 5. การประเมินและจัดลําดับความเส่ียง การประเมินความเส่ียง ความเส่ียงมีท้ังรูปธรรม และนามธรรม แตห ลกั การประเมินจะตองทาํ ใหเหน็ ถงึ ความชดั เจน แปลผลออกมาเปนเชิงรูปธรรมท่ีสัมผัสได วัดได กลาวคือ วัดเปนจํานวนได และวัดเปนเวลาได การจัดลําดับความเสี่ยงอาจจัดเปน ความเส่ียงสูง ความเสย่ี งปานกลาง ความเสี่ยงต่าํ เมื่อสรุปผลออกมาไดแลว จงึ นาํ ไปบริหารความเส่ียงตอไป 6. การบริหารความเส่ียง ถือเปนหัวใจของความสําเร็จขององคการโดยตรง ท้ังน้ี เพราะ ความเส่ียงเปนอุปสรรคสําคัญตอความสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคการ ดังน้ัน จึงเปนหนาท่ีของ ฝายจดั การทต่ี องรบั ผิดชอบบรหิ ารความเส่ยี งใหเกิดประโยชนสูงสดุ ตอ องคก าร 7. การตรวจสอบความเสี่ยง เปนกระบวนการที่เกี่ยวกับการควบคุม กํากับ และติดตามผลวา กลไกลการบริหารความเสี่ยงมีการปฏบิ ตั ติ ามหรือไมเพียงใด โดยการสอบทานความเส่ียง และการควบคุม ภายใน การประเมินระบบควบคุมภายใน การวางมาตรการปรบั ปรุงแกไ ข และการสรางสัญญาณเตือนภัย ผูบริหารองคก ารจะตองตรวจสอบความเส่ยี งมใิ หเ กิดขึ้น หรอื ถามีกส็ ามารถควบคมุ ปองกนั ใหเ กิดแตน อ ยที่สดุ

51 เร่ืองท่ี 3 การแกปญ หาความเสย่ี ง การแกไขปญหาความเสี่ยง หมายถึง การทําใหเกิดสภาพการณท่ีเราคาดหวัง การที่คน จาํ นวนมากไมส ามารถแกไขปญ หาตนเอง หรอื ผบู รหิ ารไมสามารถจะแกปญหาหนวยงานของตนได ถึงแม จะรูสภาพหรือเปาหมายอยูแลว แตก็ไมสามารถไปสูเปาหมายได ทั้งนี้ เพราะปญหาอาจมีมาก รุนแรง มี ความสลบั ซับซอ น คลุมเครอื และแฝงไวด ว ยปญ หาอืน่ ๆ เปน ตน การแกปญ หาความเสยี่ งมี 4 ข้นั ตอน ดังนี้ 1.ขน้ั ระบปุ ญ หา 4. ขนั้ กําหนด 2. ขน้ั สาเหตุ แนวทางแกไ ขปญ หา ของปญ หา 3. ขัน้ การกาํ หนด จุดมงุ หมายในการ แกปญ หา ภาพ แสดงข้นั ตอนการแกป ญหาความเสยี่ ง

52 1. ข้ันระบุปญหา เปนขั้นแรกท่ีมีความสําคัญ เพราะถาเราไมทราบปญหาเราก็ไมมีทาง แกป ญหาได จําเปนตองหาสาเหตุแหง ปญ หา แลว จะนาํ สาเหตุนัน้ มาเรียงลําดับความสาํ คญั อะไรเปน เหตเุ ปน ผล 2. ขั้นสาเหตุของปญหา การหาสาเหตุของปญหาไมถูกตองจะทําใหการแกปญหาผิด ซึ่ง ตามปกติคนเรามักจะยึดติดกับแนวคิด หรือความรูเดิม ๆ ทําใหมองเห็นปญหาแตเพียงดานท่ีสัมพันธ สอดคลองกับแนวคิดน้นั ๆ อกี ประการ ผูที่รถู ึงสาเหตทุ ีแ่ ทจ รงิ แลว รบี ดวนสรปุ โดยไมพยายามคนหาสาเหตุ อ่ืน ๆ 3. ข้ันการกําหนดจุดมุงหมายในการแกปญหา การคัดเลือกสาเหตุที่กอใหเกิดปญหาแลว นําไปหาแนวทางแกไ ขจะทําใหปญหาน้นั ไดร ับการแกไข เชน ปญหาอัตราการเพิ่มของประชากรสูงมาจาก สาเหตุอะไร คนเกดิ มาก คนตายนอย หรอื คนอพยพเขา มามาก เปนตน 4. ข้นั กาํ หนดแนวทางแกไ ขปญหา การกาํ หนดทางเลือกในการแกไขปญหาซึ่งอาจจะเปน ทางเลือกท่ีสามารถนําไปใชแกปญหาไดจริง ไมใชเปนเพียงอุดมการณหรืออุดมคติ หรือทางเลือกนั้น สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได ทง้ั ทว่ี ัดเปนตวั เงินได และไมส ามารถวดั เปน ตวั เงินได การเลือกวิธีที่ดที สี่ ุดในการแกไ ขปญ หานน้ั ควรมกี ารเปรยี บเทียบตัวเลือกทั้งหมดท่ีไดดวย วิธีตาง ๆ โดยประเมนิ ตวั เลอื กแตละตวั แลว จงึ ตดั สนิ ใจเลอื กวิธีแกปญหาที่ดีที่สุด หรือหาวิธีใหม ปลอยให ปญ หาคล่คี ลายไปเองโดยไมตองทําอะไร

53 เรือ่ งที่ 4 การวางแผนปฏบิ ัตกิ ารจัดการความเสีย่ ง การวางแผนปฏิบตั กิ ารจดั การความเสี่ยง ควรมีผแู ทนจากฝายตา ง ๆ ในองคการเปนเสมือน คณะทาํ งานกลาง หากคณะทาํ งานยังไมมคี วามชํานาญพอ ควรจางทปี่ รึกษาเขามาทาํ งานรว มกนั เพื่อวางแผน ปฏิบตั ิการจัดการความเส่ียง โดยเร่ิมจากการสรางตัวแบบบริหารความเส่ียงระดับองคการ ซ่ึงจะตองมีการ ทบทวน วเิ คราะห ตดั สินใจ และประเมนิ ความเส่ยี งขององคก ารกอ น ดังน้ี 1. กําหนดตวั ชีว้ ดั ประสทิ ธภิ าพ 2. จดั การฝก อบรมใหความรกู บั ผูแทนฝายตา ง ๆ ใหต ระหนักถึงความเสี่ยง 3. จดั ทําแบบสอบถาม 4. จัดใหม กี ารสมั ภาษณ 5. ดาํ เนนิ การทบทวนเอกสารท่ีมีอยูจากฝา ยตา ง ๆ โดยเนนเฉพาะดา นความเส่ยี ง 6. จัดสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการอยา งตอ เน่อื ง 7. จดั ทาํ ตัวแบบความเส่ียง 8. ตรวจสอบตดิ ตามพืน้ ทขี่ องฝา ยตา ง ๆ 9. วิเคราะหส ่ิงที่ไดจ ากการประเมิน ส่งิ ท่จี ะไดจากการดําเนนิ งานในขน้ั น้ี มีดังนี้ 1. สามารถบงช้ีไดว าความเสย่ี งขององคก ารมีอะไรบางอยา งชัดเจน 2. สามารถจัดลาํ ดับความสําคญั และประเมนิ ความเส่ยี งเหลา นนั้ 3. จัดทําแผนปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงในเรื่องท่ีสาํ คัญไดอยางชดั เจน 4. ไดรายงานการบริหารความเสี่ยงตอ ผบู ริหารได 5. สามารถจัดลําดับแผนความเส่ียงตามความสําคัญ และจําเปนกอนหลังโดยทําเปน แผนปฏิบัตกิ ารที่ชัดเจน การวางแผนปฏิบัตกิ ารจดั การความเส่ยี ง ประกอบดวยข้นั ตอนดําเนนิ การ ดังน้ี 1. สํารวจความเสย่ี งในองคก าร การสํารวจความเสย่ี งทัง้ องคก ารโดยศึกษาจากตัวแทนฝายตาง ๆ ดวยวิธีการตอบแบบสอบถาม การสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูลท่ีเปนเหตุเปนผลตอความเสี่ยงขององคการ โดยนําขอ มลู มากรอกในตารางความเสยี่ งทกี่ ําหนดไว ตามตัวอยา งดงั นี้ 2. ประเมนิ ความเสยี่ งในระดบั องคก าร คณะทาํ งานกลางรวบรวมขอมูลความเสย่ี ง จากฝายตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ นาํ มาจัดลาํ ดับความเสี่ยง โดยอาจเชิญผูมสี ว นเกี่ยวของรวมพจิ ารณา 3. กําหนดตวั ควบคมุ ความเสย่ี งท่ีจะเกดิ ข้ึนในโอกาสตา ง ๆ รวมถึงผลกระทบท่อี าจเกิดขน้ึ ได 4. การทําแผนปฏิบตั ิการ จะตอ งเลือกความเส่ียงสูงสุดท่ีเปนวิกฤติกอนมาทําแผนปฏิบัติการ เชน การทจุ รติ คอรรปั ช่นั การผนั ผวนจากราคาสนิ คาตนทุน เปนตน 5. การทาํ รายงานสรุปความเสี่ยง เพ่ือนําขอมูลความเส่ียงมาจัดทําแผนปฏิบัติการการจัดการ ความเสย่ี ง โดยเรือ่ งวิกฤติทต่ี องเรงแกไ ข

54 ตวั อยาง แสดงขอ มลู ของความเส่ยี งภายในองคก ารทง้ั หมดของฝา ยเทคโนโลยี ลําดบั ความเสี่ยง สาเหตุ ผลกระทบ การควบคุม ประสทิ ธิผล ในปจจุบนั ในการ 1 การเพิม่ ขนึ้ ของเวบ็ ควบคุม แอพพลเิ คชน่ั ใน ปจจุบัน แนวโนม บรษิ ัทตองใหบริการ ใหผูพัฒนาระบบมี พอใช 2 การทาํ นุบํารุง ทางดา นพาณิชย ผา นทาง ความรู ความชาํ นาญ เครอ่ื งคอมพิวเตอร ขนาดใหญตอ งใช อเิ ล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนกิ ส ในโครงสรา ง ความพยายามมาก มากขึน้ ตาม พ้ืนฐานของเวบ็ 3 ศนู ยค อมพิวเตอร มปี ญหา แนวโนม มากขึ้น ขาดบุคลากร ไมสามารถ จางบริษัท พอใช ใหบ ริการไดด ี ขา งนอกทํา ไฟไหม ระบบธรุ กจิ ทง้ั หมด มีสถานทส่ี าํ หรับ ดี แผน ดนิ ไหว ไมสามารถดําเนิน หนว ยประมวลผล ระเบดิ ไฟดับ ตอไปได มากกวา 1/ มีระบบ สาํ รอง สรปุ ดงั น้ันการบริหารจัดการความเส่ียงท่ีเปนระบบจะตองไดรับความรวมมือจากบุคลากรทุกคน ทุกฝายในหนวยงาน ซึ่งตองถือวาเปนกิจกรรมของทุกคนในองคการ ผูบริหารจะตองสรางความเขาใจ ใหท กุ คนตระหนักถงึ ภยั วิกฤต ความเส่ียง ทกุ คนตอ งทําเปนประจําและทําอยา งตอเน่ืองเปนระบบ มีรูปแบบ ทีช่ ดั เจน

55 หลกั การบริหารความเสยี่ งประกอบดวย 1. การวางแผนกลยุทธ 2. การวิเคราะหความเสีย่ ง 3. การควบคุมความเสี่ยง ในการดําเนนิ งานปฏบิ ัตกิ ารจัดการความเส่ยี ง จะไดมาจากฝายและองคการมาชวยกันประเมิน ความเสี่ยงตาง ๆ แลวจัดลําดับวาอะไรเปนความเสี่ยง ระดับมากนอยเพียงใด รุนแรงแคไหน เพื่อนํา ความเสี่ยงน้ัน ๆ มาบริหารจัดการกอน หลัง สวนการพิจารณาตัวควบคุมความเส่ียงทําใหเห็นสภาพการ บริหารความเสี่ยงในองคการ วามีการกําหนดอยางไร ในการทําแผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง โดยเรียงลําดับวิกฤตวาอะไรมากอน และอะไรมาหลัง ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทายของการบริหารความเส่ียง ที่มีรายละเอียดในเชงิ ปฏิบตั กิ าร สามารถนําไปใชไดจริงในหนว ยงาน

56 กจิ กรรมที่ 1 การวิเคราะหศักยภาพและการจัดการความเสย่ี งในองคการ ใหผูเรียนแบงกลุม ๆ ละ 5 คน เลือกประธาน ผูนําเสนอ และเลขาแลวรวมกันพิจารณา ตามประเดน็ ดังตอ ไปน้ี 1. อาชพี ………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 2. ขน้ั ระบุปญหา………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 3. ข้นั หาสาเหตขุ องปญ หา…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 4. ขั้นกําหนดจดุ มงุ หมายในการแกปญหา…………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. 5. ขน้ั กําหนดแนวทางแกปญหา………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………..

57 บทที่ 4 การจัดการการผลิต การบริการ สาระการเรยี นรู ในสภาวะการแขงขันทางการคา และการตลาดยุคโลกาภิวัตน ธุรกิจตองมีการปรับตัว ท่รี วดเรว็ เพื่อตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ในขณะที่ผูบริโภคมีความตองการสินคาท่ีหลากหลาย และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปจจัยสําคัญหนึ่งที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจเลือกสินคา และบริการ คือ คุณภาพของสินคา จึงเปนส่ิงสําคัญที่ผูประกอบอาชีพตองใหความสําคัญ และความจําเปนในการจัดการ การผลติ และการบริการ ตัวชว้ี ดั 1. จัดการเกีย่ วกบั การควบคมุ คณุ ภาพ 2. อธบิ ายวธิ ีการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต 3. อธบิ ายขัน้ ตอนการลดตนทุนการผลิตหรอื การบรกิ าร 4. จัดทําแผนการผลิตหรือการบริการ ขอบขา ยเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 การจัดการเก่ยี วกบั การควบคุมคุณภาพการผลิตหรอื การบริการ เร่ืองที่ 2 การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เร่ืองที่ 3 การลดตน ทุนการผลิตและการบริการ

58 เรอ่ื งท่ี 1 การจดั การเกีย่ วกบั การควบคุมคณุ ภาพการผลิตหรือการบรกิ าร 1. ความหมายการจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ หรือการบริการ การประกอบการอาชีพใหมีความเจริญกาวหนานั้น จําเปนที่ผูประกอบการอาชีพตองมีความรู ความเขาใจ ในเร่ืองการจัดการการผลิต และการบริการเปนอยางดี การจัดการการผลิตหรือการบริการมี ความหมายสรปุ ไดด งั นี้ การจัดการ หมายถึง กระบวนการที่ดําเนินงานตามขั้นตอนตาง ๆ อยางตอเนื่อง และ มีการประสานงานกัน เพื่อใหบ รรลเุ ปา หมายขององคกรหรอื กิจการ การผลิต หมายถึง การจัดทํา การประกอบ หรือสรางสินคาหรือผลิตภัณฑ โดยผาน กระบวนการแปรสภาพจากวตั ถดุ ิบ การบริการ หมายถึง การบริการที่ดีแกลูกคา หรือการทําใหลูกคาไดรับความพึงพอใจ มีความสขุ และไดร ับผลประโยชนอ ยา งเตม็ ท่ี การควบคุมคุณภาพ หมายถึง การจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหผลิตภัณฑตอบสนอง ความตองการและสามารถสรางความพึงพอใจใหกบั ลูกคาบนแนวคดิ พนื้ ฐานวา เม่ือกระบวนการดี ผลลัพธ ทอี่ อกมาก็จะดตี าม 2. วตั ถปุ ระสงคก ารจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ หรือการบรกิ าร การควบคุมคุณภาพนั้น มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสินคาหรือผลิตภัณฑ หรือการบริการบรรลุ จดุ มุง หมายดังตอ ไปน้ี 1) สนิ คาท่ีส่งั ซ้ือหรอื สั่งผลิตมีคุณภาพตรงตามขอ ตกลงหรอื เงื่อนไขในสัญญา 2) กระบวนการผลติ ดาํ เนนิ ไปอยางถกู ตอ งเหมาะสม 3) การวางแผนการผลิตเปน ไปตามทีก่ าํ หนดไว 4) การบรรจุหีบหอดีและเหมาะสม หมายถึง สามารถนาํ สงวัสดุยังจุดหมายปลายทาง ในสภาพดี นอกจากนกี้ ารควบคมุ คุณภาพยังกอ ใหเกิดประโยชนต อ การผลิต คอื 1) เพ่ือใหเสียคา ใชจายหรือตน ทนุ ตาํ่ ทีส่ ดุ โดยการใชป จ จัยการผลติ และวิธีการผลิตที่เหมาะสม 2) เพ่ือใหไดปริมาณสินคาตรงตามความตองการของตลาดไมมาก และไมนอยเกินไป จนไมส ามารถตอบสนองความตองการของตลาดได 3) เพอ่ื ใหไ ดส นิ คาตรงตามเวลาที่ลกู คาตอ งการ 4) เพ่ือใหไ ดค ุณภาพสนิ คาตรงตามที่ลูกคาตอ งการ ไมม ีจุดบกพรอ งหรอื เนาเสยี 3. ข้นั ตอนการควบคมุ คุณภาพการผลิต แบง ออกเปน 4 ขัน้ ตอน คอื 1) ขัน้ การกาํ หนดนโยบาย ในข้นั นจ้ี ะเปน การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคกวาง ๆ เชน ระดับสินคา ขนาด ของตลาด วิธีการจําหนาย ตลอดถึงการรับประกัน ขอกําหนดเหลานี้จะเปนเคร่ืองชี้นําวากิจการจะตอง ทําอะไรบางเพอ่ื ใหบรรลุวัตถุประสงคทีไ่ ดวางเอาไว

59 2) ข้ันการออกแบบผลติ ภณั ฑ การออกแบบผลิตภัณฑใ นท่ีน้ี หมายถงึ การกาํ หนดคุณลักษณะของ ผลิตภัณฑ เชน วิทยุท่ีจะทําการผลิตข้ึนนี้มีขนาดกี่วัตตสามารถรับไดก่ีชวงความถี่ และมีระบบตัดคล่ืน รบกวนหรอื ไม เปนตนขอควรคาํ นงึ ถึงสําหรับการออกแบบผลติ ภณั ฑนคี้ ือ จะตอ งรวู าฝายผลติ มีขีดความสามารถ มากนอยเพียงใด การออกแบบผลิตภัณฑจ ึงตอ งมคี วามสมั พนั ธก ับระบบการผลติ 3) ขั้นตอนการควบคุมคณุ ภาพของการผลติ การควบคมุ คณุ ภาพการผลติ แบงออกเปนขั้นตอนยอย 3 ขน้ั คอื การตรวจสอบคณุ ภาพของช้ินสว น การควบคมุ กระบวนการผลิต และการตรวจสอบคุณภาพของ ผลิตภัณฑ โดยในการตรวจสอบท้ัง 3 ขั้นน้ี สวนใหญจะใชเทคนิคการสุมตัวอยาง เพราะผลิตภัณฑท่ี ผลิตไดนั้นมีจํานวนมากไมอาจจะทาํ การตรวจสอบไดอ ยางทว่ั ถึงภายในเวลาจาํ กัด 4) ขั้นการจําหนาย การควบคุมคุณภาพ จะมีลักษณะเปนการใหบริการหลังการขาย ซึ่งในระบบ การตลาดสมัยใหมถอื วาเปน เรอ่ื งสาํ คญั มาก เพราะสินคาบางชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่งสนิ คา ประเภทเครื่องมือ เคร่ืองจักรหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงมีวิธีการใชและการดูแลรักษาที่คอนขางยุงยาก ผูผลิตหรือ ผูขายจะตองคอยดูแลเพื่อใหบริการหลังการขายแกผูซื้ออยูเสมอ เพ่ือสรางความพึงพอใจ ซึ่งจะมีผลตอความ เชือ่ มั่นและความกาวหนาทางธุรกจิ ในอนาคต เรื่องท่ี 2 การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ 1. ความหมายของการใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ การใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เปนการพัฒนาความสามารถในการผลิต ผลิตภัณฑของมนุษย ชว ยในการแกปญ หาและสนองความตอ งการของมนษุ ยอ ยางสรางสรรค โดยนาํ ความรู มาใชก บั กระบวนการเทคโนโลยีเพ่อื สรางและใชส ่งิ ของ เครื่องใช วธิ ีการใหการดํารงชีวิตมีคุณภาพดีย่ิงข้ึน นวัตกรรมและเทคโนโลยี สามารถอธบิ ายไดดงั นี้ 1) นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ที่ยังไมเคยมีใชมากอน หรอื เปน การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดิมทม่ี ีอยแู ลว 2) เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษยพัฒนาข้ึน เพื่อชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ เชน อปุ กรณ เคร่อื งมอื เครือ่ งจกั ร วัสดุ หรอื แมกระท่ังสง่ิ ท่ไี มไ ดเ ปนส่ิงของท่ีจับตองไดหรืออาจเปนระบบ หรือกระบวนการตาง ๆ เพื่อใหก ารทาํ งานบรรลผุ ลเปาหมาย และครอบคลมุ ถึงเร่อื ง ดงั ตอไปนี้ (1) คน เปนแหลงทรัพยากรท่ีสําคัญ ไดแก เจาของกิจการ แรงงานคนภายนอก ที่จางมาทํางาน เปน ตน (2) วัสดแุ ละเครอ่ื งมือ ไดแ ก วัสดอุ ุปกรณต าง ๆ (3) เทคนคิ วิธีการ ไดแ ก ความรูท ่ีไดจ ากการศึกษาคนควาดวยตนเอง (4) สถานที่ ไดแ ก ไรนา ฟารม ภเู ขา แมนา้ํ ทะเล สถานประกอบการตา ง ๆ

60 2. ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยี จากการนาํ เทคโนโลยีไปใชในชีวิตประจําวันของมนุษย ทั้งนี้จากการนําเทคโนโลยี มาใชอยา งแพรหลาย ทําใหเ กดิ ทัง้ ประโยชนและผลกระทบตอการดาํ รงชวี ิต สรุปไดดังน้ี 1) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอการศึกษา นักศึกษาสามารถเรียนไดจาก ที่บานโดยไมตองเดินทางไป เชน การเรียนการสอนทางไกลผานอินเทอรเน็ต ทั้งภายในและภายนอก ประเทศ รวมทงั้ การศึกษาคนควาขอมลู จากอนิ เทอรเน็ตที่มีไมจํากัด และการศึกษาเรียนรูจากสื่อประเภทตาง ๆ เชน วิทยุ โทรทศั น วดี โิ อ และคอมพวิ เตอร เปนตน จากการนําเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน ทําให เกิดปญ หาขาดปฏสิ ัมพันธทด่ี ีตอกันระหวา งผเู รียนกับครู เพราะการเรียนรู โดยผานส่ือเทคโนโลยีทําใหครู ซึ่งเปน ผถู า ยทอดความรมู บี ทบาทลดนอ ยลง 2) ประโยชนแ ละผลกระทบของเทคโนโลยีตอสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีเขามามีบทบาทใน การปรบั ปรงุ คณุ ภาพของดนิ นา้ํ และอากาศ รวมทง้ั มีการนําของเหลือใชท่ีผานกระบวนการทางเทคโนโลยี แลว กลบั มาใชใ หมโดยไมต องใชทรพั ยากรหลกั เทคโนโลยีจะกอ ใหเ กิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม เพราะมนุษย นาํ เทคโนโลยีมาใชอยางผดิ วิธี เพือ่ มงุ แตป ระโยชนส ว นตน จนหลงลืมผลกระทบทอี่ าจจะเกิดขึ้นจากการใช เทคโนโลยีของตน 3) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอสังคม เทคโนโลยีกับสังคมเปนของคูกัน เม่ือเทคโนโลยีเขา มามบี ทบาทเปรียบเสมือนยอโลกใหเล็กลง เนื่องจากความสะดวกในการติดตอขาวสาร ขอมูล ทําใหธุรกิจติดตอไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีผลใหเศรษฐกิจเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว จากความเจริญกา วหนาของเทคโนโลยีกอใหเกดิ ปญ หาการวางงานของแรงงาน เนื่องจากมกี ารนําเคร่ืองจักร มาใชแทนแรงงานคน และปญหาจากการปรับตัวของผูไมรูในเร่ืองของการใชเทคโนโลยีสมัยใหม จึงกอ ใหเ กิดปญ หาการนาํ เทคโนโลยไี ปใชอ ยางไมถูกตอ ง 4) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอสุขภาพ เนื่องดวยเทคโนโลยีมุงสราง สิ่งอาํ นวยความสะดวกตอ มนษุ ย โดยเฉพาะดา นสุขภาพ มีเครื่องออกกําลังกายภายในบาน มีวิทยุโทรทัศน และแหลง บนั เทิง เพ่อื เสรมิ สรางสขุ ภาพ ทั้งทางรางกายและทางจิตใจ ทั้งน้ีในวงการแพทยมีความกาวหนา ในการรักษามากขนึ้ และมขี อ มูลทางการแพทยเ ผยแพรผา นทางอินเทอรเ น็ตทําใหแพทยทั่วโลกสามารถรวมมือ ในการปฏบิ ตั งิ านรว มกันได นอกจากน้ันเทคโนโลยีทางดานคอมพวิ เตอรมีผลทาํ ใหเ ยาวชนขาดความสนใจ การเรยี น มุงแตก ารเลนเกมคอมพิวเตอร ไมมีเวลาออกกําลังกาย มีพฤติกรรมที่กาวราวชอบการตอสู สมาธิส้ัน อารมณรุนแรง ไมไ ดรับการพักผอ นอยางเพยี งพอ ทาํ ใหเกดิ ความเครยี ด สายตาส้ันเรว็ กอนเวลาอนั ควร สรุปไดวา เทคโนโลยี จะมีประโยชนอยางมาก เม่ือผูใชมีการนําไปใชไดอยางถูกวิธี และเหมาะสม และจะเกิดผลกระทบอยางมากมาย เม่ือผูใชนําเทคโนโลยีไปใชแบบผิด ๆ ดวยความไมรู หรือใชเทคโนโลยมี ากเกินกวา ความจาํ เปน

61 3. กระบวนการเทคโนโลยีในการผลติ กระบวนการเทคโนโลยีเปน กระบวนการทีเ่ กี่ยวของกับการแกปญหา โดยการใชความคิด ริเรมิ่ อยา งสรา งสรรคแ ละรอบคอบ เพ่ือสรางผลิตภัณฑท่ีกอใหเกิดประโยชนตามความตองการของมนุษย อยางมีประสิทธิภาพ หลักการเบื้องตนของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ สามารถ แบงออกเปนขั้นตอน ไดดงั น้ี 1. กาํ หนดปญ หาหรือความตองการ 2. สรา งทางเลือกหรือวิธีการ 4. ออกแบบและลงมือสราง 3. เลือกวิธีการทีเ่ หมาะสม 5. ทดสอบและประเมินผล ปรับปรุงแกไ ข แผนภมู ิ กระบวนการเทคโนโลยีในการออกแบบผลติ ภณั ฑ 4. การใชกลยุทธในการเพม่ิ และพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ ปจ จบุ นั เทคโนโลยีเขามามีบทบาทอยางมากในการดํารงชีวิตของมนุษย ไมวาจะเปนการ ผลิตในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรมหรือการบริการ ลวนแตนําเทคโนโลยีเขามาใชในกิจกรรมตาง ๆ เพราะการนําเทคโนโลยีเขามาใชในกิจกรรมตาง ๆ จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใหดีข้ึน เชน สามารถ ทํางานไดเร็วขึ้น ไดปริมาณมากขึ้น งานมีคุณภาพมากขึ้น ลดเวลาในการทํางาน ลดคาใชจายในการ ใชแรงงานคน และทส่ี าํ คัญถาเปน ภาคอุตสาหกรรมหรือภาคเกษตรกรรมซ่ึงตองมีการแขงขันในทางธุรกิจ ใครนําเทคโนโลยีมาใชกอนคนอ่ืนถือวา เปนกลยุทธอยางหนึ่งท่ีจะทําใหประสบความสําเร็จกอนคูแขง ซึ่ง คําวากลยทุ ธ หมายถึง วิธีปฏิบัติ หรือแนวทางในการปฏิบัติงานท่ีจะทําใหแผนงานประสบผลสําเร็จ ขณะ จัดทํากลยุทธจะตองมีการตรวจสอบดูวามีจุดออนในกิจกรรมใด หรือมีจุดแข็งในกิจกรรมใดหรือคูแขง มีจุดออนในกิจกรรมใด จุดแขง็ ในกิจกรรมใด แลวนํามาเปรียบเทยี บกับของเรา เพ่ือทาํ การปรับกลยุทธตอ ไป เมื่อรูวามีจุดออนที่จุดใด ก็สามารถนําเอาเทคโนโลยีมาใชในสวนที่เปนจุดออนนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ ดังตัวอยางการใชและปรับกลยุทธในการเพ่ิม และ พัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑ ดงั น้ี

62 ตัวอยางท่ี 1 ในอดตี การเกี่ยวขาวในนาที่มีพ้ืนท่ีกวาง ๆ จะใชแรงงานคนในการเก่ียวขาวจํานวนมาก ตอมามีการนําเทคโนโลยเี ขามาชว ยในการเกย่ี วขา ว เชน เครอ่ื งจักรในการเก่ียวขาว ทําใหสามารถลดจํานวน แรงงานคน และลดเวลาในการเกีย่ วขาวลงไดอ ยางมาก และถา มกี ารแขง ขันทางธุรกิจการขายขาว เกษตรกร จะตองมีการปรับกลยุทธในการนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการเกี่ยวขาว เพื่อใหสามารถเกี่ยวขาวได จํานวนมากและใชเ วลานอย เพื่อใหสามารถนาํ ขา วออกมาจาํ หนายไดกอน ตัวอยา งท่ี 2 โรงงานนํ้าพริกเผาแหงหน่ึง เดิมการลางผัก บดพริกหรือเคร่ืองเทศ การผสมสวนผสม และการบรรจุจะใชแรงงานคนแทบท้ังหมด ทําใหผลผลิตที่ออกมาไมดีเทาที่ควร เชน ผักไมสะอาด สวนผสมไมดีพอ นํ้าหนักและปริมาณไมไดมาตรฐาน ใชแรงงานคนมาก ทําใหเสียคาใชจายสูง รวมถึง ใชเวลาในการทํางานมาก ทําใหไมสามารถแขงขันกับคูแขงขันอ่ืน ๆ ได สงผลใหเสียโอกาสทางธุรกิจ เพราะฉะนั้น โรงงานน้ําพริกเผาแหงนี้ จึงไดมีการปรับกลยุทธในการดําเนินกิจกรรม โดยการนําเอา เทคโนโลยีการผลิตมาชวย เชน เคร่ืองลางผัก เคร่ืองบด เคร่ืองผสมและเครื่องบรรจุภัณฑทําใหสามารถ ผลิตน้ําพริกเผาไดมีประสิทธิภาพและคุณภาพมากข้ึน รวดเร็วข้ึน ลดคาใชจายในการผลิต สามารถผลิต นํ้าพรกิ เผาออกสตู ลาดแขงขนั กบั คูแ ขงรายอื่น ๆ ไดทันเวลาและรวดเรว็ ขึน้ 5. การเลือกใชเ ทคโนโลยอี ยา งสรางสรรค การเลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และงานอาชีพ มีหลักการ ดังตอไปนี้ 1) การวิเคราะหเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือวิธีการที่ไดจากเทคโนโลยีตาง ๆ ทั้งทางดาน คุณภาพ รูปแบบ วสั ดุ ความสะดวกในการใช ความคุม คา โดยกอนทจ่ี ะตัดสนิ ใจเลอื กเทคโนโลยีใดมาใชน้ัน ผูประกอบการหรือเจาของกิจการ ควรนําคุณลักษณะท่ัวไป คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีมาศึกษา เปรียบเทียบกอนการตดั สินใจเลอื ก 2) เมื่อมีการเลือกใชเทคโนโลยีสําหรับการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อสนองตอ ความตองการของมนุษยแลว ยอมตองมผี ลกระทบตอ สังคมและสิ่งแวดลอมตามมาดว ย ดงั นั้นผปู ระกอบการ หรือเจาของกิจการตองศึกษาทบทวนวาเทคโนโลยีที่กําหนดเลือกใชนั้นมี ขอดี ขอเสียและผลตอสังคม และส่ิงแวดลอมท่ีจะไดรบั นัน้ เปน อยางไร 3) ตัดสินใจเลือกและใชเทคโนโลยีมีผลตอชีวิตที่มีผลดีตอสังคม และสิ่งแวดลอม ในทางสรางสรรคมากท่สี ุด

63 เรอ่ื งท่ี 3 การลดตน ทุนการผลิตหรือการบรกิ าร 1. แนวคิดในการลด และควบคมุ ตนทนุ การผลิต การดาํ เนินงานธรุ กิจทกุ ประเภท ใหส ามารถดาํ รงอยไู ดอยางม่ันคง จําเปนที่ผูประกอบการ หรือเจาของธุรกิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิต และการบริการโดยแนวคิดในการลดและควบคุม ตนทุนการผลติ นน้ั มีหลกั การ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาวิเคราะหและสํารวจสถานภาพปจจุบันของการผลิต คือ แรงงาน วัตถุดิบ ตนทุน การผลติ เมื่อรปู จ จยั การผลิตแลวทาํ ใหสามารถหาขอ บกพรอ ง และหาวิธีลดตน ทุนได 2. วิเคราะหหาสาเหตุของตนทุนสูญเปลาท่ีเกิดข้ึนจากการผลิตสินคา และการบริการ หมายถึง การเสียคาใชจ า ยแตไ มไดก อ ใหเกิดประโยชนตอ ธุรกิจ 3. ปฏิบัติการลด และควบคุมตนทุนการผลิตในสวนของคาใชจายที่ไรประสิทธิภาพ มีความสญู เปลา โดยดําเนนิ การตอเนอ่ื งใหบรรลผุ ลสาํ เรจ็ การดําเนินธุรกิจตองเผชิญกับขอจํากัดหลายอยางที่เปนอุปสรรคและเปนเหตุใหตนทุน การผลิตสูงข้ึน จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น ตนทุนวัตถุดิบแพงขึ้น โดยเฉพาะ การนําวตั ถดุ ิบจากภายนอกเขา มา ทาํ ใหต น ทุนการผลิตสูงข้ึน เชน คาน้ํามัน คาน้ํา คาไฟฟา คูแขงขันมีมากข้ึน และทวคี วามรุนแรงมากข้ึน จาํ เปนทีผ่ ปู ระกอบการหรอื เจา ของธุรกิจตองลดตนทุนการผลิตตอหนวยสินคา ท่ีผลติ จะมผี ลใหไดกําไรมากข้ึน ดังนั้นผูประกอบการตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพื่อลดตนทุนการผลิตใหตํ่าลง โดยกําหนดเปา หมายการผลติ ใหเหมาะสมเพอื่ ความอยรู อด มกี ารปรับปรุงโครงสรางในการประกอบธุรกิจ พัฒนาระบบการสงเสรมิ การขาย ซง่ึ เปนกุญแจสําคัญสูความสาํ เรจ็ 2. ปจ จยั ในการลด ควบคมุ ตนทุนการผลติ ในการผลติ สนิ คา ตน ทุนการผลติ จะสงู หรือตํา่ นั้น ขึ้นอยูก ับปจ จยั ตาง ๆ หลายประการดงั น้ี 1. ผบู รหิ ารตองมีนโยบายและโครงการเพื่อลดตน ทนุ การผลิตอยางจริงจังและชัดเจนไมวา จะเปนนโยบายดา นคุณภาพมาตรฐานระดบั สากล เชน ไอเอสโอ การสนับสนุนศักยภาพของบุคลากร ฯลฯ หรอื ระบบและวิธีการลดตน ทุน ซงึ่ ตอ งดาํ เนินการอยา งจรงิ จังและตอ เน่ือง 2. สรางจิตสํานึกพนักงาน ใหมีจิตสํานึกที่ดีตอโครงการลดตนทุนการผลิต จึงจะไดรับ ความรวมมือและประสบความสาํ เร็จได 3. มีมาตรการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ และคณุ ภาพของการบริหารจัดการธรุ กจิ อยา งจรงิ จงั ทกุ ปจจยั ท่ีกลา วมามคี วามสาํ คัญเทา กันหมด แตก ารจะดาํ เนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี คุณภาพผูบริหารธุรกิจตองกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยางจริงจัง และตองมีการจัดทําขอมูล และวัดประสทิ ธภิ าพของการลดตน ทนุ อยางตอ เนือ่ ง ในการบริหารจัดการการผลติ ควรกาํ หนดเปาหมายในเร่ืองตาง ๆ ดงั นี้ 1. ประสทิ ธภิ าพการผลติ คอื ดชั นชี ีว้ ัด การเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพและผลการดาํ เนนิ งาน ของธุรกิจเราเองกับธุรกิจอื่นท่ีมีลักษณะการดําเนินงานเดียวกันวา มีผลการดําเนินงานธุรกิจแตกตางกัน อยา งไร

64 2. คุณภาพสินคาและบริการ ผูประกอบการหรือเจาของธุรกิจตองปลูกฝงใหพนักงาน มีความเขาใจในการควบคมุ คุณภาพจะทําใหเกิดความเสียหาย เพ่ือรักษาคุณภาพของผลผลิตตามมาตรฐาน ที่กําหนดไว 3. การสงมอบ ตองสงมอบตรงเวลาตามที่ลูกคาตองการโดยไมมีปญหา การวางแผน การผลิตและสงมอบใหล ูกคา ตองใหความสําคญั เปนพิเศษมิเชน นัน้ จะทําใหเ สยี ระบบการทาํ ธุรกิจ 4. ตนทุนการผลิต ในสินคาประเภทเดียวกันแตตนทุนไมเทากัน การลดตนทุนมิใชสิ่งที่ จะทาํ ใหค ณุ ภาพของสินคาลดลง แตเ ปนการบรหิ ารจัดการในการผลิตใหม ีการใชต น ทุนตาํ่ ลง 5. ความปลอดภัย เปนเร่ืองที่เก่ียวกับพนักงานโดยตรง ซึ่งควรกระทําอยางยิ่งเพราะ ยิ่งเครงครัดมากเพียงใด พนักงานก็ปลอดภยั มากเทา น้ัน และมีสวนทําใหตนทุนการผลิตลดนอยลง รวมท้ัง สรา งคุณภาพชีวติ ใหพนกั งานได 6. ขวัญและกาํ ลังใจ ยิ่งมีความปลอดภัยสูง ขวัญและกําลังใจของพนักงานก็ยิ่งสูง โดยวิธี ที่ดีท่ีสุด คอื การเพ่ิมคาจา งและเพ่มิ สวสั ดกิ ารใหก ับพนักงาน 7. สงิ่ แวดลอ มทดี่ ีในโรงงาน ถอื เปน การสรา งคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ใี หกับพนกั งาน ปจ จุบนั ธุรกิจ ทีเ่ ก่ียวกบั มาตรฐานและจัดการกับสิ่งแวดลอมไดดี ถอื เปนความรับผิดชอบตอ สงั คมดวย 8. จรรยาบรรณ ผปู ระกอบการหรือเจาของธุรกิจตองยอมรับและปรับเปลี่ยนกระบวนการ ผลิตผลติ ภณั ฑห รือการบริการ เม่ือเกิดความผดิ พลาด เพือ่ สรางความปลอดภัยและความม่นั ใจใหแ กล กู คา หากเจาของธุรกิจสามารถปลูกฝงทุกขอที่กลาวมาใหกับบุคลากรขององคกรไดรับรูและ รวมปฏิบัติ ปญหาในกระบวนการผลิตจะไมเกิดขึ้นโดยเด็ดขาด และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือการผลิต จะมีประสทิ ธิภาพสูงข้นึ 3. การควบคุมการจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร การดําเนินงานธุรกิจใหมีการพัฒนาอยางตอเน่ือง เพื่อใหธุรกิจมีความมั่นคงน้ัน ผูป ระกอบการหรอื เจา ของธรุ กิจตอ งมีระบบควบคุม การจัดการการผลิตและการบริการ ระบบการควบคุม ที่นิยมใชม าก ไดแ ก วงจรควบคมุ PDCA (Deming Cycle) มรี ายละเอียด ดังนี้ 1) P (Planning) การวางแผน หมายถึง การวางแผนวามีโครงการ กิจกรรมหรือวิธีการ อะไร ในการบรหิ ารจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร 2) D (Do) การปฏบิ ัติ หมายถงึ การดําเนินงานตามแผนท่กี ําหนดไว 3) C (Check) การตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบผลที่เกิดจากการปฏิบัติวา มีผลเปนไปตามเปาหมายหรอื วัตถุประสงคท กี่ าํ หนดไวใ นการวางแผนหรือไมอยางไร 4) A (Action) การปรับปรุงแกไขและตั้งมาตรฐานในการทํางาน หมายถึง การกําหนด แนวทาง วิธกี ารใหมเ พ่อื แกไขปญ หาขอ บกพรอ งที่พบจากการตรวจสอบ วงจรการควบคมุ PDCA (Deming Cycle) ตองมีการดาํ เนินการอยางตอเน่ือง เมื่อเสร็จสิ้นแลว ตอ งเร่มิ ทาํ ใหมเพ่อื ใหเ กดิ การปรบั ปรุงและพัฒนาอยางตอเนอ่ื งโดยไมหยดุ น่ิง

65 กิจกรรมท่ี 1 การวิเคราะหก ารจัดการการผลติ หรือการบริการ ใหผเู รียนสรปุ ขอ มูลความรู เรื่องการจัดการการผลิตหรือการบริการ ตามหัวขอตอไปน้ี 1. จากขอ มูลทั้งหมด สรุปไดขอมลู ดังนี้ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………(ไมเ กิน 5 บรรทัด) 2. การจดั การการผลิตและการบริการ มีวธิ ีการดังนี้ 2.1………………………………………………………………………………………………. 2.2………………………………………………………………………………………………. 2.3………………………………………………………………………………………………. 3. หากผูเรียนเปนเจาของธุรกิจหน่ึง ผูเรียนจะมีวิธีการจัดการการผลิตหรือการบริการดานใด เพราะอะไร 1.1 ดาน…………………………….เพราะ……………………………………………… 1.2 ดา น……………………………เพราะ……………………………………………….. 1.3 ดา น……………………………เพราะ………………………………………………... 4. หากผเู รียนตอ งเลือกการจดั การการผลิตหรือการบรกิ ารเรงดวน ผูเรียนจะเลือกดําเนินการในดานใด เพราะอะไร ดา น………………………………………………………………………………...………………… เ พ ร า ะ ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………...................

66 บทที่ 5 การจัดการการตลาด สาระการเรยี นรู การจดั การการตลาดมบี ทบาทสําคญั ในการดาํ เนนิ ธุรกจิ จึงจําเปนตองมีความรูความเขาใจ ในกิจกรรมการตลาด สามารถศึกษาวิเคราะหตลาดเพื่อใหทราบโอกาสทางการตลาดกอนตัดสินใจลงทุน เพอื่ ธรุ กจิ จะไดดาํ เนินไปในทศิ ทางท่ีถกู ตอ ง และมีความเสี่ยงนอย ดงั นน้ั ตลาดจึงเปนความอยูร อดของธุรกจิ ตวั ช้วี ัด 1. การจดั การการตลาดเพื่อนําผลผลติ เขาสตู ลาด 2. สามารถจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการการจัดการการตลาด ขอบขา ยเนื้อหา เรอ่ื งท่ี 1 การจัดการการตลาด เร่อื งท่ี 2 การจดั ทําแผนปฏิบตั ิการ

67 เร่อื งที่ 1 การจัดการการตลาด ความหมายของตลาดและการจดั การการตลาด ตลาด หมายถึง สถานท่ีซ่ึงผูซ้ือและผูขายมาพบเพื่อโอนเปลี่ยนมือกันในกรรมสิทธิ์ของสินคา และบริการ โดยมรี าคาเปนส่ือกลาง เปน ความหมายท่เี ปนที่รูจกั และพบเห็นกนั ทัว่ ไป เชน ตลาดนัดสวนจตุจักร ทา ขาวกาํ นันทรง อาํ เภอพยุหครี ี ตลาดสดบางกะป ศูนยการคา เซ็นทรลั พลาซา การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซึ่งจะตองมีการวางแผน การผลิต การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการขาย การทําขอมูลฐานลูกคา การกระจายสนิ คา การกําหนดราคา การจดั จําหนา ย ตลอดจนการดาํ เนนิ กจิ การทกุ อยาง เพือ่ สนองความตองการ และบริการใหแกผ ูซ้ือหรือผูบรโิ ภคพอใจ ทั้งในเร่อื งราคา และบรกิ าร การตลาดเปน กิจกรรมทางการตลาดทีน่ ักการตลาดดําเนินการ เร่ิมตั้งแตการวางแผนจนกระทั่งนํา แผนเหลาน้ันไปปฏิบัติการวางแผนทางการตลาด นักการตลาดตองคาํ นึงถึงตัวแปรตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอ ความสําเร็จของแผนการตลาด เพื่อใหแผนการตลาดนั้นมีลักษณะที่เหมาะสมและสอดคลองกับความ ตองการของลูกคา สามารถจําแนกตัวแปรทางการตลาด ประกอบดวยผลิตภัณฑ ราคา และการจัด จาํ หนาย ซ่งึ จะตองเขาใจความหมายของคาํ ตอไปน้ี ใหช ดั เจนดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ หมายถึง สินคาหรือการบริการที่สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคได โดย ผบู ริโภคเกดิ ความพึงพอใจในดา นผลติ ภณั ฑ 2. ราคา หมายถงึ จํานวนเงินท่ผี ซู อื้ ยนิ ดีจายเพอ่ื ใหไดมาซง่ึ สนิ คาหรอื บริการ 3. การจัดจําหนา ย หมายถึง การเลือกชองทางการจัดจําหนายเพื่อใหผลิตภัณฑผานออกจากผูผลิต ไปสผู บู ริโภค และการกระจายตัวสินคา ซึ่งเปน งานทเ่ี ก่ียวของกับการวางแผนและการใชเครื่องมืออุปกรณ เพอื่ ใหส ินคา และวัสดเุ คล่อื นยา ยจากแหลง ผลิตไปยังสถานท่ีทีต่ อ งการจะใช ในสภาพโดยทัว่ ไปเราจะเหน็ สดั สว นประสมของการตลาด ซึ่งประกอบดวย การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการตลาด การสงเสริมการขาย การทําฐานขอมูลลูกคา และการกระจายสนิ คา ดังแสดงในภาพสวนประสมการตลาด ดงั นี้ ตลาดเปาหมาย ผลิตภัณฑ ราคา การสง เสรมิ การตลาด การจัดจําหนา ย การโฆษณา การขายโดยบคุ คล การสงเสริมการขาย การประชาสมั พันธ ภาพ แสดงสว นประสมการตลาด

68 1. การโฆษณา หมายถึง การนําเสนอหรือสงเสริมความคิด ในการขายสินคาหรือบริการผานส่ือตาง ๆ มผี อู ปุ ถัมภเปน ผูเสียคาใชจายในการโฆษณา โดยมีวัตถุประสงคของการโฆษณา เพ่ือใหเกิดความรู ความ เขาใจเกี่ยวกับสินคาและงานบริการ เปนการใหขาวสารและชักจูงใหซื้อสินคา และซ้ือบริการสื่อที่ใชใน การโฆษณามีหลายประเภท เชน นิตยสาร หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาทาง ไปรษณยี  เปนตน ส่ือโฆษณาแตละประเภทจะมีจุดเดนและจุดดอยแตกตางกัน ดังน้ัน การเลือกสื่อโฆษณา ควรคาํ นึงถงึ วัตถปุ ระสงค ดงั น้ี 1) สามารถเขาถึงกลมุ เปาหมายใหม ากทสี่ ุดเทา ท่ีจะมากได 2) สอ่ื นน้ั มปี ระสทิ ธภิ าพและไดผลสงู สดุ 3) เสียคาใชจายตํา่ ทีส่ ุด 2. การประชาสมั พันธ หมายถึง การตดิ ตอ ส่อื สารเพ่ือสงเสรมิ ความเขาใจทีถ่ ูกตองรวมกัน ตลอดจน สรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางลูกคา หนวยงาน รัฐบาล ประชาชน เพ่ือใหเกิดความเช่ือถือศรัทธา ความคดิ เห็น ทัศนคติที่ดีตอองคการ การประชาสัมพันธ ไดแก ขาวแจกสําหรับเผยแพร การแถลงขาว ลูกคา สัมพนั ธ พนักงานสมั พันธ ชมุ ชนสมั พันธ สื่อมวลชนสมั พันธ การบริการสงั คมและสาธารณประโยชน 3. การวิจัยตลาด หมายถึง การศึกษาปจจัยภายนอกและภายในเกี่ยวกับการตลาด ทําให ผูประกอบการมีขอมูลในการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจ และสามารถบอกรายละเอียด ในการ ดาํ เนนิ งานไดอยางชัดเจน การวจิ ัยการตลาดหรือการศึกษาตลาด มีข้นั ตอนในการดําเนนิ งาน ดังน้ี 1) การศกึ ษาโอกาสและสถานการณข องการตลาด เปนการศึกษาเกีย่ วกบั เรื่อง โอกาสทางการตลาด ซง่ึ เปนการศกึ ษาพฤติกรรมผบู ริโภค และ การศึกษาสถานการณทางการตลาด เปนการศึกษาส่ิงแวดลอม ภายในและภายนอกของกจิ การนัน้ ประกอบดว ย (1) การศกึ ษาจุดแข็ง เปน การศึกษาถงึ ขอดหี รือจุดแข็งของสนิ คาหรือบรกิ าร (2) การศกึ ษาจุดออน เปนการศกึ ษาขอ เสียหรือปญ หาทเ่ี กดิ จากองคประกอบทางการตลาด (3) การศึกษาโอกาส เปน การศกึ ษาขอไดเ ปรียบหรือสิ่งทเ่ี อือ้ อํานวยใหแ กก จิ การ (4) การศึกษาอปุ สรรค เปนการศกึ ษาปญ หา อุปสรรคทจี่ ะเกิดขนึ้ 2) การกาํ หนดวัตถุประสงคท างการตลาด เนนวตั ถุประสงคท างดานการผลติ ผลิตภัณฑ ราคา การจัด จําหนาย การโฆษณา และการสงเสริมการตลาดใหสามารถตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคอันจะ นําไปสูการสรางยอดขายและกําไร 3) การเลอื กตลาดเปาหมาย ตอ งคาํ นงึ ถงึ สิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้ (1) โอกาสทางการตลาด (2) ลกั ษณะและความตอ งการของตลาด (3) ขนาดของตลาด (4) ความสามารถขององคกรในการตอบสนองความตองการของตลาดไดอยางมี ประสิทธภิ าพ

69 (5) คูแขง ขนั และผลติ ภัณฑท สี่ ามารถทดแทนได 4) การเลอื กกลุม เปา หมายมหี ลายวธิ ี ดงั น้ี (1) การเลือกกลุมเปาหมายเฉพาะสวน คือ การเลือกกลุมเปาหมายกลุมใดกลุมหนึ่งเพื่อ ศึกษาศกั ยภาพขององคก รในการตอบสนองความตอ งการของลกู คา เปาหมาย (2) การเลือกกลุมเปาหมายหลายสวน คือ การเลือกกลุมเปาหมายมากกวาหนึ่งกลุมและ ทาํ การตลาดพรอ มกัน แตล กั ษณะกจิ กรรมทางการตลาดตา งกัน เพ่ือใหเ กิดความเหมาะสมกับลูกคาเปา หมาย แตละกลมุ เชน บรษิ ทั ทีผ่ ลิตสนิ คา ประเภทเดียวกันในหลายรูปแบบเพ่ือตอบสนองความตองการของลูกคา แตละกลมุ เปา หมาย เปน ตน (3) การตลาดมวลชน คือ การทําการตลาดโดยไมแบงสวนตลาด เนนการผลิตเปน จาํ นวนมาก ตนทุนตาํ่ สนิ คามคี วามแตกตา งกันไมมาก เพ่อื จําหนายใหป ระชาชนท่วั ไป เชน น้ําตาล นาํ้ อัดลม ทราย เหลก็ หนิ ปูนซเี มนต เปน ตน 5) การศึกษาพฤตกิ รรมผูบริโภค คือ การแสดงออกของผูบริโภคที่เกี่ยวกับการแสวงหาสินคาและ บรกิ ารมาเพ่อื สนองความตอ งการของตน และพฤติกรรมผูบริโภค ซึง่ แบง ออกเปน 2 สวนไดแก (1) อุปนิสัยในการซื้อ หมายถึง นิสัยในการซื้อสินคาของผูบริโภค ซึ่งมีคําถามสําคัญ ทนี่ าสนใจในการคนหาลักษณะนสิ ัยของผบู รโิ ภคมดี ังน้ี 1) ผูบริโภคในกจิ การของเราเปน ใคร 2) ตลาดตองการซ้อื สินคาอะไร 3) จะซอ้ื อยางไร 4) ทาํ ไมผูบริโภคจึงตองซือ้ 5) เมอื่ ไรผบู รโิ ภคจะซ้ือ 6) ผบู ริโภคจะซ้ือทีไ่ หน 7) ใครมีสว นรว มในการตดั สนิ ใจซ้อื (2) แรงจูงใจในการซ้ือ หมายถึง สาเหตุที่ทําใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการ แรงจูงใจในการซื้อ มหี ลายประเภท ไดแก 1) แรงจูงใจในตัวสินคา ประกอบดวย แรงจูงใจข้ันปฐมภูมิ เปนการท่ีผูซ้ือ ตัดสินใจซ้ือตัวสินคา เชน ตัดสินใจซื้อตูเย็น แรงจูงใจเฉพาะเจาะจง เปนการตัดสินใจตอจากขั้นปฐมภูมิ คือ ตดั สินใจซอื้ ตเู ยน็ แลวจะเลอื กยีห่ อ แบบ ขนาด สี 2) แรงจูงใจซื้อสินคาจากผูขายประจํา หรืออุปถัมภ เปนแรงจูงใจที่ทําใหลูกคา ตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คาจากรานคา ใด รา นคา หนงึ่ 3) แรงจงู ใจเก่ียวกับเหตุผล เปนการตดั สินใจโดยใชเหตุผลในการซื้อมากกวาการ ใชอารมณ เชน ความประหยัด คงทน 4) แรงจูงใจดานอารมณ การตัดสินใจซื้อดวยการใชอารมณของตนเอง เชน ความภูมิใจ ความสวยงาม ความกลัว

70 5) แรงจูงใจฉับพลัน หรือการซื้อดวยแรงกระตุน เปนการซ้ือสินคาโดยท่ีไมได ตัดสินใจซ้ือมากอน 4. การสงเสริมการขาย หมายถึง การทํากิจกรรม การโฆษณา การขายโดยบุคคล การสงเสริม การขาย และการประชาสัมพันธ กิจกรรมน้ี ดําเนินการโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระตุน ใหผูซื้อตัดสินใจ เลอื กซื้อสินคา หรือรบั บรกิ าร กจิ กรรมการสงเสริมการตลาด นอกเหนอื จากการโฆษณาการขายโดยบุคคล และการประชาสัมพันธ เปนการชวยกระตุนความสนใจ การซื้อของผบู ริโภคหรอื บคุ คลอนื่ ในชองทางการจดั จาํ หนา ย การจัดแสดงในงาน แสดงสนิ คา การแจกของแถม การลดราคา การชิงโชค การแขงขัน การแจกคูปองแจกแสตมปการคา หรือ เนน การขายโดยบุคคล ซ้อื ขายโดยใชพนักงานเปนการสื่อสารโดยตรง แบบเผชญิ หนา ระหวางผูขายและผูมี โอกาสเปนลูกคา พนักงานขายมีความสําคัญมากเพราะผูขายสามารถปรับราคาสินคาหรือคาบริการให สอดคลองกับความตองการของลูกคาได พนักงานขาย ที่เขาพบลูกคาสามารถโนมนาวชักจูงตลอดจนให ขา วสารแกล กู คาไดอยา งเปนกนั เองและยดื หยุนได การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การคนหาเพื่อใหทราบถึงสาเหตุหรืออิทธิพลที่มีตอ การตดั สนิ ใจซือ้ สนิ คา หรอื บริการของผูบริโภค ประโยชนท่ีไดจากการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค ทําให ทราบถึงลักษณะที่แทจริงของตลาดและผูบริโภค ชวยใหผูบริหารการตลาดสามารถวางแผนและปรับ กลยุทธทางการตลาดใหเ ขากบั สภาพความจริงทส่ี ุด นักการตลาดควรนาํ หลกั การวิเคราะหพฤติกรรมผบู รโิ ภค มาปรับใชโดยคํานึงถงึ รายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ผูบริโภคคือใคร ใชหลักการแบงสวนตลาดเขามาประกอบการพิจารณา คือ หลักภูมิศาสตร หลกั ประชากรศาสตร หลกั จติ วิทยา หลกั พฤตกิ รรมศาสตร 2. ความตอ งการของตลาด ผูประกอบการจะตอ งศึกษาวา ผบู ริโภคตองการอะไรจากผลิตภัณฑท่ีซื้อ เชน บางคนใชรถยนตร าคาแพง เพราะตองการความภาคภมู ใิ จ บางคนเลือกรับประทานอาหารในรานหรูหรา นอกจากตองการความอรอยจากรสชาติของอาหารยังตองการความสะดวกสบาย การบริการท่ีดี เปนตน นักการตลาดจะตองวิเคราะหดูวาผูบริโภคตองการซื้ออะไรเพ่ือท่ีจะจัดองคประกอบของผลิตภัณฑให ครบถวนตามทเี่ ขาตอ งการ 3. การตัดสินใจซื้อ ผูประกอบการตองศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจในการซ้ือของผูบริโภคซ่ึง จะตองผานกระบวนการ 5 ข้ันตอน ดงั นี้ 1) ขัน้ เกิดความตอ งการ ผบู ริโภคมีความตองการสินคาและบริการน้ัน ๆ ความตองการน้ี อาจเกิดขึ้นจากตัวกระตุน เชน ความหิว ความอยากได ความอยูร อด ความมีหนามีตา การเลยี นแบบ ฯลฯ 2) ขน้ั แสวงหาขอ มลู เมือ่ เกิดความตอ งการในสนิ คาหรือบรกิ ารนั้น ๆ ผูบ ริโภค จะพยายาม เสาะแสวงหาความรเู ก่ียวกับสินคา และบริการน้ันจากผูใกลชดิ เพือ่ น ครอบครัว เพื่อนบาน การโฆษณาทาง สอ่ื ตาง ๆ ส่ือสารมวลชน ผเู คยใชส ินคานนั้ มาแลว 3) ขน้ั การประเมนิ ทางเลือก เม่ือผูบริโภคไดร ับขาวสารขอมูลท่จี ะใชป ระกอบการตดั สนิ ใจ ซ้อื แลว เขาจะประเมินคาทางเลือกแตละทางเพ่ือการตัดสินใจซื้อการประเมินทางเลือกผูบริโภคมักจะใช

71 ประสบการณของเขาในอดีต ทัศนคติท่ีมีตอรานคาแตละยี่หอหรือฟงความคิดเห็นจากเพ่ือน ๆ เพื่อชวยใน การเลอื ก 4) ข้ันการตัดสินใจซ้ือ หลังจากผานข้ันการประเมินทางเลือกแลวผูบริโภคก็จะเลือก ตราย่ีหอท่ีตนชอบมากท่ีสุด ดังนั้น นักการตลาดจึงตองเพิ่มความพยายามในการใหขอมูลแกผูบริโภค และชวยเหลือแนะนาํ ผูบริโภคในการตัดสินใจซ้ือ 5) ขั้นความรูสึกหลังการซื้อ เมื่อผูบริโภคซื้อสินคาตรายี่หอนั้น ๆ ไปใชแลว หากไดผล ตามที่ตนคาดคะเนไว ยอ มทาํ ใหผ บู รโิ ภคมที ศั นคติทีด่ ตี อ ตราย่หี อน้ันมากยงิ่ ขนึ้ แตถาใชแลว ไมไ ดผ ลตามท่ี คาดไว เขายอ มมที ัศนคตไิ มด ีตอ ตราย่หี อ นนั้ 1.ข้นั เกดิ ความตอ งการ 2.ข้ันแสวงหาขอ มลู 3.ขน้ั ประเมนิ ทางเลือก 5.ข้นั ความรสู กึ หลงั การซื้อ 4.ขั้นตดั สนิ ใจซื้อ การ ภาพแสดงกระบวนการตัดสินใจในการซ้อื กระบวนการตัดสินใจในการซื้อนี้จะเร่ิมจากความรูสึกวาตองการสินคานั้น จนไปถึงความรูสึก หลังการซ้ือ กระบวนการดังกลาวนี้จะกินเวลามากหรือนอย ยากหรืองายเพียงใดข้ึนอยูกับชนิดของสินคา ตวั บุคคลท่ที าํ การซือ้ ผตู ัดสินใจซอ้ื การสงเสริมการตลาด ฯลฯ แตละขั้นตอนของกระบวนการซ้ือ ใชเวลา ไมเ ทากนั และบางครั้งการซือ้ อาจจะไมไ ดด าํ เนินไปจนจบกระบวนการก็ได เพราะผูบริโภคเปล่ียนใจหรือ เกดิ อปุ สรรคมาขดั ขวางทําใหเลกิ ซ้ือ หรืออาจตอ งทอดระยะเวลาในการซือ้ ออกไป 4. ทําไมผบู ริโภคจงึ ซอื้ เปน การพจิ ารณาถึงวัตถปุ ระสงคหรือจดุ มงุ หมายของการซื้อ 5. เมื่อไรผูบริโภคจึงซื้อ นักการตลาดจาํ ตองทราบถึงโอกาสในการซ้ือของผูบริโภค ซ่ึงจะแตกตาง กันตามลกั ษณะสินคาน้ัน ๆ เพ่ือท่ีจะวางกลยุทธทางตลาดไดเหมาะสมกับพฤติกรรม การซื้อของผูบริโภค อาจพิจารณา ดังนี้ 1) การซ้ือสินคาใชประจําวัน เปนสินคาราคาไมแพงและตองซื้อใชบอย ๆ ผูบริโภค มีความคุนเคยกับชนิด ลักษณะรูปรางของสินคาและตราย่ีหอเปนอยางดี การซื้ออาจจะซ้ือเมื่อของหมด หรือเกอื บหมด หรือซือ้ เกบ็ ตุนไวเ พราะถึงอยา งไรกต็ อ งใชอ ยูแ ลว

72 2) กรณีที่ผูบริโภคไมคุนเคยกับตรายี่หอน้ัน ๆ ทั้ง ๆ ท่ีผูบริโภครูจักสินคานั้นดี เชน การรับประทานอาหารนอกบาน การไปเที่ยวตางจังหวัด การเลือกโรงแรมที่พัก ซึ่งจะมีโอกาสซื้อหรือใช บรกิ ารเหลาน้ไี ดใ นชว งวันหยุดสดุ สัปดาหห รือวันหยดุ พกั ผอ นประจําป 3) การวิเคราะหดูวาผูบริโภคจะซื้อสินคาเม่ือไร จะทําใหสามารถกําหนดกลยุทธ ในการ สง เสริมการตลาดไดใ นชว งเวลาทเี่ หมาะสมกับการซื้อ เชน การจัดรายการลดราคา แถมปกเส้ือนักเรียนฟรี หรือซื้อรองเทา นกั เรยี นมสี ทิ ธิซ้ือถุงเทาราคาถูก ในชว งกอ นเปด ภาคเรยี น เปน ตน 6. ผูบ รโิ ภคจะซือ้ ทไี่ หน เปน การถามเร่อื งชองทางการจาํ หนา ย แหลง ขายท่ีเหมาะสม กับสินคา โดย พิจารณาดูวาสนิ คาชนิดนผ้ี บู รโิ ภคมกั จะซอื้ จากท่ไี หน ซ้อื จากหางสรรพสนิ คา ใหญ หรือจากรานขายของชํา ใกลบาน เปนตน 7. ใครมสี วนรวมในการตัดสินใจซอ้ื เปน การถามเพอ่ื ใหทราบถึงบทบาทของกลุม ตา ง ๆ ที่มอี ิทธพิ ล หรอื มสี วนรว มในการตัดสนิ ใจซื้อ โดยสรุปผูประกอบการและนักการตลาดจะตองศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค เพ่ือทราบ ลกั ษณะความตอ งการของผบู รโิ ภค เพือ่ จดั สว นประสมทางการตลาด ไดแ ก ดานผลติ ภณั ฑ ดานการสงเสริม การตลาด ดานแผนการจัดจาํ หนายและการกําหนดราคาใหเหมาะสม การวางแผนการตลาด หมายถึง การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมาย สรางความนาเชื่อถือ ใหก บั กิจการและผทู ่ีจะรว มลงทนุ สามารถอธบิ ายวธิ ีการทจี่ ะดึงดดู และรกั ษาลกู คาทั้งรายเการายใหมไ วไ ด การวางแผนกลยุทธทางการตลาด หมายถึง การกําหนดวัตถุประสงค การเลือกตลาดเปาหมาย การพัฒนากลยุทธเปนการวางแผนระยะยาว ใหเกิดความอยูรอด กําไร ความเจริญเติบโตและความม่ันคง ตลอดไป ประโยชนข อ มูลในดา นการตลาด มีดงั นี้ 1. เกดิ ความเขา ใจในปญหา 2. คาดคะเนความตอ งการได 3. ใชง บประมาณอยา งมเี หตุผลย่ิงข้นึ 4. บรหิ ารงานชดั เจนมเี ปา หมาย 5. ชว ยคนหาปญหาทางธุรกิจ 6. ชวยเพ่ิมผลผลิต 7. การพยากรณสภาวะธุรกจิ 8. ขอมูลเกี่ยวกับตลาด ลูกคา และอตุ สาหกรรมทเ่ี ปน อยู สถานการณป จ จบุ นั และแนวโนมเปน อยางไร 9. ผลติ ภณั ฑคูแขง วิธีการสงเสรมิ การจาํ หนา ยและผลการขยายของคแู ขงขันเปน อยางไร 10. ไดรบั ทราบขอ มูลผลความสําเรจ็ และปญหาที่จะเกดิ จากการขายหรือรายงานการขาย 11. มีโอกาสเปด ตลาดใหม 12. รูก ารเปล่ียนแปลงของคแู ขงขนั 13. รทู นั ทัศนคตแิ ละความตองการของลูกคา และประสิทธิภาพของกลยทุ ธในปจจบุ ัน

73 5. การทําฐานขอมลู ลกู คา 1. ความหมายของการทาํ ฐานขอ มลู ลกู คา หมายถึง ขอมูลจะชวยในการกําหนดสวนตางของการตลาด การกําหนดกลยทุ ธ การตลาดทางตรงไมว าจะเปน กลยทุ ธการสรางสรรคงานโฆษณา กลยุทธส่ือ ตลอดจน ใชใ นการวเิ คราะหข อ มูลตา ง ๆ เปน สิ่งสาํ คญั สาํ หรับการทาํ ตลาดทางตรง เพราะกิจการจะไมส ามารถสื่อสาร หรือเขา ใจถงึ กลุมลูกคา ทค่ี าดหวังได หากปราศจากขอ มลู ลูกคา 2. วตั ถปุ ระสงคการทาํ ฐานขอมลู ลูกคา มีดงั นี้ 1. เพอ่ื ใหทราบถึงความสําคัญของการจดั ทาํ บัญชรี ายชอ่ื ลกู คา 2. เพอ่ื ใหท ราบถึงวธิ ีการเบอื้ งตน ในการจดั ทาํ บญั ชรี ายช่อื ลูกคา 3. เพื่อใหเ ขาใจถึงประเภทของฐานขอมูล 4. เพือ่ ใหทราบถงึ องคป ระกอบของฐานขอมลู ลูกคา 1) การจดั ทาํ บัญชีรายช่อื ลกู คา สามารถดําเนินการไดดงั น้ี (1) กรอกบัตรรายชื่อ การสอบถามช่ือ สกุล ที่อยูของลูกคา โดยเตรียมบัตรสําหรับกรอกช่ือ ท่ีอยู ของลูกคาไวกอน ในขณะท่ีขายสินคาหรือลูกคาติดตอมาใหกรอกบัตรรายช่ือ พรอมเหตุผล เชน เพือ่ แจง ขาวสารการลดราคา เพอื่ ใหบ รกิ ารหลังการขาย หรือเพื่อจัดทําบัตรสวนลด บัตรสมาชิกใหในภายหลัง จะชวยใหลูกคายินดีที่จะใหขอมูลมากยิ่งขึ้น หรืออาจมีแบบฟอรมใหลูกคาที่สนใจซ้ือกรอกขอมูล พรอ มการสั่งซือ้ จากส่อื ตา ง ๆ (2) การสอบถามขอมูลจากลูกคาโดยตรง อาจใชวิธีใหพนักงานขายเปนผูกรอก โดยสอบถาม ขอมูลตาง ๆ จากลูกคา พนักงานขายจะตองช้ีแจงกอนเสมอ ซ่ึงพนักงานขายหรือพนักงานรับโทรศัพท เปนผกู รอกบัตรรายชอื่ เอง (3) รวบรวมรายช่อื จากงานแสดงสินคา หรือนทิ รรศการ จากผเู ขาชมงานนทิ รรศการหรอื งานแสดงสินคาตาง ๆ ก็เปนอีกกลุมหน่ึงท่ีมีความสนใจ การจะไดขอมูลของคนกลุมน้ี อาจตองมีการจัด ตั้งโตะพเิ ศษ พรอ มเขียนประกาศแจงใหก รอกชื่อและท่ีอยู เพอ่ื ทางกจิ การจะไดสงของรางวลั บางอยางไปให หรอื เพ่ือจับฉลากชิงโชครางวัล จะชวยใหคนกลุมน้ียินดีกรอกรายละเอียด (4) การบริการหลงั การขาย สนิ คา บางประเภทตองมบี รกิ ารหลงั การขาย โดยทั่วไปจะมี บัตรรับประกันสินคาดวย ซ่ึงลูกคามักจะยินดีกรอกรายละเอียดทุกอยางอยูแลว จึงเปนฐานขอมูลท่ีดีและ รายละเอียดมากกวาบัตรของลูกคาท่ีแสดงขางตน สวนรายละเอียดที่จําเปนท่ีควรจะไดจากลูกคาจะได กลา วถงึ ในหัวขอถัดไป (5) การจดั สงใบสง ของขวัญในชวงเทศกาลหรือวาระพเิ ศษ บางคนอาจนิยมสัง่ ซื้อ สินคาใหเปนของขวัญแกบ คุ คลอื่นโดยอาจจะมอบหมายใหท างกจิ การผูจําหนายเปนผจู ัดสง ใหดวย ดงั นั้น จงึ ควรถือโอกาสน้ีในการขอรายละเอียดเก่ียวกับชื่อ ท่ีอยูของผูซื้อ และผูรับไวเพ่ือเก็บเปนหลักฐานขอมูล และการจดั ทาํ บญั ชีรายชอ่ื ลูกคา ตอ ไป

74 (6) การสงบัตรกํานัล หรอื แบบสอบถามในกรณที ี่มีการแจกบตั รลดราคา บัตรแลกตัวอยาง สนิ คา ฟรี หรือแบบสอบถามใหแกลูกคา เม่ือลูกคานําบัตรเหลานั้นมาใชบริการ ทางกิจการควรบันทึกชื่อ- ท่ีอยูข องลูกคา ไว (7) บัตรเครดติ เมื่อลูกคา ชาํ ระคา สินคา หรอื บริการทางกิจการกส็ ามารถจดชื่อ - ทอ่ี ยู ของลูกคา ไว (8) การแนะนาํ ตอ ของลกู คา เม่ือมีลกู คาประจาํ อาจขอใหลูกคา แนะนําชื่อ-ท่อี ยขู องบคุ คล ใกลชิดของลูกคาที่คิดวานาจะสนใจสินคาหรือบริการของทางกิจการใหหรืออาจสรางส่ิงจูงใจใหเกิด การแนะนาํ รายชอ่ื ใหกจิ การ เชน หากลูกคาไดรับแคตตาล็อกของกิจการแนะนําช่ือ - ที่อยู ของเพื่อนมาได 4 รายชื่อจะมขี องสมั มนาคณุ สง ใหถ ึงบา นฟรี เปน ตน 1) ประโยชนก ารทาํ ฐานขอมูลลูกคา มีดังน้ี (1) มขี อ มลู ลกู คา กลมุ ทท่ี ํากาํ ไรไดม าก (2) สามารถทําใหธรุ กจิ อืน่ ๆ กับกลมุ ลูกคาทีม่ อี ยูไ ด (3) สามารถระบคุ ดั เลอื กลกู คา ทม่ี ุงหวงั ไดช ดั เจนมากข้ึน (4) สามารถกาํ หนดกลยุทธท จี่ ะเปลยี่ นลกู คา ที่มุง หวงั ใหเ ปนลกู คา ของกจิ การ (5) มีขอ มลู ในการทาํ กจิ กรรมกับลูกคา (6) สามารถพัฒนาการสงเสรมิ การตลาดที่เหมาะสมได (7) สามารถสรา งโอกาสใหม ๆ ทางการตลาด (8) สามารถพัฒนากลยุทธทีจ่ ะดึงดดู ลกู คา กลมุ น้ี (9) สามารถวดั ประสทิ ธิภาพของโฆษณา และการสงเสริมการตลาด (10) ลดการสญู เสียและสามารถเพ่มิ ผลผลติ (11) ประเมินผลสาํ เร็จในกจิ กรรมสงเสริมการขายได (12) ลดตน ทนุ และเพ่มิ ปรมิ าณการขายเปนตน 6. การกระจายสนิ คา การกระจายสินคา ในวงการธุรกิจปจจุบันนักการตลาดใหความสําคัญเก่ียวกับการกระจายสินคา ไมนอยกวา ตวั แปรอน่ื ๆ ในดา นการตลาด หากผลิตภัณฑเปนท่ีตองการของตลาด แตระบบการกระจายสินคา ไมดี เชน สงสนิ คาผิดพลาดลา ชา ผดิ สถานท่ี เปนตน เปนความสญู เสียอันย่งิ ใหญ เพราะทําใหย อดขายลดลงและ สญู เสียลกู คา 1) จดุ ประสงคของการกระจายสินคา คอื การจดั สง สินคาใหลูกคาไดถูกตอง ไปยังสถานที่ ทถ่ี ูกตองในเวลาท่เี หมาะสม โดยเสยี คา ใชจ า ยนอ ยท่สี ุด ตลอดจนการใหบริการลูกคาที่ดีทีส่ ุด 2) บทบาทและความสําคัญของการกระจายสินคา เปนการเช่ือมโยงระหวางผูผลิต กับผูบริโภคหรือกลาวไดวาการที่นําสินคาออกจําหนายใหผูบริโภคทันตามเวลาที่ตองการกระจายสินคา จึงมีความสาํ คัญทีผ่ ปู ระกอบการจะตองระมัดระวังในเร่ืองตอ ไปนี้

75 (1) สนิ คา ท่ถี กู ตอง (2) เวลาท่ีถูกตอ ง (3) จํานวนที่ถกู ตอง (4) สถานที่ท่ีถูกตอ ง (5) รูปแบบที่ตอ งการ การจดั การกระจายสนิ คา คอื การนําสนิ คา ไปถึงมือผบู รโิ ภคหรอื ลูกคา ซึง่ การกระจายสนิ คาเกี่ยวของกบั การงานในหนา ทอ่ี ่นื ๆ ไดแ ก การเริ่มตนจากการพยากรณการขายซ่ึงเกี่ยวกับการวางแผนการจัดจําหนาย และ การวางแผนการผลิตสว นการกระจายสนิ คา หมายถงึ การบรหิ ารระบบการขนสง ระบบชองทางการจดั ซือ้ ระบบ ชอ งทางการจดั จาํ หนา ยระบบสินคาคงคลัง เพื่อใหไ ดมาซึ่งประสิทธิภาพ ในการจัดซ้ือวสั ดุ วัตถดุ บิ เพ่อื การผลิต และเพื่อใหไดมาซงึ่ ประสิทธิภาพทางการตลาดทจี่ ะขายสินคาสําเรจ็ รปู และบริการสูม อื ผูบรโิ ภค 3) แนวคิดทางการตลาดมงุ การผลติ ปจจุบันธุรกจิ มงุ ใหความสนใจแนวคดิ ทางการตลาด มุงการขาย เกอื บท้งั หมด แตแนวคิดการตลาดทางการศกึ ษา สามารถแยกไดเปน 2 แนวคดิ คือ (1) แนวคิดมุงการผลิต คือ การมุงถึงการจัดทรัพยากรในการสรางผลิตภัณฑนําออกขาย และสน้ิ สุดทีก่ ารนําเสนอขายสนิ คาทีม่ ีอยู (2) แนวคดิ มงุ การตลาด คือ แนวทางการผลิตทล่ี ูกคาตองการดจู ากความตอ งการของลูกคา เปน หลกั เพ่ือตอบสนองความตองการเหลาน้นั ใหส มบรู ณที่สดุ กิจกรรมทางการตลาดเปน หนา ทผ่ี ปู ระกอบการและนักการตลาดจะตองดําเนนิ การใหบ รรลุ เปาหมายที่วางไว ซง่ึ มีแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ (1) วิเคราะหสภาพแวดลอมและการวจิ ัยตลาด โดยการตรวจสอบผลกระทบทีเ่ กิดจากภาวะ เศรษฐกิจและการแขงขันที่มผี ลตอการตลาด (2) วเิ คราะหผบู ริโภค โดยการประเมินความตองการกระบวนการซ้อื ของผบู รโิ ภคใหเขา ใจ (3) วางแผนการผลติ และบรกิ าร โดยการพัฒนา รกั ษาผลิตภณั ฑ ตรา การหีบหอ รวมทงั้ การ ยกเลกิ ผลิตภณั ฑบ างอยาง (4) วางแผนเกีย่ วกบั ราคา โดยการกาํ หนดชวงราคา เทคนิคการตงั้ ราคา และการใชราคาเปน ตัวรกุ หรอื ตง้ั รบั (5) วางแผนการจัดจาํ หนาย โดยการกาํ หนดชอ งทางการจําหนาย การขนสง การเก็บรักษา การแยกแยะ การคา สง การคา ปลกี (6) วางแผนการสง เสรมิ การจําหนาย โดยการโฆษณาการขายโดยบคุ คลและการประชาสัมพนั ธ (7) พิจารณาความรับผิดชอบตอสังคม โดย มีความรับผิดชอบในแงความปลอดภัย ความมีศีลธรรม และเนน ประโยชนค ณุ คาของสนิ คา และบรกิ าร (8) บริหารการตลาด โดย การวางแผนทางการตลาด การประเมินถึงความเส่ียงและ ประโยชนของการตดั สินใจทางการตลาด

76 เรื่องท่ี 2 การจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ าร การจดั ทําแผนปฏิบตั กิ าร เปน กระบวนการจัดการทเ่ี ปนระบบในการประเมินโอกาสและทรัพยากร ทางการตลาด ที่สรางและรักษาความเหมาะสมระหวางวัตถุประสงคขององคกรกับทรัพยากรท่ีมี รวมทั้ง โอกาสทางการตลาดทีเ่ ปลยี่ นแปลงในระยะยาว เปาหมายของการวางแผนปฏบิ ัติการทํากําไร และการเติบโต ในระยะยาว การตัดสินใจทาํ แผนปฏิบตั กิ ารจึงใชทรัพยากรในระยะยาว การจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการ ควรนํากลยุทธม าใชเพอ่ื มงุ ตอบคําถาม 2 ขอ คือ (1) จะทาํ อะไรเปน กิจกรรมหลกั ในขณะน้ี (2) กิจการจะบรรลเุ ปาหมายไดอยา งไร การวางแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ จะทาํ ใหพ นกั งานทกุ คนไดรวู าจะปฏิบตั ิใหบ รรลเุ ปา หมายในระยะ ยาวไดอยา งไร แผนการตลาดเปนเอกสารทเี่ ขียนขึ้น เพ่ือใชเปนเสมือนหนังสือนําทาง สําหรับกิจกรรมทาง การตลาด แกผจู ดั การฝายการตลาด แผนการตลาดจะระบุวัตถปุ ระสงค และกิจกรรมท่ีตองทําเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคนั้น การตลาด ถือเปนกิจกรรมทีย่ ากท่สี ุด ที่พนกั งานและผูบริหารเขาใจรว มกันและทําเพอ่ื นําไปสูเ ปา หมายรวมกันดงั น้ี 1. การเขียนแผนการตลาดที่ชัดเจนเปนงานที่ตองใชเวลา แตเปนพ้ืนฐานในการสื่อสารภายใน องคก าร 2. แผนการตลาดจะทาํ ใหพ นกั งานทุกคนทราบวา ตนมคี วามรับผดิ ชอบอะไร ตองทาํ อะไร มีกรอบ เวลาในการปฏบิ ัตงิ านอยา งไร 3. แผนการตลาดบงบอกวัตถุประสงคและแนวทางการจัดสรรทรพั ยากรเพ่อื ใหบรรลวุ ัตถุประสงค 4. แผนการตลาดเปน กรอบความคิดและใหท ิศทาง สวนการนาํ ไปปฏิบตั ิเปนการทํางานในลักษณะ ทจี่ ัดการกับปญ หา โอกาส และสถานการณ 5. แผนการตลาดแสดงขั้นตอนงานท่เี รียงเปนลําดับกอนหลังก็จริง แตข้ันตอนเหลาน้ันอาจเกิดขึ้น พรอมกันหรือประสานกันได การเขียนแผนมีหลายรูปแบบ ข้ึนอยูกับองคกร พันธกิจ วัตถุประสงค กลุมเปา หมาย และสว นประสมทางการตลาดขององคกรน้ัน

77 ข้ันตอนของการทาํ แผนการตลาด มดี ังนี้ การกาํ หนดพันธกิจขององคกร การระบวุ ัตถุประสงคท างการตลาด การวเิ คราะหสถานการณ การสรางกลยทุ ธทางการตลาด การนาํ แผนไปปฏิบตั แิ ละการควบคุม ภาพองคป ระกอบของแผนการตลาด การกําหนดพันธกิจขององคกร เปนส่ิงท่ีทําใหเราไดทราบวาองคกรนั้นทําธุรกิจอะไร และสิ่งใด ทําใหธุรกิจแตกตางจากคูแขง องคกรมีวัตถุประสงค ปรัชญาและภาพลักษณเปนอยางไร การกําหนด พันธกิจควรเนนประโยชนท ่ลี ูกคา จะไดรบั ลกั ษณะของพันธกิจที่ดี ตอ งสะทอนวิสัยทัศนขององคก ร การระบุวัตถุประสงคทางการตลาด เปนขอความที่ระบุเปาหมายท่ีองคกรตองการบรรลุ โดยใชกิจกรรมทางการตลาด วตั ถปุ ระสงคท่ดี คี วรมลี ักษณะท่ีเรยี กวา “SMART” คือ 1. เจาะจง (Specific) คอื มคี วามเฉพาะเจาะจง ชัดเจน ตอ งการผลออกมาในรูปใด 2. วดั ได (Measurable) คอื วัตถุประสงคต องวัดได ทงั้ ในดานปริมาณและคุณภาพ 3. บรรลุได (Achievable) คือ มลี กั ษณะจูงใจ อยบู นพ้นื ฐานของความจรงิ มีความสม่ําเสมอ 4. สัมพนั ธกนั (Relevant) คือ ตอ งมคี วามสอดคลอ งกับนโยบายของบริษทั 5. ระบเุ วลา (Time-bound) คือ องคก รตอ งบอกวา กิจกรรมนน้ั จะเรม่ิ และสิ้นสดุ เวลาใด วัตถุประสงคทไ่ี มมกี รอบเวลาทเ่ี รม่ิ ตน และเวลาสน้ิ สดุ สว นใหญแ ลวจะไมมีโอกาสบรรลุได การวิเคราะหส ถานการณ เปนกิจกรรมทีผ่ ทู ําการตลาด ตอ งเขาใจสภาพแวดลอ มปจ จบุ นั และ อนาคตสาํ หรบั ผลิตภณั ฑ การวเิ คราะหสถานการณ หรืออาจเรียกวา การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอปุ สรรค โดยใชเทคนคิ วิเคราะหSWOT (SWOT Analysis)

78 การสรา งกลยุทธทางการตลาด เปนการเลือกตลาดเปาหมายและสรางสวนประสมทางการตลาด เพื่อใหเกดิ ความพึงพอใจแกต ลาดเปา หมายขององคกร ซึง่ ประกอบดว ย 3 ประการ คอื การบรรลุเปาหมาย การสรา งสวนประสมทางการตลาด และการวางตาํ แหนงของผลิตภัณฑ การนําแผนไปปฏิบัติและการควบคุม เปนกระบวนการที่ผูทําการตลาด ตองดําเนินงาน ตามแผนการตลาดที่วางไว ดวยความม่ันใจวาจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ซึ่งรายละเอียดในแผน จะระบกุ ิจกรรม เวลา งบประมาณ ซ่งึ ตองมีการส่ือสารที่ดี เมื่อนําแผนการตลาดไปปฏิบัติแลว จะตองมีการประเมินเพ่ือใหทราบวาไดดําเนินการบรรลุ ตามวัตถุประสงคเ พียงใด มอี ะไรท่ีควรแกไข การวางแผนมีความสัมพันธใกลชิดกับการควบคุม เนื่องจาก แผนไดร ะบถุ งึ สิง่ ทีอ่ งคก รตอ งการบรรลุ

79 กจิ กรรมท่ี 1 1. ใหนักศึกษาแบงกลมุ ๆ ละ 5 คน เลือกประธาน เลขา และผนู าํ เสนอของกลุม 2. ใหนักศึกษาคนหาอาชีพในชุมชนมา 1 อาชีพแลวรวมกันจัดทําแผนการตลาด โดยใชความรู จากทไ่ี ดเ รยี นมา พรอ มทัง้ อธบิ ายเหตผุ ลของการทําแผนแตล ะขน้ั ตอน 3. ใหผูแทนกลมุ นําเสนอ ผลการดาํ เนินงานกลมุ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

80 บทที่ 6 การขับเคล่อื นเพ่อื พฒั นาธุรกิจ สาระการเรยี นรู การขบั เคล่ือนเพอื่ พฒั นาธรุ กิจ เปนกระบวนการเรียนรูท่ีมุงเนนการสงเสริมการแกปญหา การแสวงหาความรู การบริหารจัดการทรัพยากรพัฒนาชุมชน การจัดทําแผนและการขับเคล่ือนแผน โดยตนเอง ดวยกระบวนการคิด วิเคราะห ใหเกิดเปนรูปธรรม จากการพออยูพอกินไปสูความพอเพียง จนบรรลุความเขมแขง็ ยง่ั ยืนทส่ี ามารถบอกตนเองไดวา สงั คม ครอบครวั มีความอบอนุ เศรษฐกิจมีความพอเพยี ง และมีการดํารงชวี ิตในส่งิ แวดลอมที่ดี ตัวชีว้ ดั 1. วเิ คราะหความเปน ไปไดข องแผนพฒั นาธุรกจิ 2. พัฒนาแผนพัฒนาอาชีพ 3. ขัน้ ตอนการขบั เคล่ือนแผนพัฒนาอาชีพ 4. อธิบายปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ขท่เี กดิ จากการขบั เคลื่อนแผนธรุ กิจ ขอบขา ยเนื้อหา เร่ืองที่ 1 การวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี เรอ่ื งที่ 2 การพฒั นาแผนพฒั นาอาชีพ เรอื่ งท่ี 3 ขน้ั ตอนการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาอาชพี เรือ่ งที่ 4 ปญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไ ขท่ีเกิดจากการขับเคล่ือนแผนธุรกจิ

81 เรื่องที่ 1 การวิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนพฒั นาอาชีพ 1. องคป ระกอบการวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชีพ เปนการสรางความเช่ือมั่นและ ความมน่ั ใจวาแผนพฒั นาอาชพี มที ศิ ทางการพฒั นาถกู ตอง สัมพันธกบั ศักยภาพของชุมชน มคี วามเปนไปไดสูง ในการพฒั นาอาชพี โดยการวิเคราะหความเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี มอี งคประกอบ ดังนี้ 1. ทนุ ทม่ี อี ยูของชมุ ชน 1) ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ เชน ดินเหนยี ว ทราย แหลงนาํ้ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เปนตน 2) ทุนทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ไดแ ก - ทนุ ทางศาสนา เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา พระพุทธรูปสําคัญ และ ประวตั คิ วามเปนมา พระนักปฏิบัติ พระนักเทศน เปนตน - ทนุ ทางศลิ ปะ เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา ศลิ ปะ ผา และเครื่องแตง กาย ชน้ิ งานศลิ ปหตั ถกรรม การละเลน พ้นื บาน เปน ตน - ทุนทางวัฒนธรรมประเพณี เชน การทําบุญตักบาตรตามประเพณีทองถิ่น เทศนมหาชาติ แหเ ทียนเขาพรรษา เปน ตน 3) ทุนทางปญ ญาของชมุ ชน เปน องคความรูที่มีอยูในชุมชน เชน สูตรขนมหมอแกง ของจงั หวดั เพชรบรุ ี สูตรการทําปลาสมของบานกลวย อําเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี รวมถึงผูรู หรือ ผูทรง ภูมิปญญา เชน พอคําเดื่อง จงั หวดั บุรีรมั ย ครูสมหมาย จังหวัดลพบุรี เปนผูทรงภูมิปญญาดานเกษตรกรรม ธรรมชาติ ครบู าสุทธินนั ท จงั หวัดบรุ รี ัมย ทานสมนะเสียงศลี จงั หวัดสิงหบุรี เปนผูทรงภูมิปญญา ดานการ จัดการส่ิงแวดลอม เปน ตน 2. ความสามารถหลักของชมุ ชน การพัฒนาอาชีพของชุมชน สงิ่ สําคญั ทตี่ อ งวิเคราะห คือ ความสามารถของชุมชนใหถองแท จึงจะทําการกําหนดกลยุทธ การสรางคุณคา และการเจริญเติบโต รวมถึงการสรางความสามารถใน การแขงขันอยางยั่งยืนตอไปไดถูกตองและเหมาะสม เชน บานทับพริกเปนชุมชนที่มีความสามารถใน การปลูกหนอไมฝรั่ง มะละกอ ถั่วพู และพริก ทําใหเห็นวาบานทับพริกเปนแหลงรวบรวมความสามารถ หลักทางการเกษตร เก่ียวกับความรู วิธีการผสมผสานความชํานาญและเทคโนโลยีการผลิตผลผลิตท่ี หลากหลายเขา ดวยกนั การวิเคราะหความสามารถหลักของชมุ ชน สามารถพจิ ารณา ไดด งั น้ี 1) ความสามารถหลักเปนการเพิ่มศักยภาพ ทําใหชุมชนนําผลิตภัณฑเจาะตลาดไดอยาง หลากหลาย 2) ความสามารถหลกั จะเปนประโยชนตอ ลูกคาอยางมากในการซอื้ สินคาของชุมชน 3) ความสามารถหลกั เปน สงิ่ ทค่ี ูแขงเลียนแบบไดยาก

82 3. ความตองการพัฒนา เกิดจากการมองเห็นอยางลึกซ้ึงของคนในชุมชน บนฐานขอมูลภายในตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน สามารถระบุออกมาไดทนั ที และตรงกับความเปนจริง ความสําคัญ การวิเคราะหความตองการ พัฒนา ถึงแมจะมีการสํารวจ สอบถาม จากคนภายในชุมชนแตจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ อาจจะมีผลใหการสํารวจทั่วไปที่พยายามจะดึงขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคมครัวเรือน ออกมา ประมวลผล วเิ คราะหแ ลวแปลความหมาย นาํ มาใชทําแผนเพ่ือการพัฒนาจึงมีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน ตอการพฒั นา ดงั น้ัน เพ่ือใหเกิดความเที่ยงตรงสอดคลองกับสภาพความเปนจริงมากท่ีสุด การวิเคราะห ความตอ งการพฒั นาสามารถดาํ เนนิ การไดดังนี้ 1) เปดเวทีประชาคม ทําความเขาใจ ระบุความตองการความจําเปน เพ่ือใชเปนขอมูล ในการจัดทําแผนพฒั นาอาชพี ซงึ่ ขอมลู ประกอบไปดวย (1) ดา นเศรษฐกิจ เปา หมายทางเศรษฐกจิ ของครอบครัว การสรา งความพออยพู อกิน การสรา งรายไดสะสมทุน การขยายพัฒนาอาชพี (2) รายไดคาดหวังและพอเพยี งตามสภาพที่ทาํ ไดจรงิ ดว ยตนเอง (3) ทนุ ทีม่ ีอยู มีที่ดิน จาํ นวนเทาไร มีแรงงานทท่ี าํ ไดจริง จํานวนกคี่ น มเี งนิ ทุนเพียงใด 2) นาํ ขอ มลู แตล ะดานมาสรุป วิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนพฒั นาอาชพี

83 เรื่องที่ 2 การพฒั นาแผนพัฒนาอาชพี การพฒั นาแผนพัฒนาอาชีพ เปนการนําขอมูลจากการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนา อาชีพ มาจัดระบบและรายละเอียดใหมีความเหมาะสม ท่ีจะดําเนินการไดตามศักยภาพของตนเอง ตามแผนภูมิ ตอ ไปนี้ การพฒั นาแผนพฒั นาอาชพี ทาํ ความ ออกแบบ กาํ หนดตัว การจดั การ ตรวจสอบ เขา ใจแผน ระบบ บงชี้ ความรู สภาพใน ใหรูเทาทัน ปฏบิ ตั ิการ ขับเคล่อื น กิจกรรม (2) ความสาํ เร็จ (4) (1) (3) (5) ตรวจตดิ ตามแกไ ขขอ บกพรอ ง (6) สรุปเสนอ การพฒั นาสู จดั ระบบสารสนเทศ ผลงานตอ ความมัน่ คง สง เสริมการดาํ เนินงาน สาธารณะชน และยงั่ ยนื และรายงานผล (7) (8) (9) 1. ทาํ ความเขาใจแผนพัฒนาโดยใหป ระชาชนทั้งชุมชน ไดรวมเรียนรูเปนการสรา ง ความเขาใจเพ่ือใหเกิดการมสี วนรว มในการปฏิบัตกิ ารแกปญหาตามแผน 2. ออกแบบระบบปฏิบัติการตามแผน เพื่อใหมองเห็นรายละเอียดของเปาหมาย การดาํ เนินการ กระบวนการ และกาํ หนดนโยบายเพ่ือใชดําเนินงานใหเกิดประสทิ ธภิ าพ 3. กําหนดตวั บงชีค้ วามสาํ เร็จ โดยการกําหนดตัวบง ชค้ี วามสาํ เรจ็ ของกิจกรรมท่ีกําหนดไว ในแผนพัฒนา 4. จัดการความรูขับเคล่ือนระบบปฏิบัติการสูความสําเร็จ โดยการสงเสริมใหผูนําชุมชน เปนผจู ดั การความรูขบั เคล่ือนสูความสาํ เรจ็

84 5. ตรวจสอบสภาพภายในกิจกรรม โดยจัดการเรียนรูไหประชาชนมีทักษะตรวจสอบ สภาพภายในกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง 6. การตรวจติดตาม แกไขขอบกพรอง การดําเนินงานตามแผน โดยการสงเสริมใหผูนํา ชมุ ชนไดปฏบิ ตั ิการ ตรวจติดตามและแกไขขอบกพรอ งการทาํ งานตามแผน 7. การเสนอผลงานตอสาธารณชน จัดกิจกรรมสงเสริมผูนําชุมชนและประชาชนไดมี การแลกเปล่ียนเรียนรู และสรปุ ความรูพ รอ มการนําเสนอผลการดําเนนิ งาน 8. การพัฒนาสูความมั่นคงยั่งยืน ผูนําชุมชนและประชาชนรวมกันวิเคราะห กําหนด วางรากฐานของความมน่ั คงและยงั่ ยนื 9. จัดระบบสารสนเทศ สงเสริมการดําเนินงานใหผูนําชุมชนและประชาชนรวมกัน นําองคความรูจากกิจกรรมตาง ๆ ของกระบวนการมาจัดเปนระบบสารสนเทศพรอมนํามาบูรณาการ ประยุกตใ ชกับการทํางานของตนเอง เร่อื งท่ี 3 ข้นั ตอนการขบั เคล่ือนแผนพฒั นาอาชีพ ขนั้ ตอนการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาอาชีพ ผนู าํ ชุมชน ภาคีพัฒนา คณะทํางานและประชาชน ตอ งรวมกันดาํ เนนิ การใน 3 ประเด็น คอื ประเด็นที่ 1 การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนปฏิบัติการ ประเด็นที่ 2 การพัฒนาแผนปฏบิ ัตกิ าร ประเดน็ ท่ี 3 จัดการความรูการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ัตกิ ารสูความสาํ เรจ็ โดยการดําเนนิ งานในแตละประเด็นมีรายละเอียด ดงั นี้ 1. การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ เปนการพิจารณารวมกันของผูเรียน ผนู ําชุมชน คณะทาํ งาน ประชาชน และภาคเี ครือขา ย ความเหมาะสมของแผนปฏบิ ตั ิการกับสภาพความเปนจริง ของชมุ ชนโดยพจิ ารณาจาก 1.1 การรบั ไดข องประชาชนในชมุ ชน 1.2 การเห็นดว ยของประชาชนในชมุ ชน 1.3 ความพรอมของทรพั ยากรทม่ี ีอยใู นชมุ ชน 1.4 ความจาํ เปนทีจ่ ะตองนําเขา ทรพั ยากรจากภายนอกชุมชน 2. การพัฒนาแผนปฏิบัติการ เปนการนําขอมูลจากการวิเคราะหความเปนไปได ของแผนปฏิบัติการ มาปรับปรุงหรือพัฒนาเพ่ือใหแผนปฏิบัติการมีความเหมาะสมท่ีจะดําเนินการได ตามศกั ยภาพของชมุ ชน 3. จัดการความรูการขับเคล่ือนแผน การจัดการความรูขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการ สูความสําเร็จ ครูการศึกษานอกโรงเรียน ผูเรียน ผูนําชุมชน ประชาชน และภาคีพัฒนา จะตองรวมกัน ดําเนินการโดยมกี ระบวนการขัน้ ตอน ดังนี้

กระบวนการจดั การเรยี นรู 85 (1) กาํ หนด (2) แลกเปลี่ยน สู ความรู เรยี นรสู รปุ เปน ความ วเิ คราะห ทจี่ ะตองใช แสวงหา สําเร็จ โครงการ ทาํ งาน ความรู องคค วามรู กิจกรรม ในชุมชน เพอื่ ใชท าํ งาน ทองถน่ิ หหาคาควาวมามรไูรมไู มไดได  (3) - สรางองค ประยุกตใช ประเมนิ ความรู ความรู คุณภาพ ขบั เคลื่อน การ - นําความรู โครงการ/ ทํางาน เขา (4) ตรวจติดตาม คุณภาพการทาํ งาน 1) การวิเคราะหโครงการ กิจกรรม นําโครงการ กิจกรรมท่ีกําหนดไวมาวิเคราะหวา โครงการ กจิ กรรมใดบางทม่ี ีองคค วามรู พรอมดําเนนิ การไดทันที โครงการ กิจกรรมใดบางที่มีองคความรู ไมเพียงพอท่ีจะดําเนินการ จําเปนที่จะตองใชกระบวนการการจัดการความรูมาสนับสนุนการเรียนรู กอนการดําเนนิ งาน เพอื่ ใหสามารถขบั เคลอื่ นได 2) กระบวนการจัดการความรู การขับเคลื่อน โครงการ กิจกรรมดวยการนําส่ิงท่ีจําเปน มาดําเนินการดวยกระบวนการจดั การความรปู ระกอบดวยกจิ กรรม ดงั น้ี 2.1 กาํ หนดความรูทต่ี องใชท าํ งาน ดว ยการนําสิ่งท่จี ะตองทาํ มาวิเคราะหวาจะตองใช ความรูหรือเรียนรูอะไรบา ง จงึ จะสามารถดําเนนิ การได ดงั ตวั อยา ง

86 โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ความรูท่ตี องใชงาน 2.2 การแสวงหาความรใู นชุมชน ทอ งถิน่ ดว ยการแบงกลุมงานรับผิดชอบนําหัวขอความรู ท่ีตองใชไปแสวงหาความรูจากแหลงความรู สถานประกอบการ ผูรู ฯลฯ โดยวิธีการตาง ๆ เชน การถอดบทเรยี น การฝก ทักษะประสบการณ จนมคี วามกระจางในความรู 2.3 ในกรณีท่ไี มส ามารถแสวงหาความรูใ นชุมชนทองถ่ินได อาจจะดําเนนิ การไดโ ดย 1) ประชาพจิ ารณ ดวยการรวมกันคิดหาเหตุผล รวมกันกาํ หนดวธิ ีทาํ รวมกนั ทดลองพัฒนา วิธกี าร สรุปเปนองคความรูของชุมชน นาํ ไปประยกุ ตใช 2) นําเขา องคค วามรู ความรบู างเรอ่ื งจําเปนตองใชผ ูเชย่ี วชาญเฉพาะ และจําเปน ตองรจู ริง ๆ ก็ควรเชญิ ผูเช่ยี วชาญมาใหค วามรู หรือไปศกึ ษาหาความรจู ากผเู ช่ยี วชาญเฉพาะจากภายนอกชมุ ชน 2.4 การแลกเปล่ียนความรู ดาํ เนินการตอ เน่ืองจากการแสวงหาความรูของกลุมตาง ๆ ดวยการ ใหกลุมมาแสดงขอมูลความรูท่ีไดรับมาแลว รวมกันวิเคราะหหาจุดรวม จุดเดน ดัดแปลงวิธีการ จัดเปน ความรใู หมเพือ่ ใชท าํ งาน 2.5 ประยุกตใ ชความรขู บั เคล่ือนโครงการ กิจกรรม เปนขั้นตอนการทํางานตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม ดว ยการนําความรูทจ่ี ัดไวเขา ไปใชดําเนนิ งานในแตละขัน้ ตอน 3) การตรวจติดตามคุณภาพการทาํ งาน มขี ้ันตอนทาํ งาน ดังน้ี (1) จดั ตัง้ ใหมีคณะผูตรวจตดิ ตาม จํานวน 3-5 คน ศึกษา ทบทวนโครงการ กิจกรรมทงั้ หมด ใหเขาใจวา ตอ งทาํ อะไร (2) จดั ทาํ แผนการตรวจตดิ ตาม พจิ ารณาวา ควรจะตรวจติดตามโครงการ กจิ กรรมใด เมอ่ื ไร และมีจุดเนน ทีใ่ หความสาํ คญั กบั เรอื่ งใดบาง (3) ทําความเขาใจรวมกนั ใหชัดเจนวา การตรวจตดิ ตามไมใชการจบั ผิด แตเปนการรวมกัน ระหวางผูตรวจติดตามกับคณะทํางานในการหาขอบกพรองท่ีจะทําใหงานเสียหายหรือคุณภาพตํ่าลง แลว ชวยกันแกไขขอ บกพรอง (4) การประเมินคุณภาพการทํางาน ดวยการเปดเวทีประชาคมใหคณะผูตรวจติดตาม และคณะทํางานแตละโครงการ กิจกรรมรวมกันเสนอสภาพและผลการดําเนินงานตอเวทีประชาคม เพื่อใหป ระชาชนไดรบั รแู ละมสี วนรว มในการสงเสริมในเรือ่ งอะไรบาง และจะกา วไปขางหนา อยางไร

87 เร่อื งท่ี 4 ปญ หาอปุ สรรคและแนวทางแกไขทเ่ี กดิ จากการขับเคลือ่ นแผนธรุ กิจ ในการดาํ เนนิ การขบั เคล่ือนแผนธุรกิจ เปนขั้นตอนการดําเนินงานตอเน่ือง ซ่ึงในระหวาง การดาํ เนินงานอาจมีปญหาและอปุ สรรคได ดงั นน้ั เพ่อื เปน การควบคุม ปญหาอุปสรรค และหาแนวทางแกไข ไดท ันตอ เวลา ไมป ลอยใหเกดิ ความเสียหาย จึงควรดาํ เนนิ การ ดังน้ี 1. ตรวจสอบปญ หา อุปสรรคจากสภาพภายในของกจิ กรรม 1) ทําความเขาใจ ในโครงการ กิจกรรม ของตนเองวาจะตองตรวจสอบปญหา อุปสรรคภายในของตนเอง เพ่ือนําขอบกพรองมาพัฒนาการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนที่กําหนด โดยมขี ั้นตอนการดําเนนิ การ ดังนี้ (1) ทําความเขา ใจขน้ั ตอนของการทํางาน (2) ตรวจสอบเปรียบเทียบการทํางานวาเปนไปตามข้ันตอนหรือไม มปี ญ หาอปุ สรรคและขอ บกพรอ งอยางไร (3) ปฏิบตั ิการแกไขขอ บกพรองและพฒั นา 2) ดาํ เนินการตรวจสอบ ข้ันตอนดําเนินงานวาเปนไปตามเกณฑเปรียบเทียบกับ สภาพท่เี ปนอยูแลว สรุปขอ บกพรอง 3) ปรับปรุงแกไขและพัฒนา โดยนําขอบกพรองมากําหนดแนวทางแกไขและ พจิ ารณาวา จะมกี ารจัดการหรือใชเทคโนโลยมี าพฒั นาใหดยี ง่ิ ขน้ึ อยางไร 4) สรุปผลการตรวจสอบเปนองคความรู บันทึกผลการตรวจสอบ ผลการแกไข ขอ บกพรอ ง ผลการพฒั นาสรปุ เปนองคค วามรู เพื่อพฒั นาเปนทุนทางปญญา 2. การตรวจสอบ ตดิ ตาม แกไขขอบกพรองการดาํ เนินงานตามแผน 1) การดําเนินงาน ตรวจสอบ ตดิ ตามและแกไขขอบกพรองใหสามารถดําเนินงาน ตามแผน เพือ่ สรา งประสทิ ธิผลการทํางาน ใหเกิดผลตอการลงทุนของตนเองดว ยการ (1) วางแผนการตรวจ (2) ปฏบิ ัตกิ ารตรวจและแกไ ขขอบกพรอง (3) ปฏบิ ัตติ ามผลการแกไ ขขอบกพรอ ง 2) ปฏบิ ัติการจดั ทาํ แผนการตรวจกิจกรรมวาอยใู นขน้ั ตอนใด 3) ปฏบิ ตั ิการตรวจและแกไขขอบกพรอ ง คณะผูนาํ ชุมชนดาํ เนินการตรวจ ดงั น้ี (1) แจงใหผรู ับผดิ ชอบทราบลวงหนาวาจะตรวจการดําเนินงานเรื่องอะไรบาง เพือ่ ใหคณะทํางานไดม ีสว นรวมในการตรวจสอบตนเองกับผูนาํ ชุมชน (2) ดาํ เนินการตรวจตดิ ตาม โดยปฏิบัติการรวมกับคณะทํางานพรอมสรุป ขอบกพรอง (3) นาํ ผลสรปุ ขอบกพรอ งมารวมกนั กาํ หนดแนวทางแกไขและจดบันทึก ใหคณะทํางานผรู ับผดิ ชอบ ใชด าํ เนินการแกไ ข

88 (4) กําหนดระยะเวลากลับมาติดตามผลการแกไขขอบกพรอง ใหค ณะทํางานผรู ับผดิ ชอบรบั ทราบ 4) ปฏิบัตกิ ารตดิ ตามผลและแกไ ขขอ บกพรอง โดยคณะทํางาน ดําเนินการติดตาม ผลการแกไ ขขอ บกพรอ ง ดังน้ี (1) ใหคณะทาํ งานแสดงผลการแกไขขอ บกพรอ ง (2) คณะทํางานวินิจฉัยผลการแกไขขอบกพรองวาประสบผลสําเร็จ เพยี งใด และจะพัฒนาตอ เน่อื งอยางไร (3) สรปุ ผลการแกไขขอ บกพรองเปนองคค วามรู กิจกรรมท่ี 1 ใหผ ูเรียนสรุปความรู เน้ือหาสาระสําคัญท่ีเรียนรูจากหนวยการเรียนรู และตอบคําถามตามหัวขอ ตอไปนมี้ าส้ัน ๆ พอเขาใจ 1. การประกอบธรุ กจิ ตองอาศัยปจจัยอะไรบาง...................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. ประเด็นสําคัญเกย่ี วกับแผนธรุ กจิ มอี ะไรบา ง..................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ข้ันตอนการทาํ แผนธุรกจิ มีอะไรบา ง................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 4. การวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี มีอะไรบาง......................................... .......................................................................................................................................................................... กิจกรรมที่ 2 เม่ือผูเรียนรูเร่ืองการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาธุรกิจไปแลว ทานคิดวาความรูที่ทานศึกษาเรียนรูมา จะนาํ ไปใชป ระโยชนอะไรบา งอธบิ ายพอเขาใจ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

89 กิจกรรมที่ 3 ใหผูเรียนนําประเด็นตอไปน้ีพูดคุย อภิปรายในกลุมเพื่อน แลวสรุปความคิดเห็น จากการพูดคุย และอภปิ รายมาสรุป โดยมีประเดน็ ตอไปนี้ 1. เพราะอะไรจงึ ตอ งเรียนรเู รอ่ื งการขบั เคล่ือนเพื่อพัฒนาธุรกิจ 2. ถา ไมม ีความรูค วามเขา ใจเร่อื งการขบั เคลื่อนเพ่ือพัฒนาธุรกจิ จะเกดิ อะไรขึน้ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

90 บทที่ 7 โครงการพฒั นาอาชีพ สาระการเรียนรู โครงการพัฒนาอาชีพเปนการจัดกิจกรรมเพ่ือนําไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกําหนด รายละเอียดอยา งมีระบบและมีความสมั พนั ธวา ใครทาํ อะไร ท่ไี หน อยางไร เมือ่ ไร เทา ไร ทาํ ไม และหวังผลอะไร เพ่ือใหบรรลุเปา หมายตามที่กาํ หนดไว ตวั ช้วี ดั 1. อธบิ ายความสาํ คัญของการทําโครงการพัฒนาอาชพี 2. เขียนโครงการ 3. เขยี นแผนปฏิบตั ิการ 4. ตรวจสอบโครงการไดถ ูกตอ งและเหมาะสม ขอบขายเนอ้ื หา เรอ่ื งที่ 1 ความสาํ คัญของโครงการพฒั นาอาชีพ เรอ่ื งท่ี 2 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี เร่อื งที่ 3 การเขยี นแผนปฏิบตั กิ าร เร่อื งที่ 4 การตรวจสอบโครงการพฒั นาอาชีพ

91 เรือ่ งท่ี 1 ความสําคญั ของโครงการพฒั นาอาชีพ 1. ความหมายของโครงการพฒั นาอาชีพ จากแผนปฏิบัติการ เพื่อการพัฒนาอาชีพท่ีกําหนดไวแลวน้ัน การนําแผนสูการปฏิบัติ เพ่ือใหมีทิศทางและขอบเขตการดําเนินงานที่ชัดเจนจะตองมีการจัดทําโครงการปฏิบัติการควบคุม การดาํ เนินงานไว โครงการ หมายถึง งานท่ีกําหนดจะทําในระยะหนึ่ง เพ่ือแกปญหาหรือตอบสนอง ความตองการทเี่ กิดขึ้นโดยระบุวาจะทําอะไร เมื่อไร ใชปจจัยอะไร เทาไร และมีวิธีการดําเนินงานอยางไร เมอื่ สิ้นสุดระยะเวลา ปญ หาหรอื ความตองการนั้น ไดร ับการตอบสนองจะถอื วา โครงการน้ันสน้ิ สดุ การดําเนินงานในรูปโครงการเปนวิธีการบริหารจัดการท่ีดี เพราะทําใหเกิดความชัดเจน มีเหตุผล เกิดความเขาใจท่ีถูกตองตรงกัน และสามารถขยายผลการดําเนินงานได เพ่ือพัฒนากิจกรรม หรอื งานน้นั ใหม คี วามเจริญกา วหนา ตอไป 2. ลกั ษณะของโครงการทีด่ ี โครงการที่ดีจะตองกําหนดรายละเอียดในโครงการใหชัดเจน และมีความสัมพันธกันวา ใครทาํ อะไร ที่ไหน อยางไร เมือ่ ไร เทาไร ทาํ ไม และหวังผลอะไร โดยลักษณะของโครงการทด่ี สี รุปได ดังน้ี 1. ตอ งกาํ หนดวัตถุประสงคใหช ดั เจนและเขา ใจงา ย โดยเนน การกาํ หนดสงิ่ ทต่ี องการใหเกดิ เมื่อโครงการส้ินสุดลง เชน สามารถจัดทําบัญชีครัวเรือนไดถูกตองและสามารถลดคาใชจายไดอยางนอย รอ ยละ 10 ของรายไดทง้ั หมด 2. สามารถนาํ ไปปฏิบัติงานไดจ ริง ไมเปนโครงการที่เล่อื นลอย เพอฝน สวยหรู 3. สอดคลองกับสภาพความเปนจริงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง ตอบสนองตอ ความตองการและความสาํ คัญของกลุมเปา หมาย และไมเ กนิ ความรูค วามสามารถของผูป ฏิบัติ 4. มีรายละเอียดของส่ิงตาง ๆ ท่ีเปนองคประกอบของโครงการ เชน วิธีการปฏิบัติ ระยะเวลาท่ีแนน อนตงั้ แตเ วลาเรม่ิ ตน และสิ้นสดุ โครงการเพ่ือเปนประโยชนต อการกําหนดคา ใชจ าย และทรัพยากร 5. ระบุทรัพยากรและแหลงทรัพยากร ท่ีจําเปนตองใชอยางชัดเจนตลอดจนงบประมาณ และแหลงเงินทุนทีต่ อ งใชในการดาํ เนินงาน 6. ผลท่คี าดวาจะไดร บั ตอ งสอดคลองกับเปาหมายและวตั ถุประสงคของโครงการทกี่ ําหนดไว 3. การเตรียมการเขยี นโครงการ การประกอบอาชพี สามารถแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก อาชีพที่ประกอบการเอง กับอาชีพรับจาง ในการเขยี นโครงการจําเปนทผ่ี ูเรียนตอ งรวู าไมวาจะเปน อาชพี ประเภทใด ตองมกี ารเตรยี ม ขอมลู ใหพ รอมกอ นการเขียนโครงการมรี ายละเอยี ดดงั นี้

92 1) แนวทางการเตรียมขอมูลกอ นการเขียนโครงการสาํ หรบั อาชีพทปี่ ระกอบการเอง (1) พจิ ารณาเรือ่ งทุน การดําเนินงานอาชีพใหประสบความสําเร็จตองศึกษาขอมูลวา อาชีพน้ันตองใชทุนมากนอยเพียงไร ในเรื่องอะไรบาง มีทุนพอหรือไม ถาไมพอจะหาไดจากแหลงทุน ทใี่ ดบาง การคดิ อัตราดอกเบี้ยของแหลงทุนเปนอยางไร ตองใชห ลกั ประกันอะไร แลวมหี ลักประกันหรือไม เงื่อนไขการกเู งนิ เปน อยางไร ประเดน็ รายละเอยี ดเหลานีต้ อ งพิจารณาใหรอบคอบ เพ่อื ใหส ามารถคํานวณทุน ในการดาํ เนนิ งานไดเหมาะสม และไมกอ ใหเ กดิ ปญ หาระหวา งดาํ เนินงานโครงการ (2) พจิ ารณาเร่ืองแรงงาน การประกอบการเองตองใชแรงงาน ผูประกอบการตอง คิดวาใชแรงงานมากหรือนอยเพียงไรควรเปนแรงงานเพศหญิงหรือเพศชาย ใชแรงงานเองในครอบครัว หรือตอ งใชแรงงานจากภายนอก ถาตองใชแรงงานจากภายนอกครอบครัวจะหาแรงงานไดในชุมชนหรือ ตอ งหาจากท่ีอ่ืน หากเปนแรงงานในชุมชนอาจมาทาํ งานเชา กลับเยน็ ไมต อ งเตรยี มที่พัก หากมาจากภายนอก ชุมชน ตองเตรยี มที่พกั ให ผูป ระกอบการตองพจิ ารณาใหร อบคอบและยอ นกลับไปคดิ เรอื่ งทนุ ดวย (3) พิจารณาเรอ่ื งการตลาด ซง่ึ การตลาดนี้ตอ งพจิ ารณาวาอาชีพที่ดําเนินการอยูน้ัน เปน ทีต่ อ งการของคนในชมุ ชนหรอื แหลงใกลเคยี งเพยี งใด มีคแู ขงหรือไม เพราะอาชีพทปี่ ระสบความสําเร็จ มากทสี่ ุด คือ อาชีพที่ปราศจากคแู ขง นอกจากนี้ ตองพิจารณาถึงนิสัยการใชจายของคนในชุมชนตลอดจน กาํ ลงั ซอ้ื ดว ยวาจะเปน อยางไร (4) พิจารณาเรอ่ื งการจัดการ การจดั การเปนหวั ใจสําคญั ของการประกอบอาชพี อิสระ หลายคนมีทนุ มแี รงงาน ตลาดมีความตองการ แตดําเนินงานอาชีพไมประสบความสําเร็จเนื่องจากจัดการ อาชีพไมเปน จึงจําเปนที่ผูประกอบการตองมีความรูในเรื่องการจัดการอาชีพ ในอาชีพที่ประกอบการให มากท่ีสดุ การจดั การท่วี านี้ไดแก การบรหิ ารเร่ืองการลงทุนทําอยางไรจึงจะใหการลงทุนทุกบาททุกสตางค ไดผลคุมคา การบรหิ ารการทํางานใหมกี ารทาํ งานอยา งมรี ะบบ การบริหารดานการตลาดใหมีคนรูจักสินคา เกดิ ความประทับใจในสนิ คา (5) พิจารณาความถนัดของตนเอง สิ่งสาํ คัญเหนอื ส่งิ อน่ื ใดในการดําเนินงานอาชีพ คือ ความถนัด ความสามารถ อุปนิสัย ความพรอมของผูประกอบการในการประกอบอาชีพวาชอบหรือไม ถนัดหรือไม ทาํ ไดห รือไม ถาทาํ ไดกพ็ จิ ารณาสงิ่ ประกอบอื่น ๆ ดงั ท่ีไดก ลาวมาแลว (6) พิจารณาอาชีพท่ีดําเนินการวามีความสอดคลองกับชุมชนหรือไม หากเปน อาชพี ที่ตอ งใชนํ้า มแี หลงน้ําพอเพียงหรือไม เสนทางคมนาคมและการติดตอกับชุมชนอ่ืนมีสภาพอยางไร คนในชุมชนมีความเชื่อ หรือขนบธรรมเนียมประเพณีเปนอยางไร บางอาชีพอาจไปขัดกับความเชื่อของ คนในชมุ ชนเปนสวนมากหรือไม เชน ตัดสินใจเล้ียงหมูในขณะท่ีคนในชุมชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม หรอื ขุดบอ เลี้ยงปลาในบริเวณใกลวัด 2) แนวทางการเตรยี มขอมูลกอ นการเขยี นโครงการสําหรบั อาชีพรับจา ง (1) คา จา งแรงงานมากหรือนอย การพิจารณาวาคาจางมากหรือนอยนั้นจะพิจารณา จากตัวเงินที่ไดรับอยางเดียวไมถูกตอง ตองเปรียบเทียบกับเวลาที่ตองทํางานดวยวากี่ชั่วโมง เพราะ บางสถานประกอบการใหเ งนิ เดือนมากกวาสถานประกอบการอ่นื แตใหท าํ งานตงั้ แตเชาเลิกค่ําเวลาพักผอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook