พระสนุ ทรโวหาร(ภ)ู่ วนั สนุ ทรภู่ ๒๖ มถิ นุ ายนของทกุ ปี จดั ทำโดย นำงสำวจนั ทิมำ สมศรี เลขที่2 นำงสำวหทยั กำญจน์ คงสระ เลขท่ี13 นกั ศึกษำระดบั ชน้ั ปวส.2 หอ้ ง 1 สำขำงำนกำรจดั กำรสำนกั งำน วิทยำลยั อำชวี ศึกษำชมุ พร
คำนำ ส่ือฉบับนีเ้ ป็นส่วนหน่ึงของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ืองานสานักงาน ในระดับประกาศ นียบัตร วิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือการศกึ ษาความรูท้ ่ีไดจ้ ากเรอ่ื ง “วนั สนุ ทรภ่”ู ทงั้ นีใ้ นส่ือฉบบั นีม้ ีเนือ้ หา ประกอบดว้ ยความรูเ้ ก่ียวกบั ชีวประวตั ิสนุ ทรภู่,ผลงานของสนุ ทรภ่ทู ่ีมีช่ือเสียงซ่งึ ประกอบไปดว้ ย นิราศ 9 เร่ือง, นิทาน 5 เร่ือง, สุภาษิต 2 เร่ือง, บทละคร 1 เร่ือง, เสภา 2 เร่ือง, บทเห่กล่อม 4 เร่ือง, ตลอดจนการกาเนิด อกั ษรไทย ผจู้ ดั ทาไดเ้ ลือกหวั ขอ้ นี้ เน่ืองมาจากเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจ รวมทงั้ แสดงใหเ้ ห็นถึงผลงานของสนุ ทรภ่แู ละ การกาเนิดอกั ษรไทย หวงั ว่าส่ือฉบบั นีจ้ ะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่านทุก ๆ ท่าน หากมีขอ้ เสนอแนะ ประการใด ผจู้ ดั ทาขอรบั ไวด้ ว้ ยความขอบพระคณุ ย่งิ ผจู้ ดั ทา นางสาวจนั ทิมา สมศรี เลขท่ี2 นางสาวหทยั กาญจน์ คงสระ เลขท่ี13
สำรบญั เรื่อง หน้ำท่ี 1-2 ชีวประวตั ิสนุ ทรภู่ 3-4 ผลงานของสนุ ทรภู่ 5-14 นิราศ 9 เรอ่ื ง 15 นิทาน 5 เรอ่ื ง 16 สภุ าษิต 2 เรอ่ื ง 17 บทละคร 1 เรอ่ื ง 18 เสภา 2 เรอ่ื ง 19 บทเหก่ ลอ่ ม 4 เรอ่ื ง 20 อนสุ าวรยี ส์ นุ ทรภู่
สำรบญั เรื่อง หน้ำท่ี 21 กาเนิดภาษาไทย 22 อา้ งองิ
ชวี ประวตั สิ นุ ทรภู่ พระสนุ ทรโวหาร นามเดมิ ภู่ (สนุ ทรภ)ู่ ร.๑ “เกดิ ” เมอื่ วนั ที่ ๒๖ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๓๒๙ เขา้ รบั ราชการและไดแ้ สดงความสามารถดา้ นการประพนั ธ ์ จน ร.๒ ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศกั ดเิ ์ป็ น “ขนุ สนุ ทรโวหาร” นับเป็ นยคุ ทองของสนุ ทรภู่ ร.๓ “ออกบวช” เดนิ ทางไปยงั หวั เมอื งตา่ ง ๆ เป็ นเวลา ๒๐ ปี ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศกั ดเิ ์ ป็ น “พระสนุ ทรโวหาร” ร.๔ และถงึ แกก่ รรมใน พ.ศ.๒๓๙๘ รวมอายไุ ด ้ ๗๐ ปี
ชวี ประวตั สิ นุ ทรภู่ ใน พ.ศ.๒๕๒๙ ในโอกาสครบรอบ ๒๐๐ ปี ชาตกิ าล สนุ ทรภไู่ ดร้ บั การยก ยอ่ งจากองคก์ ารการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร ์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientfic and Cultural Organization) หรอื ยเู นสโก (UNESCO) ใหเ้ ป็ นบคุ คลทม่ี ผี ลงานดเี ดน่ ของโลก ดา้ นวรรณกรรม
ผลงานของสนุ ทรภู่ ผลงานเรอื่ งแรก โคบตุ ร
ผลงานของสนุ ทรภู่ ยอดวรรณดี พระอภยั มณี ประเภทกลอนนิทาน
นิราศ ๙ เรอื่ ง นิราศ เมอื งแกลง นิราศภเู ขาทอง นิราศวดั เจา้ ฟ้ า นิราศสพุ รรณ นิราศ ๕ พระประธม นิราศเรอื่ งแรก นิราศเรอื่ งทสี่ น้ั ทสี่ ดุ แตง่ เป็ นโคลง และยาวทสี ดุ และดที สี่ ดุ ๙ ๗ ๑ ๓ ร าพนั พลิ าป ๒ ๔ ๖๘ นิราศพระบาท นิราศเมอื งเพชร นิราศอเิ หนา
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๑ นิราศเมอื งแกลง นิราศเรอื่ งแรกและยาวทสี่ ดุ นิราศเมอื งแกลง เป็ นผลงานกวนี ิพนธแ์ บบกลอนประพนั ธโ์ ดยสนุ ทรภ เป็ นนิราศเรอื่ งแรก ของเขาทไี่ ดแ้ ตง่ ขนึ้ ในปี พ.ศ. ๒๓๔๙ มใี จความกลา่ วถงึ การเดนิ ทางโดยเรอื เพอื่ ไปยงั เมอื งแกลง โดยมศี ษิ ย ์๒ คนรว่ มโดยสารไปดว้ ยกนั คอื นอ้ ยกบั พุ่มและมผี ูน้ าทางชอื่ นายแสง เป้ า หมายการเดนิ ทางของสนุ ทรภไู่ ม่ปรากฏแน่ชดั บา้ งวา่ เขา ตอ้ งการไปบวชกบั บดิ า บา้ งวา่ เขาเดนิ ทางไปขอเงนิ เพอื่ กลบั มาแตง่ งาน นักวชิ าการยงั ไม่สามารถหา ขอ้ สรปุ ไดว้ า่ สนุ ทรภกู่ ลบั ไปท าไม แตท่ างจงั หวดั ระยอง ไดน้ าเรอื่ งราวองิ ประวตั ศิ าสตรใ์ นชว่ งน้ันไปสรา้ งเป็ นอนุสาวรยี ส์ นุ ทรภทู่ เี่ มอื งแกลง
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๒ นิราศพระบาท นิราศพระบาทเป็ นนิราศทยี่ าวมากเรอื่ งหนึ่งของสนุ ทรภู่ โดยมเี นือ้ หาบรรยายการ เดนิ ทางขณะโดยเสด็จพระองคเ์จา้ ปฐมวงศไ์ ปนมสั การ พระพุทธบาทสระบรุ ี (ในจงั หวดั สระบรุ ีปัจจบุ นั ) เมอื่ วนั ขนึ้ ๑๒ ค่าเดอื น ๓ ปี เถาะ พ.ศ. ๒๓๕๐
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๓ นิราศภเู ขาทอง นิราศเรอื่ งทสี่ นั้ ทสี่ ดุ และดที สี่ ดุ สนุ ทรภแู่ ตง่ นิราศภเู ขาทองในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอื่ ราว ปลาย พ.ศ. ๒๓๕๓ โดยเลา่ ถงึ การเดนิ ทางเพ่อื ไปนมสั การเจดยี ภ์ เู ขาทอง ทเี่ มอื งกรงุ เกา่ หรอื จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาในปัจจบุ นั หลงั จากจ าพรรษา อย่ทู ่วี ดั ราช-บรุ ณะหรอื วดั เลยี บ
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๔ นิราศเมอื งเพชร นิราศเมอื งเพชร เป็ นผลงานการประพนั ธป์ ระเภทกลอนนิราศของสนุ ทรภู่ มคี วามยาว ๔๑๘ คากลอน เลา่ เรอื่ งการเดนิ ทางไปเพชรบรุ ี ราวเดอื นยหี่ รอื เดอื นสาม ในปี พ.ศ. ๒๓๗๔ ซงึ่ ขณะน้ันสนุ ทรภมู่ อี ายไุ ด ้๔๖ ปี การเดนิ ทางครง้ั นีเ้ ดนิ ทางโดยเรอื โดยอาสาพระองคเ์จา้ ลกั ขณานคณุ ไปขอสงิ่ ของแทนความรกั จากลกู สาวขนุ แพ่ง เพราะ พระองคท์ รงหมายปองหญงิ คนนีอ้ ยู่ เหตทุ สี่ นุ ทรภอู่ าสาเดนิ ทางไปครงั้ นึง ก็เพราะคดิ ถงึ พระคณุ ทไี่ ดท้ รงอปุ การะตน
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๕ นิราศวดั เจา้ ฟ้ า นิราศวดั เจา้ ฟ้ าในบทกลอนมชี อื่ เต็มวา่ วดั เจา้ ฟ้ าอากาศนาถนรนิ ทร ไม่ สามารถตรวจสอบไดว้ า่ เป็ นวดั ใดในจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาในปัจจบุ นั เสน้ การเดนิ ทางตามบทนิราศเม่อื ไปถงึ อยธุ ยา สนุ ทรภแู่ ละคณะแวะนมสั การหลวงพ่อโต วดั พนัญ เชงิ แลว้ เลยไปวดั ใหญ่ชยั มงคลเพอื่ คน้ หาพระปรอท กอ่ นจะออกเดนิ เทา้ ไปยงั วดั จา้ ฟ้ าอากาศนาถนรนิ ทร
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๖ นิราศอเิ หนา เนือ้ หาของกลอนนิราศมาจากสว่ นหนึ่งของวรรณคดเี รอื่ งอเิ หนา โดยจบั ใจความตอนทอี่ เี หนากลบั จากไปแกส้ งสยั ทเี่ มอื งดาหา แลว้ พบวา่ นางบษุ บา ทตี่ นลกั ตวั มาซอ่ นไวท้ ถี่ า้ ทอง ถกู ลมพายพุ ดั หายไปเสยี แลว้ เนือ้ หาของกลอนนิราศ เป็ นการเดนิ ทางตดิ ตามคน้ หานางบษุ บาของอเิ หนา ระหวา่ งทางก็พรา่ ราพนั ถงึ นางผูเ้ ป็ นทรี่ กั อเิ หนา ตามหานางบษุ บาอยเู่ จ็ดเดอื นก็หาไม่พบ เนือ้ เรอื่ งจบลงทอี่ เิ หนาและไพรพ่ ลออกบวช อทุ ศิ กศุ ลใหน้ างบษุ บา ซงึ่ อเิ หนาคดิ วา่ คงจะตายไปแลว้
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๗ นิราศสพุ รรณ นิราศเรอื่ งแรกและเรอื่ งเดยี ว ทแี่ ตง่ โคลงสสี่ ภุ าพ นิราศสพุ รรณ เป็ นผลงานกวนี ิพนธแ์ บบโคลงประพนั ธโ์ ดยสนุ ทรภู่ เป็ นนิราศเรอื่ งแรกและเรอื่ ง เดยี วของสนุ ทรภทู่ ปี่ ระพนั ธด์ ว้ ยฉันทลกั ษณโ์ คลงสสี่ ภุ าพ เขา้ ใจวา่ ตอ้ งการลบคาสบประมาทวา่ ตนแตง่ ไดแ้ ตเ่ พยี งกลอน เชอื่ วา่ สนุ ทรภแู่ ตง่ นิราศ สพุ รรณในปี พ.ศ. ๒๓๗๔ ระหวา่ งทจี่ า พรรษาอย่ทู วี่ ดั สระเกศ แลว้ ออกเดนิ ทางไปยงั เมอื งสพุ รรณเพอื่ คน้ หายาอายวุ ฒั นะ
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๘ ราพนั พลิ าป ราพนั พลิ าปเป็ นนิราศเชงิ กาสรวลทพี่ รรณนาถงึ ชวี ติ ของตวั เอง สนุ ทรภรู่ ะบไุ วใ้ นงานประพนั ธ ์ วา่ ไดเ้ ขยี นงานชนิ้ นีข้ นึ้ ในปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ขณะจาพรรษา อยทู่ วี่ ดั เทพธดิ าราม เนื่องจากเกดิ นิมติ เป็ นฝันรา้ ยวา่ จะตอ้ งสนิ้ นชวี ติ สนุ ทรภตู่ กใจตนื่ จงึ แตง่ นิราศบรรยายความฝัน และเลา่ เรอื่ งราวตา่ ง ๆ ในชวี ติ ของตนไว ้หลงั จากนั้นก็ลาสกิ ขาบท
ผลงานของสนุ ทรภู่ นิราศ ๙ เรอื่ ง ๙ นิราศพระประธม นิราศพระประธม เป็ นนิราศทสี่ นุ ทรภแู่ ตง่ ขนึ้ เมอื่ พ.ศ.๒๓๘๕ ขณะทลี่ าจากสมณเพศแลว้ และ อย่ใู นอปุ การะของพระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกลา้ เจา้ อย่หู วั และกรมหมนื่ อปั สรสดุ าเทพ แตง่ ขนึ้ ขณะเดนิ ทางไปนมสั การพระปฐมเจดยี ์
นิทาน๕เรอื่ ง ลกั ษณวงศ ์ สงิ หไกรภพ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ พระอภยั มณี กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า โคบุตร ยอดของกลอนนิทาน แบบสอนอา่ นมาตราตวั สะกด ผลงานเรอื่ งแรก ของสนุ ทรภู่
สวสั ดริ กั ษา ๑ สภุ าษติ ๒ เรอื่ ง ๒ เพลงยาวถวายโอวาท
บทละคร๑ เรอื่ ง ๑ อภยั นุราช
เสภา ๒ เรอื่ ง ๑ ขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอนกาเนิดพลายงาม ๒ พระราชพงศาวดาร
บทเหก่ ลอ่ ม ๔เรอื่ ง บทเหเ่ รอื่ งจบั ระบา บทเหเ่ รอื่ งพระอภยั มณี ๑ ๓ ๒ ๔ บทเหเ่ รอื่ งกากี บทเหเ่ รอื่ งโคบตุ ร
อนุสาวรยี ส์ นุ ทรภู่ อนสุ าวรยี ส์ นุ ทรภู่ เป็นอนสุ าวรยี ท์ ่ีสรา้ งขนึ้ เพ่ือเป็นอนุสรณแ์ ดม่ หากวีแหง่ กรุง รตั นโกสนิ ทร์ คอื พระสนุ ทรโวหาร (ภ่)ู หรอื ท่ีเรยี กกนั โดยท่วั ไปวา่ สนุ ทรภู่ ตงั้ อยบู่ นเสน้ ทางแกลง-แหลมแมพ่ มิ พ์ ท่ีตาบลกรา่ อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง ซง่ึ เช่ือวา่ เป็นบา้ นเกิดของบดิ าของสนุ ทรภู่ และทา่ นเคยมาเยือนท่ีนี้ เม่ือครงั้ วยั หน่มุ พรอ้ มกบั ไดป้ ระพนั ธ์ นิราศเมืองแกลง เอาไวด้ ว้ ย
กาเนิดอกั ษรไทย พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ไดท้ รงประดษิ ฐอ์ กั ษรไทยขนึ้ เมอื่ พ.ศ. 1826 โดยทรงดดั แปลงมาจากอกั ษรขอมหวดั และ อกั ษรไทยเดมิ ซงึ่ ดดั แปลงมาจากอกั ษรมอญและคดิ อกั ษรไทย ขนึ้ ใหม่ใหม้ สี ระ และวรรณยกุ ตใ์ หพ้ อใชก้ บั ภาษาไทย และทรง เรยี กอกั ษรดงั กลา่ ว ลายสอื ไทย ดงั มกี ลา่ วในศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงตอนหนึ่งวา่ \"เมอื่ กอ่ นลายสอื ไทยนีบ้ ม่ ี 1205 ศกปี มะแม พอ่ ขนุ รามคาแหงหาใครใ่ จในใจ แลใส่ลายสอื ไทยนี้ ลายสอื ไทยนีจ้ งึ มี พ่อขนุ รามคาแหงผูน้ ั้นใสไ่ ว…้ \" (ปี 1205 เป็ นมหาศกั ราชตรง กบั พทุ ธศกั ราช 1826)
อำ้ งองิ ชีวประวตั ิสนุ ทรภ่.ู [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู : 9 มกราคม 2565). ผลงานของสนุ ทรภู่ [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา : https://www.thairath.co.th/lifestyle/ (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู : 9 มกราคม 2565). อนสุ าวรยี ส์ นุ ทรภ่.ู [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/ (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู : 9 มกราคม 2565). กาเนิดอกั ษรไทย. [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา https://www.trueplookpanya.com/ (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู : 9 มกราคม 2565).
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: