Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย1

หน่วย1

Published by Sarayut Adjaklab, 2021-09-09 15:14:28

Description: หน่วย1

Search

Read the Text Version

ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๑. ท้องถินของเรา ท้องถิน หมายถึง ท้องทีใดท้องทีหนึงทีมีหลายชุมชนอาศัยอยู่ รวมกัน มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติคล้ายคลึงกัน ทําให้มีลักษณะ สังคมและวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น ประเพณี ท้องถิน ภาษาท้องถิน ภูมิปญญาท้องถิน ตัวอย่างเช่น ท้องถินในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึงลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เปนดินทราย และมีความแห้งแล้งจึงมี ป ร ะ เ พ ณี เ กี ย ว ข้ อ ง ก ั บ ก า ร ข อ ฝ น เ ช่ น ป ร ะ เ พ ณี แ ห่ น า ง แ ม ว ประเพณีบญุ บังไฟ ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๑. ทอ้ งถินของเรา ประเพณีบญุ บังไฟในท้องถินภาคอสี าน ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๑. ท้องถินของเรา ประเพณีแข่งเรอื มีในทอ้ งถนิ ทตี ังอยรู่ มิ แมน่ ํา ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๑. ท้องถินของเรา ประเพณีลอยเรือชาวเล ในท้องถินทมี วี ถิ ีชวี ติ ผูกพันอยูก่ บั ทะเล ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๑. ท้องถินของเรา ประเพณี บวชปาสืบชะตาแม่นํ า ในทอ้ งถินทอี ยูใ่ กลป้ าไม้ บนภเู ขาสูง ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๒. การสบื ค้นความเปนมาของทอ้ งถนิ เมือนักเรียนต้องการศกึ ษาทอ้ งถนิ ของตนเอง สามารถปฏิบัตติ าม ขันตอนตอ่ ไปนี ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๑. สาํ รวจทอ้ งถินของตนเอง แต่ละท้องถินต่างมีสถานทีสําคัญ สิงของสําคัญ และบุคคลสําคัญ หรือปราชญ์ (อ่านว่า ปราด หมายถึง ผู้มีปญญารอบรู้) ท้องถิน ทีมีความรู้เกียวกับเรืองราวในท้องถินทีอาศัยอยู่ ซึงนักเรียนสามารถ สืบค้นความเปนมาของท้องถนิ ได้ เชน่ ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

สถานทสี าํ คญั ประกอบดว้ ย สถานทีทีเกียวข้องกับศาสนาและความเชือของผู้คน ในทอ้ งถิน วดั มัสยดิ โบสถ์คริสต์ เปนสถานทีสําคัญทางศาสนา ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

อนสุ าวรยี ค์ ณุ หญงิ โม อนสุ าวรยี ์ทา้ วเทพกระษัตรี ทา้ วศรสี นุ ทร ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

สิงของสําคัญ ประกอบด้วย วัตถุทีเกียวข้องกับศาสนาและความเชือ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป วัตถุโบราณ เช่น เครืองปนดินเผา สิงของเครืองใช้ ของบรรพบรุ ุษ เครอื งทอผ้าหรือกีทอผา้ เปนเครืองมอื ทใี ชใ้ นการทอผา้ ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

บุคคลสาํ คญั หรอื ปราชญ์ท้องถนิ ในแต่ละท้องถินจ ะมีบุคคลทีมีความรู้ความสามารถสะสม ภูมิปญญาของท้องถิน สามารถสร้างผลงานเปนสินค้าทีได้รับการ ยอมรับทัวไป เชน่ ขนมสายไหมอยธุ ยา กะหรีปบสระบุรี นอกจากนีในท้องถินยังมีผู้เชียวชาญเฉพาะด้านหรือเฉพาะสาขา เช่น ช่างปน ช่างทอง นักโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ เกษตรกรดีเด่น นักภาษาศาสตร์ทีสามารถอ่านอักษรโบราณได้ บุคคลเหล่านีจะช่วยให้ นักเรยี นเขา้ ใจความเปนมาของทอ้ งถนิ ได้ ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๒. ศกึ ษาหนงั สอื และเอกสารตา่ ง ๆ ของทอ้ งถิน แต่ละท้องถนิ มักจะมแี หล่งรวบรวมหนังสอื และเอกสารต่าง ๆ ของ ท้องถินไว้ เช่น ห้องสมุดประชาชน ศูนย์วัฒนธรรม ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดของหน่วยราชการต่าง ๆ รวมทังเอกสารเผยแพร่ความรู้ของ หน่วยราชการ เช่น ศูนย์ส่งเสริมการท่องเทียวของจังหวัด องค์การ บริหารส่วนจงั หวดั เทศบาล ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๓. การสอบถามและการแลกเปลยี นความรู้ การสอบถามเปนวิธีการทีง่ายทีสุดของการสบื ค้นความเปนมาของ ท้องถิน โดยเริมจากผู้มีความรู้ทีอยู่ใกล้ตัวนักเรียนก่อน เช่น คุณครู คุณพ่อ คุณแม่ ญาติผู้ใหญ่ จากนันจึงสอบถามผู้รู้ทีอยู่ไกลตัวออกไป อยา่ งไรกต็ าม นักเรียนจะตอ้ งเตรียมตวั เปนผ้ถู ามทดี ี โดยคํานึงว่าเราจะ ถามใคร ถามอะไร และถามเมอื ไร ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๔. การบันทกึ และเรยี บเรียง หลังจากทีนักเรียนได้สํารวจท้องถิน ได้ศึกษาหนังสือและเอกสาร ต่าง ๆ รวมทังได้สอบถามและแลกเปลียนเรียนรู้แล้ว นักเรียนควรได้ บันทึกความรู้ทีได้รับสรุปเปนข้อเท็จจริง เรียบเรียงเปนเรืองราวที ชัดเจน โดยต้องตระหนักว่าจะต้องเขียนด้วยความเปนกลาง และ ปราศจากอคติ ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๕. การนําเสนอ นักเรียนสามารถนํ าเสนอข้อเท็จจริงทีได้สืบค้นความเปนมาของ ท้องถินในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนเปนรายงาน โดยจัดเรียง เหตุการณ์ตามลําดับเวลาทีเกิดเหตุการณ์ หรือเรียงตามลําดับหัวเรือง เพืออธิบายเรืองราวทีค้นพบได้อย่างเชือมโยงสัมพันธ์กัน มีความ ต่อเนือง มีเหตุมีผล การอธิบายหรือเล่าเรืองประกอบภาพ การจัด นิ ท ร ร ศ ก า ร ก า ร แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม มุ ติ ห รื อ รู ป แ บ บ อื น ๆ ต า ม ความสามารถของนกั เรยี น ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๓. หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ทีใช้ใน การศึกษาทอ้ งถนิ การศึกษาเรืองราวเกียวกับท้องถิน นักเรียนอาจศึกษาจาก แหล่งข้อมูลหรือหลักฐานทีมีอยู่ในท้องถินของนักเรียน เช่น การศึกษา จากเอกสาร โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนศึกษาหนังสือทีเขียน เรืองราวเกียวกับท้องถิน และการสอบถามผู้รู้ สิงต่าง ๆ ทีให้ความรู้ แก่เราได้นีเรียกว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึงเปนได้ทังบุคคล สิงของเครอื งใช้ อาวุธ สิงกอ่ สร้าง เอกสารหนังสอื ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ตวั อยา่ งหลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ใี ชศ้ กึ ษาท้องถนิ ภาชนะดนิ เผาลายเขียนสีบ้านเชียง จงั หวัดอุดรธานี ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ตวั อยา่ งหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ใี ชศ้ ึกษาทอ้ งถนิ วัดอรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ าร (วดั แจ้ง) กรงุ เทพมหานคร ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ตัวอย่างหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ใี ช้ศกึ ษาท้องถนิ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทยั จังหวดั สโุ ขทยั ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ตัวอย่างหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ใี ชศ้ กึ ษาทอ้ งถนิ หนงั สือเกยี วกบั แหลง่ ท่องเทียวในทอ้ งถนิ ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลกั ฐานทีเปนลายลกั ษณอ์ กั ษร หมายถึง หลักฐานทีมีการบันทึกเปนลายลักษณ์อักษร บอกเล่าเรืองราวต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ แผนที ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลกั ฐานทีไมเ่ ปนลายลักษณอ์ กั ษร หมายถึง สิงทีมนุษย์สร้างขึน เช่น เครืองมือเครืองใช้ โบราณสถาน โบราณวัตถุ อาวธุ ตาํ นานท้องถนิ คําบอกเล่า ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลกั ฐานทีไมเ่ ปนลายลักษณอ์ กั ษร โบราณสถานเปนหลกั ฐานทีไมเ่ ปนลายลกั ษณ์อกั ษร ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลกั ฐานทีไม่เปนลายลักษณอ์ ักษร โบราณวตั ถเุ ปนหลกั ฐานทีไมเ่ ปนลายลักษณ์อกั ษร ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลกั ฐานชนั ต้น หมายถึง หลักฐานหรือข้อมูลทีได้จากผู้พบเห็นเหตุการณ์ หรือผู้ทีเกียวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง เช่น จดหมายเหตุ ศิ ล า จ า รึ ก พ ง ศ า ว ด า ร บ ั น ทึ ก ใ บ ล า น ร ว ม ถึ ง สื อ ต่ า ง ๆ และโบราณสถาน โบราณวตั ถุ เช่น วดั เจดยี ์ พระพุทธรูป ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

ศิลาจารกึ หลักที ๑ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตพิ ระนคร กรงุ เทพมหานคร ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

วดั มหาธาตุ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลกั ฐานชนั รอง หมายถึง หลักฐานหรือข้อมูลทีได้จากตํารา หนังสือ หรือ สือตา่ ง ๆ ทมี ผี เู้ ขยี นหรือผู้ทาํ รวบรวมขึนภายหลงั จากเหตุการณ์ นันเกิดขึนแล้ว โดยนํ าข้อมูลทีได้จากหลักฐานชันต้นมา เรียบเรียงเปนเรืองราว หลักฐานชันรองจึงมีความน่าเชือถือ นอ้ ยกว่าแต่หนังสือ ตําราหรือสือต่าง ๆ ทีเขียนหรือทําขึน ภายหลงั จากเหตกุ ารณ์ ทําให้เข้าใจเรอื งราวต่าง ๆ ได้งา่ ยขนึ ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

หลักฐานชนั รอง หนงั สอื ทีเรยี บเรยี งขึน จัดเปนหลกั ฐานชนั รอง ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๔. การตังคําถามทางประวตั ศิ าสตร์ เกยี วกบั ความเปนมาของทอ้ งถนิ นักเรียนได้เรียนมาแล้วว่า การสอบถามเปนวิธีการหนึงของการ สืบค้นความเปนมาของท้องถิน โดยนักเรียนต้องเตรยี มตัวเปนผู้ถามทีดี โดยคํานึงว่าจะถามใคร ถามอะไรและถามเมือไร การตังคําถามทาง ประวัติศาสตร์จึงมีความสําคัญเพราะเปนการนํ าไปสู่การหาคําตอบและ เปนแนวทางในการสบื ค้นเรืองราวของท้องถินในอดตี ไดช้ ัดเจน ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๕. ความจริงกับข้อเท็จจรงิ เกียวกับ เรืองราวในทอ้ งถนิ ความจริง หมายถึง เรืองราวหรือเหตุการณ์ทีเกิดขึนจริงสามารถตรวจสอบกับ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ีหลงเหลอื อยู่ในปจจบุ นั และยนื ยันได้ว่า เปนจรงิ หรือมีอย่จู รงิ ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๕. ความจริงกบั ข้อเทจ็ จริงเกียวกับ เรืองราวในท้องถนิ ขอ้ เทจ็ จรงิ หมายถึง ข้อมูลทีรวบรวมได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึ ง ย ั ง ไ ม่ ไ ด้ ต ร ว จ ส อ บ ว่ า ข้ อ มู ล ใ ด เ ป น ข้ อ มู ล จ ริ ง ห รื อ ค ว า ม จ ริ ง ข้อมูลใดเปนข้อมูลเท็จซึงอาจเกิดจากผู้สร้างหลักฐานไม่มีความรู้ หรือความเข้าใจทีชัดเจนในเรืองนัน หรืออาจจงใจปกปดข้อมูลจริง เพราะมผี ลประโยชนร์ ว่ มอยู่ ประวตั ศิ าสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๕. ความจรงิ กบั ขอ้ เท็จจรงิ เกียวกับ เรืองราวในทอ้ งถนิ การสืบค้นเรืองราวเกียวกับท้องถิน เมือนักเรียนรวบรวมข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ นักเรียนจึงต้องตรวจสอบและแยกแยะว่าข้อมูลใด เปนความจริง ข้อมูลใดเปนข้อคิดเห็น ข้อมูลใดเปนความเท็จ ทังนี เพือให้นักเรียนสามารถหาคําตอบจากคําถามทางประวัติศาสตร์ได้อย่าง มเี หตผุ ล ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕

๕. ความจรงิ กับขอ้ เทจ็ จริงเกียวกับ เรืองราวในทอ้ งถนิ ข้อเท็จจริงขึนอยู่กับหลักฐานทีมี หากมีการค้นพบหลักฐาน ห รื อ ข้ อ มู ล ใ ห ม่ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ห รื อ คํ า อ ธิ บ า ย เ กี ย ว ก ั บ ค ว า ม จ ริ ง ในประวัตศิ าสตร์ยอ่ มสามารถเปลยี นแปลงได้ ประวตั ิศาสตร์ ชนั ประถมศกึ ษาปที ๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook