Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำปลาส้มสมุนไพร

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำปลาส้มสมุนไพร

Description: 3 สรุปปลาส้ม_merged

Search

Read the Text Version

ก คำนำ เอกสารผลสรุปโครงการเล่มน้ี จัดทาข้นึ เพ่ือรวบรวมวธิ กี ารดาเนนิ งาน ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ จาการจดั กจิ กรรม ในการจัดทาโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทาปลาสม้ สมนุ ไพร กศน. ตาบลท่าจะหลุง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชัย คณะผู้จัดทาหวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่าเอกสารเล่มนี้ จะเปน็ แนวทางในการจัดกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริม และ พฒั นาประชาชนในดา้ นอืน่ ๆ ตอ่ ไป กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชัย ธันวาคม 2564

สำรบัญ ข เนื้อหำ หนำ้ คานา ก สารบญั ข บทที่ 1 บทนา 1 1 • หลกั การและเหตุผล 1 • วัตถุประสงค์ 1 • เปา้ หมาย 1 • ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 2 • เครอื ข่าย 2 • โครงการท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2 • ผลลพั ธ์ (Outcome) 2 • ดชั นชี ี้วดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 2 • การประเมินผล 3 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง 6 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ งาน 8 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 14 บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก 19 • รายช่ือผู้เข้าร่วมโครงการ 20 • ภาพถา่ ยกิจกรรม 21 • ตารางวิเคราะห์ขอ้ มูลจาก spss • โครงการ คณะผู้จดั ทา

บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตผุ ล ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีการกาหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งด่วน ได้แก่ ความ ปลอดภัยของผู้เรียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บิ๊กดาต้า (Big Data) การขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การ พัฒนาทักษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต และการจัดการศึกษาสาหรับผู้ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ สานักงาน กศน.จึงได้มีการนานโยบายท่ีเก่ียวข้อง 2 วาระ สาคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มา ดาเนินการขับเคล่ือน โดยการจัดทาโครงการจัดทาหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จานวน หลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิด สรา้ งสรรค์และอาชีพเฉพาะทาง เพ่ือพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและต่อยอดประกอบอาชีพ ของตนเองรวมถงึ การส่งเสริมการรวมกลุ่มเพอ่ื ผลติ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผลให้เกิดการสร้างงาน สร้าง อาชพี สร้างรายไดใ้ หก้ ับประชาชนหรือกลุม่ เปาู หมายที่อยใู่ นชุมชน ตอ่ ไป เพื่อสนองนโยบายของสานักงาน กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชค ชัย จังหวัดนครราชสีมา โดย กศน.ตาบลท่าจะหลุง ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว และได้ดาเนินการสารวจ กลุ่มเปาู หมายในเขตพื้นท่ีตาบลท่าจะหลุง และมีความประสงค์ฝึกทักษะในการพัฒนาอาชีพการทาปลาส้มสมุนไพร จึง ไดจ้ ดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการการทาปลาส้มสมนุ ไพร จานวน 6 ช่ัวโมง เพ่ือให้ประชาชน ได้รับ ความรู้ ทักษะ ในการทาปลาส้มสมุนไพรและสามารถนาไปประกอบอาชีพ ลดรายจ่าย สร้างรายได้ สร้างงาน สร้าง อาชีพให้กับตนเองและครอบครัว แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับตนเอง ชุมชน สังคม วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ประชาชนในพื้นที่ตาบลท่าจะหลุง อาเภอโชคชัย ได้รับความรู้ ทักษะ ในการทาปลาส้มสมุนไพร และสามารถนาไปประกอบอาชีพ ลดรายจ่าย สร้างรายได้ สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับตนเองและครอบครัว แก้ไข ปญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ใหก้ ับตนเอง ชมุ ชน สังคม เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ ประชาชน ตาบลท่าจะหลงุ จานวน 6 คน เชงิ คุณภาพ ประชาชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 90 มคี วามรู้ ทกั ษะ ในการทาปลาส้มสมุนไพร และ สามารถนาไปประกอบอาชพี สรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 1

ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นายเชาวฤทธิ์ เพราะกระโทก ครู กศน.ตาบล นางจงรกั ษ์ เชอื่ ปัญญา ครู อาสาสมัคร กศน. เครอื ขา่ ยทีเ่ กีย่ วข้อง - ผูน้ าชมุ ชนตาบลทา่ จะหลงุ - อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้าน (อสม) ตาบลทา่ จะหลงุ โครงการทเี่ กยี่ วข้อง โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาหนา้ กากผ้า ผลลพั ธ์ (Outcome) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้นาความรู้ ทักษะในการทาปลาส้มสมุนไพร และสามารถนาไป ประกอบอาชีพ ลดรายจ่าย ให้กับตนเองและครอบครัว แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กบั ชมุ ชน สงั คม ดชั นีชว้ี ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Outputs) ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการฯ จานวน 6 คน มีความรู้ ทักษะในการทาปลาส้มสมุนไพร และ สามารถนาไปประกอบอาชีพ ลดรายจ่าย ให้กับตนเองและครอบครัว แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้าง ความเขม้ แข็งใหก้ บั ชุมชน สังคม ตัวช้ีวัดผลลพั ธ์ (Outcomes) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 90 นาความรู้ ทักษะในการทาปลาส้มสมุนไพร และ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชพี ลดรายจา่ ย ใหก้ ับตนเองและครอบครวั แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้าง ความเขม้ แข็งใหก้ ับชุมชน สงั คม การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ - สังเกตการมสี ว่ นร่วม - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หน้า 2

บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง ในการจัดทารายงานคร้ังนี้ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ดังต่อไปนี้ 1. ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. งานวิจัยท่เี กยี่ วข้อง 1. ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับ ครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถึงระดบั รัฐ ทัง้ ในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พฒั นาเศรษฐกจิ เพื่อให้กา้ วทนั ต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัว ท่ีดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอก และภายใน ท้ังน้ีจะต้องอาศัยความ รอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ี ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วย ความอดทน ความเพียร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเรว็ และกวา้ งขวางทั้งด้านวัตถุ สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี การนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ เปน็ กรอบแนวความคดิ และทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ มหภาค ของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554) เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาท่ี สมดุล ย่งั ยนื และมีภมู คิ ุ้มกนั เพือ่ ความอยดู่ มี ีสขุ มงุ่ สสู่ งั คมที่มีความสขุ อย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับท่ี 10 นี้จะไม่เน้นเร่ืองตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคง ใหค้ วามสาคัญตอ่ ระบบเศรษฐกจิ แบบทวิลกั ษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจท่ีมีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมือง และชนบท ดร.สมเกยี รติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนาปรัชญานี้ไปใช้ทา อะไร กลายเป็นวา่ ผู้นาสังคมทกุ คน ท้ังนกั การเมอื งและรฐั บาลใช้คาวา่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทากิจกรรม ใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ท่ีดี หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพื่อ เป็นเครื่องมือเพื่อตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจนี้อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเร่ือง เดียวกัน ทาให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซ่ึงเป็น ความเขา้ ใจทีผ่ ิด สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 3

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะ เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่า เป็นปรัชญาท่ีสามารถเร่ิมได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจ ในวงกว้างข้ึนในที่สุด เป็น ปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยท่ีองค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ท่ี เปน็ สมาชิก 166 ประเทศยดึ เป็นแนวทางสู่การพฒั นาประเทศแบบยัง่ ยืน หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาท่ีตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความ ไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สินใจ และการกระทา ประการทส่ี าคัญของเศรษฐกิจพอเพียง พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองใน ครวั เรือน เหลือจึงขายไป พออยู่พอใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหม็น ใช้แต่ของท่ีเป็นธรรมชาติ (ใช้ จลุ ินทรยี ผ์ สมน้าถพู ื้นบา้ น จะสะอาดกว่าใชน้ า้ ยาเคม)ี รายจา่ ยลดลง สขุ ภาพจะดีขนึ้ (ประหยัดคา่ รกั ษาพยาบาล) พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด \"การจะเป็นเสือน้ันมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบ พอมีพอกิน แบบพอมพี อกนิ หมายความวา่ อ้มุ ชูตวั เองได้ ใหม้ ีพอเพยี งกบั ตัวเอง\" พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอย่หู ัว รชั กาลที่ 9 2. งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง ชูพักตร สุทธิสาและชุติมา เมฆวัน (2551, บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องรูปแบบกระบวนการพัฒนาหมูบาน ต นแบบนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติศึกษากรณีบานหนองแขและบานดอนหนอง ตาบลขามเรียง อาเภอ กันทรวชิ ยั จงั หวัดมหาสารคาม เปนการวิจยั เชิงคณุ ภาพมวี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเผยแพร่และสร้างความรูความ เข้าใจเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและเพื่อหารูปแบบการพัฒนาท่ีนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในการ ดาเนนิ ชีวติ ของตนเองครอบครัวและชุมชน กลุมตวั อยางประชากรคือตัวแทนชุมชน บานหนองแข และบานดอนหนอง ตาบลขามเรยี ง อาเภอกันทรวิชยั จงั หวดั มหาสารคาม จานวน 55 คน ผลการวิจยั พบวาวิธีการเผยแพรและสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงใชวิธีการเผยแพรโดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม (Participatory Action Research: PAR) เริ่มจากการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การปฏิบัติการ และการ สรุปผล โดยทุกกระบวนการเนนกระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวม สาหรับดานรูปแบบการพัฒนาท่ีนาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใชในการ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาสม้ สมนุ ไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หน้า 4

ดาเนนิ ชีวิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชนพบวาทั้งสองชุมชนไดนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในการดาเนิน ชีวิต ใน 4 ดาน ได้แก่ 1) ดานการเพิ่มรายได้ โดยการผลิตผลิตภัณฑเพ่ือจาหน่ายเพิ่มรายได 2) ด้านลดรายจ่ายโดย การผลิตของใชในครวั เรือนขึ้นใช้เอง เชน น้ายาลางจาน 3) ด้านการสืบทอดความรูและการใช้ภูมิปญญาทองถิ่นในการ ผลิตผลิตภัณฑ 4) ดานการพัฒนาโดยการปรับปรุงและประยุกตความรูแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติที่ เหมาะสมกับตนเอง ครอบครัวและชมุ ชน สุเมธ ตันติเวชกุล, 2542 กล่าวว่า การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และประพฤติ ปฏิบัติ เพ่ือท่ีจะให้บรรลุผลสาเร็จในระยะเวลาอันส้ันน้ัน มิใช่เร่ืองที่จะเป็นไปได้ง่าย ๆ ต้องให้ ความรู้ และสร้างความ เข้าใจให้เกิดข้นึ กับประชาชนทุกระดับ โดยอาศัยความร่วมมือจาก ส่วนราชการ และทุกภาคส่วนของประเทศ และการ ประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นน้ั มีแนวทางในการดาเนินชีวติ ดังนี้ คอื ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ในทุกด้าน ลดละ ความฟุมเฟือย ในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดังท่ีมีกระแสพระราชดารัสว่า “ความเป็นอยู่ ที่ต้องไม่ ฟูุงเฟูอ ต้องประหยัดไปในทางท่ีถูกต้อง” ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาด แคลนในการดารงชีพก็ตาม ดังที่มีกระแสพระราชดารัสว่า “ความเจริญของคนท้ังหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติ ชอบและการหาเลี้ยงชีพชอบ เป็นสาคัญ” อดินันต พรหมพันธใจ (2550) ศึกษาเรื่องการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชุมชน เพ่ือการการ พัฒนาประเทศที่ย่งั ยนื โดยศึกษากรณีชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพียงที่สามารถใชหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหาร จดั การทนุ ชมุ ชน ชุมชนบานหนองกลางดง จังหวัดประจวบคีรีขันธ และชุมชนวังลุม จังหวัดระนอง มีวัตถุประสงคเพ่ือ ศกึ ษาการนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในชุมชน เพื่อการจัดการทุนประเทศเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน และศึกษา วธิ คี ดิ ของชมุ ชน ตาง ๆ ในการนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ช้กับชมุ ชนของตนเอง สรุปผลการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 5

บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน การดาเนินงานโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรการทาปลาสม้ สมนุ ไพร คณะทางานไดด้ าเนินงาน ดงั น้ี 1. สารวจกลุม่ เปาู หมาย ประชาชนตาบลท่าจะหลงุ อาเภอโชคชัย จงั หวัดนครราชสมี า จานวน 6 คน 2. ประชุม/ชี้แจงวางแผนการดาเนินงานแก่บุคลากร กศน.อาเภอโชคชัย เพื่อกาหนดรูปแบบและวาง แผนการดาเนินงาน ในวนั ที่ 18 ธนั วาคม 2564 ณ บา้ นงว้ิ หมู่ท่ี 6 ตาบลท่าจะหลงุ อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 3. จัดเตรียมเอกสาร/วัสดุอุปกรณ์ และประสานสถานที่ เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเอกสารวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ ในวนั ที่ 20 ธนั วาคม 2564 ณ บ้านง้ิว หมู่ท่ี 6 ตาบลท่าจะหลงุ อาเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสีมา 4. ดาเนินการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพรวันที่ 21 – 22 ธันวาคม 2564 โดยมี นางสมพษิ อาษาสิงห์ เปน็ วทิ ยากรให้ความรู้ ดงั นี้ การน้อมนาแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใชเ้ ปน็ แนวทางการดาเนนิ ชีวิต 1. กระตนุ้ ให้หม่บู ้าน ชุมชน ประชาชน น้อมนาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจาวัน ขยายผล การรับรู้และเข้าใจปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงลงสูห่ มู่บ้าน/ชมุ ชน และประชาชนในพนื้ ท่ีให้ครอบคลุม 2. จดั กิจกรรมเรียนรู้ ดังนี้ ความหมายของปลาสม้ ปลาสม้ หมายถึง ผลติ ภัณฑท์ ่ีทาจากปลาทผี่ า่ นกรรมวธิ ีการหมกั ดว้ ยเกลอื ข้าวสวย หรอื ข้าวเหนยี วน่งึ และ กระเทียมจนมีรสเปรีย้ วอาจทาจากปลาท้งั ตัว หรอื เฉพาะเน้ือปลาก็ได้ ปลาส้ม เปน็ การแปรรปู อาหารจากปลาชนิดหนงึ่ ทีน่ ยิ มบรโิ ภคกนั ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่าง แพรห่ ลาย และแพร่ไปสู่ภมู ิภาคอ่ืนๆ เป็นภูมปิ ัญญาท้องถ่ินในการถนอมอาหารซึง่ การผลิตสว่ นใหญ่ยังเปน็ การผลิต แบบอตุ สาหกรรมในครอบครัว โดยอาศยั เทคนิควิธที ถี ่ายทอดสบื ต่อกนั มา ดงั นนั้ รสชาติ หรือคุณภาพของปลาสม้ แต่ ละแหง่ จึงมคี วามแตก ต่างกัน ข้ึนอยู่กับสูตรการผลติ อย่างไรกต็ าม แม้สตู รการผลิตเดียวกนั ในแต่ละคร้ังก็อาจไมไ่ ด้ คุณภาพเทา่ กนั ทั้งนเี้ พราะการผลติ ปลาสม้ จะเปน็ การหมักเพ่อื ให้เกดิ เช้ือตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคมุ ไดค้ ณุ ภาพ และรสชาติ จึงมีโอกาสเปล่ียนแปลงเนอื่ งจากองค์ประกอบหลายๆ ด้าน เครอื่ งปรุงหลักในการทาปลาสม้ ประกอบดว้ ย ปลา เกลอื กระเทยี ม ข้าวสกุ ผสมกนั หมกั จนมรี สเปรย้ี วมที งั้ แบบที่ใช้ปลาทัง้ ตวั และแบบท่ีใชเ้ ฉพาะเน้ือปลา ซ่ึงแบบท่ีใช้เน้อื ปลาอยา่ งเดยี วอาจเรยี กปลาสม้ ฟกั หรือแหนมปลา สดั สว่ นเครอ่ื งปรงุ จะแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถ่นิ เชน่ ชาวไทญ้อมีสตู รปลาส้มเป็นของตนเอง โดยเคร่ืองปรงุ ใช้พริก เกลือ กระเทียม น้าซาวขา้ ว ข้าวเหนีย่ วใหมน่ ึง่ จะต้องคั่วเกลอื ใหแ้ ห้งและตาให้ละเอียดก่อนนามาคลกุ กบั ส่วนผสมอน่ื ปลาสม้ ของภาคใตม้ เี อกลักษณเ์ ฉพาะท่ีตา่ งไป โดยจะนาปลา เช่น ปลากระดี่ ปลาตะเพียน มาผา่ ทอ้ งเอาไส้ ออก หมักเกลอื ไว้ 2-3 วนั แลว้ จงึ ล้าง จากน้ันนาไปชบุ ในน้าตาลโตนดที่เคยี่ วกบั ข้าวคว่ั จนขน้ เรียงใส่ไห ปดิ ปากไหให้ แนน่ ทง้ิ ไว้ 7-10 วนั ถ้าใช้กงุ้ แทนเรียกกงุ้ ส้ม สรุปผลการดาเนินงานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 6

ประเภทของปลาส้ม ปลาส้ม แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คอื - ปลาส้มตวั เป็นปลาสม้ ท่ีทาจากปลาท้งั ตัวท่ีผา่ ท้องควกั ไส้ออกแลว้ - ปลาสม้ ช้นิ เป็นปลาส้มท่ที าจากเนื้อปลาล้วนที่หนั่ เปน็ ชนิ้ ตามขวางของลาตวั ปลา - ปลาสม้ เสน้ เป็นปลาส้มทท่ี าจากเนือ้ ปลาลว้ นทีห่ นั่ เป็นเส้น - ปลาส้มฟกั หรือ แหนมปลา เป็นปลาส้มทที่ าจากเนอ้ื ปลาล้วนทบ่ี ดหรือสบั คุณลกั ษณะทตี่ ้องการ - ต้องเปน็ ปลาชนิดเดียวกนั และมีลักษณะเฉพาะถูกต้องตรงตามชื่อประเภทปลาสม้ ท่รี ะบุไว้ทีฉ่ ลาก - ตอ้ งมสี ีกล่ิน รสเปน็ ไปตามธรรมชาติของปลาส้มแตล่ ะประเภท ไม่มีกลน่ิ อับ กล่ินหนื หรือกลน่ิ อ่ืนทีไ่ ม่ พึงประสงค์ - ปลาส้มตวั ตอ้ งคงสภาพเปน็ ตัว เน้อื แนน่ ไม่ยุ่ย - ปลาสม้ ชิน้ ตอ้ งคงสภาพเปน็ ชนิ้ เนือ้ แนน่ ไมย่ ุ่ย - ปลาสม้ เสน้ ต้องคงสภาพเป็นเสน้ ไม่แตกยุย่ - ปลาสม้ ฟัก หรือแหนมปลา ต้องมเี น้ือเนยี น แนน่ ยดื หยุ่นดี ไม่มีฟองอากาศ สว่ นผสมในการทาปลาส้ม ต่อปลา 1 กโิ ลกรมั - ปลาตะเพยี น 1 กิโลกรัม - กระเทียมบดหรือโขลก ½ ถ้วย - ขา้ วสุก ½ ถ้วย - เกลอื ปนุ 1 ช้อนโต๊ะ วิธที าปลาส้ม - นาปลามาขอดเกล็ด ควักไส้ออกให้หมด ลา้ งใหส้ ะอาด แล้วบั้งตัวปลาทั้งสองข้าง - นาขา้ วสกุ ไปล้างน้า ใสก่ ระเทียม เกลอื คลุกเคลา้ กับปลาให้เข้ากัน - นาปลาทไี่ ดใ้ สภ่ าชนะ กดตวั ปลาใหแ้ น่น และปดิ ฝา ท้ิงไว้ 1-5 วนั หรอื จนกระทงั่ ปลามีรสเปรีย้ วจงึ นาออกทอดได้ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หน้า 7

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู คร้ังนี้ มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อประเมินผลกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทา ปลาส้มสมุนไพรจากผู้ตอบแบบประเมิน จานวน 6 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมิน โครงการ ได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซึง่ ใชโ้ ปรแกรม SPSS เพื่อวเิ คราะห์คา่ สถติ ทิ ั้งหมด ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 1 วเิ คราะห์ข้อมูลส่วนตวั ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถ่ีและค่าร้อยละของตัว แปร ตอนท่ี 2 วิเคราะห์ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพรโดย การแจกแจงค่าเฉลีย่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนท่ี 3 วิเคราะหค์ วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถ่ีและค่าร้อยละของตัว แปร ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทาปลาสม้ สมุนไพรโดยการแจกแจงความถแี่ ละคา่ รอ้ ยละของตวั แปร ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 จานวน และค่าร้อยละ ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ (N=6) ขอ้ มูลส่วนตัว จานวน รอ้ ยละ 1. เพศ ชาย - - 6 หญงิ 100.00* รวม 6 2. อายุ 15 – 29 ปี - 100.00 30 – 49 ปี 2 - 50 ปีขึ้นไป 4 33.30 รวม 6 66.70* 100.00 สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 8

3. ระดับ ขอ้ มูลส่วนตัว จานวน รอ้ ยละ การศกึ ษา ประถมศกึ ษา 6 100.00* มัธยมศึกษาตอนต้น - - - - มัธยมศึกษาตอนปลาย - - อนื่ ๆ 6 100.00 - - รวม - - - - 4. อาชีพ เกษตรกรรม - - - - คา้ ขาย 6 - 100.00* รับราชการ - 6 พนักงานของรัฐ ฯ 100.00 ธรุ กจิ ส่วนตวั รบั จ้าง อื่นๆ รวม หมายเหตุ : * หมายถึง ข้อมูลสว่ นใหญ่ จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จานวน 6 คน ท้ังหมดเป็นเพศหญิง จานวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 100.00 พบว่าส่วนใหญ่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.70 รองลงมามีอายุ 30 – 49 ปี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 ระดับการศึกษาพบว่าทุกคนจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา จานวน 6 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 100.00 และทกุ คนประกอบอาชพี รบั จา้ ง จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ผลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรการทาปลาส้มสมุนไพร การจาแนกระดับ ผลการประเมนิ โครงการ แบบมาตรฐานประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดงั นี้ 5 คะแนน คอื ระดบั ผลการประเมนิ มากท่ีสุด 4 คะแนน คือ ระดับผลการประเมนิ มาก 3 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมนิ ปานกลาง 2 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินน้อย 1 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมนิ น้อยท่สี ุด N คอื จานวนผตู้ อบแบบประเมิน ̅ คอื ระดบั คา่ เฉลี่ยผลการประเมิน S.D. (Standard deviation) คือ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการดาเนินงานโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หน้า 9

คา่ เฉล่ียระดบั ผลการประเมนิ ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ คา่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถงึ มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉลย่ี 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมินอย่ใู นระดับมาก ค่าเฉลย่ี 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลย่ี 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั น้อย ค่าเฉล่ีย 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึง มผี ลการประเมินอย่ใู นระดบั น้อยท่ีสดุ ตารางท่ี 2.1 คา่ เฉลี่ย คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรการทาปลาส้มสมุนไพร ของผูต้ อบแบบประเมนิ โครงการ ในภาพรวม และจาแนกรายดา้ น ดงั น้ี รายการ N=6 ระดบั ผลการ ̅ S.D. ประเมนิ 1. ดา้ นหลักสูตร 4.50 0.67 มากทีส่ ดุ 2. ดา้ นวิทยากร 3. ด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพงึ พอใจ 4.33 0.58 มาก รวม 4.50 0.65 มากทส่ี ุด 4.44 0.63 มาก จากตารางที่ 2.1 พบว่า มีผลการประเมินโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅=4.44) เม่ือพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า ด้านหลักสูตร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.50) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.67) รองลงมาคือ ด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.50) ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.=0.65) และดา้ นวทิ ยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดบั มาก (̅=4.33) ตามลาดับ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาสม้ สมนุ ไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 10

ตารางท่ี 2.2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาสม้ สมนุ ไพร ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการด้านหลกั สตู ร โดยจาแนกเปน็ รายข้อ ดงั น้ี รายการ N=6 ระดบั ผลการ ̅ S.D. ประเมิน ดา้ นหลักสตู ร 1. กิจกรรมสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 4.33 0.82 มาก 4.67 0.52 มากทส่ี ุด 2. เนือ้ หาของหลกั สูตรตรงกับความตอ้ งการผูร้ ว่ ม กิจกรรม 4.67 0.52 มากที่สุด 3. การจดั กิจกรรมสง่ เสริมให้ผรู้ ว่ มกิจกรรมสามารถ คดิ เปน็ ทาเป็น แก้ปัญหาเปน็ 4.17 0.98 มาก 4. ผรู้ ว่ มกิจกรรมมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น ตอ่ การจดั ทาหลักสตู ร 4.67 0.52 มากทสี่ ดุ 5. ผรู้ ว่ มกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้ในการ 4.50 0.67 มากทส่ี ดุ ประกอบอาชีพได้ รวม จากตารางที่ 2.2 มีผลการประเมนิ โครงการในด้านหลักสูตร อยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.50) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อพบวา่ เนื้อหาของหลกั สูตรตรงกบั ความตอ้ งการผู้ร่วมกิจกรรม การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ร่วมกิจกรรมสามารถ คิดเปน็ ทาเป็น แก้ปัญหาเปน็ และผู้รว่ มกิจกรรมสามารถนาความรไู้ ปปรับใช้ในการประกอบอาชีพได้ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.67) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.79)รองลงมาคือ กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.33) และผู้ร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อ การจัดทาหลักสูตร มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับมาก (̅=4.17) ตามลาดับ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 11

ตารางที่ 2.3 คา่ เฉล่ยี ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมินกจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รการทาปลาส้มสมนุ ไพรของผตู้ อบแบบประเมนิ โครงการด้านวิทยากร โดยจาแนกเปน็ รายขอ้ ดงั น้ี รายการ N=6 ระดับผลการ ̅ S.D. ประเมิน ดา้ นวิทยากร 6. วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ 4.00 0.63 มาก ความรู้ 7. วิทยากรมีเทคนิค วธิ ีการในการจัดการถา่ ยทอดองค์ 4.33 0.52 มาก ความรู้ 8. วทิ ยากรมีการใช้สื่อที่สอดคลอ้ งและเหมาะสมกับ 4.83 0.41 มากทส่ี ดุ กจิ กรรม 9. บคุ ลิกภาพของวิทยากร 4.17 0.75 มาก 4.33 0.58 มาก รวม จากตารางที่ 2.3 พบวา่ มผี ลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพร ในด้าน วิทยากร อยู่ในระดับมาก (̅=4.33) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมีการใช้ส่ือท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับ กิจกรรม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.83) รองลงมาคือ วิทยากรมีเทคนิค วิธีการในการจัดการ ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.33) บุคลิกภาพของวิทยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดับ มาก (̅=4.17) และวทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในการถา่ ยทอดองค์ความรู้ มีผลการประเมินเท่ากันอยู่ในระดับมาก (̅=4.00) ตามลาดับ สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลักสูตรอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลท่าจะหลุง ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 12

ตารางท่ี 2.4 คา่ เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลกั สตู รการทาปลาส้มสมนุ ไพรของผ้ตู อบแบบประเมินโครงการ ด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ โดย จาแนกเป็นรายขอ้ ดังนี้ รายการ N=6 ระดับผลการ ̅ S.D. ประเมิน ดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา และความพงึ พอใจ 10. สถานทีใ่ นการจัดกิจกรรมเหมาะสม 4.33 1.03 มาก 11. ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.67 0.52 มากทส่ี ดุ 12. ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู้ ว่ มกจิ กรรมต่อ 4.67 0.52 มากทส่ี ดุ การเขา้ รว่ มกิจกรรม 13. ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมตาม 4.33 0.52 มาก หลกั สตู ร 4.50 0.65 มากท่สี ุด รวม จากตารางที่ 2.4 พบว่า มีผลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพร ใน ด้านสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.50) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ระยะเวลา ในการจดั กิจกรรมเหมาะสมและความพึงพอใจในภาพรวมของผู้ร่วมกิจกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลการประเมิน อยูใ่ นระดบั มากที่สุด (̅=4.67) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.52) รองลงมาคือ สถานท่ีในการจัดกิจกรรมเหมาะสม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (̅=4.33) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=1.03) และประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วม กิจกรรมตามหลักสตู ร มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาก (̅=4.33) ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.=0.52) ตามลาดับ ตอนท่ี 3 วิเคราะหค์ วามคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ควรให้การสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การพฒั นาอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพรใหก้ บั ประชาชนอย่างต่อเน่ือง สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 13

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ จากการวิเคราะห์ข้อมูลผลการดาเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาสม้ สมนุ ไพร สามารถสรปุ ผล อภปิ รายผล และมขี ้อเสนอแนะดังนี้ ตอนท่ี 1 วิเคราะหข์ ้อมลู สว่ นตัวของผตู้ อบแบบประเมนิ ในภาพรวม จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จานวน 6 คน ทั้งหมดเป็นเพศหญิง จานวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 100.00 พบว่าส่วนใหญ่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.70 รองลงมามีอายุ 30 – 49 ปี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 ระดับการศึกษาพบว่าทุกคนจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา จานวน 6 คน คิด เป็นร้อยละ 100.00 และทุกคนประกอบอาชพี รับจา้ ง จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ผลการประเมินกจิ กรรมการโครงการสง่ เสริมอาชีพการทาปลาส้มสมนุ ไพร จากตารางที่ 2.1 พบว่า มีผลการประเมินโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅=4.44) เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า ด้านหลักสูตร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.50) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.67) รองลงมาคือ ด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.50) ค่าเบ่ียงเบน มาตรฐาน (S.D.=0.65) และด้านวทิ ยากร มผี ลการประเมนิ อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.33) ตามลาดับ จากตารางท่ี 2.2 มผี ลการประเมินโครงการในด้านหลักสูตร อยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.50) เม่ือพิจารณาเป็น รายขอ้ พบวา่ เนือ้ หาของหลกั สูตรตรงกับความต้องการผู้ร่วมกิจกรรม การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ร่วมกิจกรรมสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปญั หาเปน็ และผูร้ ว่ มกิจกรรมสามารถนาความร้ไู ปปรับใช้ในการประกอบอาชีพได้ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.67) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.79)รองลงมาคือ กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.33) และผู้ร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อ การจดั ทาหลกั สูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.17) ตามลาดับ จากตารางท่ี 2.3 พบวา่ มผี ลการประเมินโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพร ในด้าน วิทยากร อยู่ในระดับมาก (̅=4.33) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมีการใช้สื่อที่สอดคล้องและเหมาะสมกับ กิจกรรม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.83) รองลงมาคือ วิทยากรมีเทคนิค วิธีการในการจัดการ ถา่ ยทอดองค์ความรู้ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.33) บุคลิกภาพของวิทยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดับ มาก (̅=4.17) และวิทยากรมีความรูค้ วามสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ มีผลการประเมินเท่ากันอยู่ในระดับมาก (̅=4.00) ตามลาดบั สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 14

จากตารางที่ 2.4 พบว่า มีผลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพร ใน ด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ระยะเวลา ในการจดั กิจกรรมเหมาะสมและความพึงพอใจในภาพรวมของผู้ร่วมกิจกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลการประเมิน อยใู่ นระดับมากท่ีสุด (̅=4.67) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.52) รองลงมาคือ สถานที่ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (̅=4.33) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=1.03) และประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วม กิจกรรมตามหลกั สตู ร มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.33) คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.=0.52) ตามลาดบั ตอนท่ี 3 วเิ คราะห์ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ ควรให้การสนับสนุนและสง่ เสริมการพัฒนาอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพรให้กับประชาชนอย่างต่อเน่ือง อภปิ รายผล จากการสรุปผลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาปลาส้มสมุนไพรมีผลการประเมิน โครงการโดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.44) ทง้ั นีเ้ ปน็ เพราะ คณะทางาน ได้ประชุม/ชี้แจงวางแผนการดาเนินงาน แก่บุคลากร กศน.อาเภอโชคชัย กาหนดรูปแบบ และแผนการดาเนินงาน การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จัดเตรียมความพร้อมในการดาเนินงานโครงการ มีการนิเทศกิจกรรมโครงการอย่างต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปรับปรุงให้เกิด ความเหมาะสม จากผลการประเมินดังกล่าว มีประเด็นที่น่าสนใจนามาอภิปรายผล ดังนี้ พบว่า ประโยชน์ท่ีได้รับจากการเข้า ร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (̅=4.33) ซ่ึง ประชาชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมนา ความรู้ และทักษะ ไปใช้ในการดาเนินชีวิต เพราะปลาส้ม เป็นการถนอมอาหารจากภูมิปัญญาไทยในสมัยโบราณ โดยมีต้น กาเนิดมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นอาหารท่ีมีคุณค่าทางโปรตีนสูง และสามารถเก็บไว้กินได้นาน โดยอาหาร นั้นไมส่ ญู เสียคุณภาพ ผา่ นกรรมวธิ ีการหมักจนได้ผลิตภัณฑ์รสชาติอร่อยถูกปากและเป็นท่ีนิยมของคนทุกภาค ปัจจุบัน สตู รการทาปลาส้มได้แพร่กระจายไปทั่วประเทศและได้รับความนิยมอยากมากในภาคอีสาน สามารถนามาต่อยอดเป็น ผลติ ภัณฑใ์ นการจาหน่ายเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริมในชุมชน ตาบลทุ่งอรุณได้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ , 2542 กล่าววา่ การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และประพฤติ ปฏิบัติ เพื่อท่ีจะให้ บรรลผุ ลสาเร็จในระยะเวลาอันสั้นน้ัน มิใช่เร่ืองที่จะเป็นไปได้ง่าย ๆ ต้องให้ ความรู้ และสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นกับ ประชาชนทุกระดับ โดยอาศัยความร่วมมอื จาก สว่ นราชการ และทุกภาคส่วนของประเทศ และการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง นั้น มีแนวทางในการดาเนินชีวิตดังน้ี คือ ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละ ความฟุมเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดังที่มีกระแสพระราชดารัสว่า “ความเป็นอยู่ ท่ีต้องไม่ฟูุงเฟูอ ต้องประหยัด ไปในทางท่ีถกู ตอ้ ง” ยดึ ถอื การประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะ ขาดแคลนในการดารงชีพก็ ตาม ดงั ท่ีมีกระแสพระราชดารัสว่า “ความเจริญของคนทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเล้ียงชีพ ชอบ เป็นสาคญั ” ทัง้ น้ี สง่ ผลให้ประชาชนบา้ นใหม่หนองปรกึ หมู่ที่ 15 ตาบลทุ่งอรุณ พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงใน สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 15

ทุกดา้ น มุง่ เน้นใหป้ ระชาชนนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวันใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเอง และ ส่วนร่วมอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ ส่งผลให้โครงการ ฯ ประสบผลสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ทก่ี าหนด ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนาครง้ั ต่อไป ควรมีการถอดบทเรียน และองคค์ วามรู้ จากการทางาน และการใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เพื่อต่อยอดการพัฒนาใน ชมุ ชนอยา่ งตอ่ เน่อื ง สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หน้า 16

บรรณานุกรม เพจเกษตรเพื่อคนไทย. เคล็ดลับการทาปลาส้มให้อรอ่ ย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://postnoname.com /how- to-make-pla-som-very-delicious/ (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มลู วันที่ 4 มีนาคม 2564). เศรษฐกิจพอเพียง [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.tupr.ac.th/sufficency1.php (วนั ทค่ี น้ ข้อมูล วนั ท่ี 4 มีนาคม 2564). สุเมธ ตันติเวชกุล. (2552). การดาเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตามแนว พระราชดาริ. วารสารน้า, 20 (2), 249-250. สานักงาน กศน. (2561). ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. [อ อ น ไ ล น์ ]. เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก http://ubon.nfe.go.th/Joomla/index.php? Option =com_content&view=article&id=1444:-2559&catid=39:plan&Itemid=56). (วันท่ีค้นข้อมูล วันที่ 4 มนี าคม 2564) สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลท่าจะหลุง ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 17

ภาคผนวก สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 18

รายช่อื ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร ณ บา้ นง้ิว หมู่ 6 ตาบลท่าจะหลุง อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสีมา ลาดับท่ี ช่อื – นามสกลุ หมายเหตุ 1 นางอรอุมา นอกกระโทก 2 นางสาวเงนิ สนพะเนาว์ 3 นางแปูน หนดกระโทก 4 นางมาลี หนึ่งกระโทก 5 นางมาลัย ปยุ๋ กระโทก 6 นางพรรณี หนดกระโทก สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาสม้ สมนุ ไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หน้า 19

ภาพกจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาปลาสม้ สมนุ ไพร วนั ท่ี 21 – 22 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ณ บา้ นงวิ้ หมู่ที่ 6 ตาบลท่าจะหลุง อาเภอโชคชัย จงั หวัดนครราชสมี า สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หน้า 20

ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู โปรแกรม SPSS หลักสตู รอาชีพการทาปลาส้มสมนุ ไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ Frequency Table เพศ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent 100.0 Valid หญิง 6 100.0 100.0 อายุ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent 33.3 Valid 30-49 ปี 2 33.3 33.3 100.0 50 ปขี ึ้นไป 4 66.7 66.7 Total 6 100.0 100.0 ระดับการศึกษา Cumulative Percent Frequency Percent Valid Percent 100.0 Valid ประถมศกึ ษา 6 100.0 100.0 อาชีพ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent 100.0 Valid รับจา้ ง 6 100.0 100.0 ขอ้ ที่ 1 กจิ กรรมสอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องหลักสตู ร Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 2 33.3 33.3 50.0 มากทีส่ ดุ 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 สรุปผลการดาเนินงานโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 21

ขอ้ ท่ี 2 เน้ือหาของหลกั สตู รตรงกบั ความต้องการผูร้ ว่ มกิจกรรม Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากทส่ี ุด 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 3 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้ผู้รว่ มกิจกรรมสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปญั หาเป็น Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากทสี่ ดุ 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 4 ผูร้ ว่ มกิจกรรมสามารถนาความร้ไู ปปรับใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 1 16.7 16.7 50.0 มากทส่ี ุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 5 ผ้รู ว่ มกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากที่สดุ 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 22

ข้อท่ี 6 วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 4 66.7 66.7 83.3 มากท่สี ุด 1 16.7 16.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 7 วทิ ยากรมีเทคนิค วิธีการในการจัดการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 4 66.7 66.7 66.7 มากที่สุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อท่ี 8 วทิ ยากรมีการใชส้ ่ือทสี่ อดคล้องและเหมาะสมกบั กิจกรรม Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 1 16.7 16.7 16.7 มากที่สดุ 5 83.3 83.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อท่ี 9 บคุ ลิกภาพของวิทยากร Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent 16.7 Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 66.7 100.0 มาก 3 50.0 50.0 มากทส่ี ดุ 2 33.3 33.3 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 10 สถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรมเหมาะสม สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาส้มสมุนไพร กศน.ตาบลท่าจะหลงุ ประจาปงี บประมาณ 2565 หน้า 23

Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent 33.3 Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 100.0 มากที่สดุ 4 66.7 66.7 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 11 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากทส่ี ดุ 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 12 ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รว่ มกจิ กรรมต่อการเข้าร่วมกจิ กรรม Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากทส่ี ุด 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 13 ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจาการเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามหลักสูตร Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid มาก 3 50.0 50.0 50.0 มากทส่ี ดุ 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาปลาสม้ สมนุ ไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ ประจาปีงบประมาณ 2565 หน้า 24

Descriptive Statistics Std. N Minimum Maximum Mean Deviation ขอ้ ท่ี 1 กจิ กรรมสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของหลักสตู ร 6 3.00 5.00 4.3333 .81650 ขอ้ ที่ 2 เน้ือหาของหลักสูตรตรงกบั ความต้องการผูร้ ่วม 6 4.00 5.00 4.6667 .51640 กิจกรรม ขอ้ ท่ี 3 การจดั กิจกรรมส่งเสริมให้ผรู้ ว่ มกจิ กรรมสามารถ 6 4.00 5.00 4.6667 .51640 คิดเป็น ทาเปน็ แกป้ ญั หาเป็น ขอ้ ที่ 4 ผู้รว่ มกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้ในการ 6 3.00 5.00 4.1667 .98319 ประกอบอาชีพได้ ขอ้ ที่ 5 ผ้รู ว่ มกจิ กรรมสามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นการ 6 4.00 5.00 4.6667 .51640 ประกอบอาชีพได้ ข้อที่ 6 วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในการถา่ ยทอดองค์ 6 3.00 5.00 4.0000 .63246 ความรู้ ข้อท่ี 7 วทิ ยากรมีเทคนิค วิธกี ารในการจัดการถ่ายทอด 6 4.00 5.00 4.3333 .51640 องค์ความรู้ ข้อท่ี 8 วิทยากรมีการใชส้ ื่อที่สอดคลอ้ งและเหมาะสมกับ 6 4.00 5.00 4.8333 .40825 กจิ กรรม ข้อที่ 9 บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 6 3.00 5.00 4.1667 .75277 ขอ้ ท่ี 10 สถานทีใ่ นการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 6 3.00 5.00 4.3333 .51640 ขอ้ ท่ี 11 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 6 4.00 5.00 4.6667 .51640 ข้อที่ 12 ความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู้ ว่ มกจิ กรรมต่อ 6 4.00 5.00 4.6667 .51640 การเข้าร่วมกิจกรรม ข้อท่ี 13 ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจาการเขา้ รว่ มกิจกรรมตาม 6 4.00 5.00 4.3333 .51640 หลักสตู ร Valid N (listwise) 6 สรุปผลการดาเนินงานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปงี บประมาณ 2565 หนา้ 25

คณะผจู้ ดั ทา ท่ปี รึกษา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโชคชยั บรรณารกั ษช์ านาญการพิเศษ นางจรี ะภา วัฒนกสกิ าร ครูอาสาสมัคร กศน. นางสุวิมล หาญกล้า นางจงรักษ์ เชอื่ ปัญญา วเิ คราะห์ เรียบเรียงและจดั ทาตน้ ฉบับ นายเชาวฤทธ์ิ เพราะกระโทก ครู กศน.ตาบล บรรณาธิการ นางจีระภา วฒั นกสกิ าร ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอโชคชัย นางสาวอรอนงค์ เนื่องกระโทก เจ้าหนา้ ท่ีธุรการ สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลุง ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 26

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาปลาสม้ สมุนไพร กศน.ตาบลทา่ จะหลงุ

ประจาปีงบประมาณ 2565 หนา้ 27