Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AW Science Program in Healty Data Science pdf 01

AW Science Program in Healty Data Science pdf 01

Published by pccms.sa, 2021-02-05 04:07:49

Description: AW Science Program in Healty Data Science pdf 01

Search

Read the Text Version

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ Bachelor of Sci(eหnลcักeสPตู rรoใgหraมm พi.nศ.H2e5a6l1th) Data Science คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ชือ่ สถาบันอุดมศกึ ษา วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาธนบรุ ี วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข คณะวศิ วกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร 1. รหสั และชือ่ หลักสตู ร หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมูลสขุ ภาพ Bachelor of Science Program in Health Data Science 1.1 ระบุรหัส : 1.2 ชื่อหลักสตู ร (ภาษาไทย) : (ภาษาองั กฤษ) : 2 ชอ่ื ปริญญาและสาขาวชิ า วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วิทยาศาสตรข อมลู สุขภาพ) Bachelor of Science (Health Data Science) 2.1 ชอื่ เตม็ (ภาษาไทย) : วท.บ. (วทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ) (ภาษาองั กฤษ) : B.Sc. (Health Data Science) 2.2 ช่อื ยอ (ภาษาไทย) : (ภาษาอังกฤษ) : 3. วิชาเอก (ถาม)ี ไมมี 4. จำนวนหนว ยกิตทเ่ี รยี นตลอดหลักสูตร 125 หนว ยกิต ๕. รูปแบบของหลกั สตู ร 5.1 รปู แบบ เปนหลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี 4 ป 5.2 ประเภทของหลกั สตู ร เปน หลักสูตรทางวชิ าการ 5.3 ภาษาทใ่ี ช หลกั สูตรจัดการศึกษาเปน ภาษาไทย 5.4 การรับเขาศกึ ษา รับนักศกึ ษาไทย 5.5 ความรว มมือกับสถาบันอ่นื - เปนหลกั สตู รรว มระหวางวิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ และมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี - การออกใบปริญญาบัตรจะกระทำรว มกันโดยวิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี สวนการรบั ปรญิ ญาใหรบั รว มกับทางวทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ 2 คูมอื หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) 5.6 การใหป ริญญาแกผ สู ำเรจ็ การศึกษา - ใหป ริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว 6. อาชีพทส่ี ามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศกึ ษา 6.1 นกั วิทยาศาสตรขอมลู 6.2 นกั ระบาดวทิ ยา 6.3 นักวิเคราะหขอ มลู 6.4 นกั พัฒนาซอฟตแ วรและระบบขอ มลู 6.5 ผูจดั การซอฟตแวรและขอมูล 6.6 ประกอบธุรกิจสว นตวั 6.7 นกั วชิ าการคอมพิวเตอร ภาคการศกึ ษาที่ 1 แผนการศึกษา จำนวนหนว ยกติ CPE 102 3(2-2-6) (จธวค ๑๐๒) ชน้ั ปที่ 1 3(2-2-6) CPE 103 1(1-0-3) (จธวค ๑๐๓) การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรพ้นื ฐาน 3(3-0-6) CHHD 101 (Computer Programming Basics) 3(3-0-6) (จภขส ๑๐๑) คณติ ศาสตรดสิ ครีต 3(3-0-6) LNG 101 (Discrete Mathematics) 1(0-2-2) (จธภศ ๑๐๑) แนวคิดดา นสขุ ภาพและระบบการบริการสุขภาพ 17(14-6-35) MTH 101 (Concepts of Health and Health Care Systems) (จธคณ ๑๐๑) ภาษาอังกฤษท่วั ไป PHY 103 (General English) (จธฟส ๑๐๓) คณติ ศาสตร 1 GEN 101 (Mathematics I) (จธศท ๑๐๑) ฟสกิ สท ่วั ไปสำหรบั นักศกึ ษาวิศวกรรมศาสตร 1 (General Physics for Engineering Student 1) พลศกึ ษา (Physical Education) รวม 3 คมู อื หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จำนวนหนวยกิต CPE 111 การเขยี นโปรแกรมดว ยโครงสรา งขอมลู 3(2-2-6) (จธวค ๑๑๑) (Programming with Data Structures) CHHD 102 กายวิภาคศาสตรแ ละระบบตาง ๆ ของรา งกาย 3(2-2-6) สำหรับวิทยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (จภขส ๑๐๒) (Introduction to Anatomy and Body Systems Health Data Science ) CHHD 103 สุขภาพโลกเบ้อื งตน 1(1-0-3) (จภขส ๑๐๓) (Introduction to Global Health) CHHD 104 จริยธรรมในการวจิ ัยทางการแพทยแ ละขอมลู สขุ ภาพ 1(1-0-3) (จภขส ๑๐๔) (Ethics for Medical Research and Health Informatics) GEN 121 ทกั ษะการเรียนรูและการแกปญหา 3(3-0-6) (จธศท ๑๒๑) (Learning and Problem Solving Skils) LNG 102 ภาษาองั กฤษเชิงเทคนคิ 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๒) (Technical English) MIC 101 ชีววิทยาท่ัวไป 3(3-0-6) (จธชว ๑๐๑) (General Biology) รวม 17(15-4-36) ภาคการศกึ ษาที่ 1 ชน้ั ปท ี่ 2 จำนวนหนวยกิต CPE 231 ระบบฐานขอ มูล 3(2-2-6) (จธวค ๒๓๑) (Database Systems) CHHD 201 พนั ธุศาสตรร ะดับโมเลกุลพน้ื ฐาน 3(3-0-6) (จภขส ๒๐๑) (Fundamental Molecular Genetics) CHHD 202 โรคติดตอ และโรคไมติดตอ 3(3-0-6) (จภขส ๒๐๒) (Communicable and Non-communicable Diseases) MTH 102 คณติ ศาสตร 2 3(3-0-6) (จธคณ ๑๐๒) (Mathematics II) GEN 231 มหัศจรรยแ หงความคิด 3(3-0-6) (จธศท ๒๓๑) (Miracle of Thinking) LNG 103 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารในอาชพี 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๓) (Academic English) รวม 18(17-2-36) 4 คมู ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมูลสุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหนว ยกิต CPE 325 ขอมลู ขนาดใหญ 3(2-2-6) (จธวค ๓๒๕) (Big Data) CPE 329 การคดั กรองขอมูลทางธรุ กิจ 3(3-0-6) (จธวค ๓๒๙) (Business Inteligence) CHHD 203 ชวี วิทยาเชงิ คำนวณและชีวสารสนเทศเบอื้ งตน 3(2-2-6) (จภขส ๒๐๓) (Introduction to Computational Biology and Bioinformatics) CHHD 204 หลักการวนิ ิจฉัยทางคลนิ กิ และการรักษา 2(2-0-4) (จภขส ๒๐๔) (Principles of Clinical Diagnostics and Therapeutics) CHHD 301 ชีวสถติ ิ 3(3-0-6) (จภขส ๓๐๑) (Biostatistics) GEN 111 มนุษยกบั หลักจรยิ ศาสตรเ พอ่ื การดำเนนิ ชวี ิต 3(3-0-6) (จธศท ๑๑๑) (Man and Ethics of Living) รวม 17(15-4-34) ภาคการศกึ ษาที่ 1 ชน้ั ปท ี่ 3 จำนวนหนวยกติ CPE 352 3(2-2-6) (จธวค ๓๕๒) วทิ ยาศาสตรข อมูล 3(3-0-6) CPE 383 (Data Sciences) 3(3-0-6) (จธวค ๓๘๓) ขอมูลสว นบคุ คลและความปลอดภัยขอ มลู 3(3-0-6) CPE 353 (Data Privacy and Security) 3(3-0-6) (จธวค ๓๕๓) การออกแบบการทดลอง 3(3-0-6) GEN 241 (Design of Experiment) 18(17-2-36) (จธศท ๒๔๑) ความงดงามแหง ชวี ติ GEN xxx (Beauty of Life) (จธศท xxx) วชิ าเลือกหมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป 1 CHHDxxx (General Education Elective I) (จภขสxxx) วชิ าเลือกทางวิทยาศาสตรสุขภาพ 1 (CHHD Elective I) รวม 5 คมู ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มลู สุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ภาคการศึกษาท่ี 2 จำนวนหนว ยกติ CPE 378 การเรียนรูข องเครือ่ ง 3(2-2-6) (จธวค ๓๗๘) (Machine Learning) CHHD 302 การจัดการการบรกิ ารสขุ ภาพและเศรษฐศาสตรส ุขภาพ 2(2-0-4) (จภขส ๓๐๒) (Health Care Management and Health Economics) CHHD 303 สัมมนาหัวขอ วทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ 1(0-2-3) (จภขส ๓๐๓) (Seminar in Health Data Science) GEN 351 การบรหิ ารจดั การยคุ ใหมแ ละภาวะผูนำ 3(3-0-6) (จธศท ๓๕๑) (Modern Management and Leadership) CPE xxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมคอมพวิ เตอร1 3(3-0-6) (จธวค xxx) (Computer Engineering Elective I) GEN xxx วิชาเลอื กหมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 2 3(3-0-6) (จธศท xxx) (General Education Elective II) XXX xxx วชิ าเลือกหมวดวิชาเลือกเสรี 1 3(3-0-6) (Free Elective I) รวม 18(16-4-37) ภาคฤดรู อ น บูรณาการการเรยี นและการทำงาน จำนวนหนว ยกิต CPE 301 (Work Integrated Learning) 2(0-36-4) (จธวค ๓๐๑) รวม 2(0-36-4) ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ชั้นปท ่ี 4 จำนวนหนวยกิต CPE 407 3(0-6-9) (จธวค ๔๐๗) โครงงานวิทยาศาสตรขอ มูลสุขภาพ 1 3(3-0-6) XXX xxx (Health Data Science Project I) วชิ าเลือกหมวดวิชาเลือกเสรี 2 9(6-6-21) CHHDxxx (Free Elective II) (จภขส xxx) วชิ าเลือกทางวิทยาศาสตรส ุขภาพ 2 3(3-0-6) (CHHD Elective II) รวม 6 คมู อื หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอ มลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ภาคการศกึ ษาที่ 2 จำนวนหนวยกติ CPE 408 โครงงานวทิ ยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ 2 3(0-6-9) (จธวค ๔๐๘) (Health Data Science Project II) XXX xxx วชิ าเลอื กหมวดวชิ าเลอื กเสรี 3 3(3-0-6) (Free Elective III) XXX xxx วิชาเลือกหมวดวิชาเลอื กเสรี 4 3(3-0-6) (Free Elective IV) รวม 9(6-6-21) คำอธบิ ายรายวชิ า GEN 101 พลศึกษา 1(0–2–2) (จธศท ๑๐๑) (Physical Education) วชิ าบังคับกอ น : ไมมี รายวชิ านม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใหเ กดิ ความรคู วามเขา ใจถงึ ความจำเปน ในการเลน กฬี าเพอ่ื สขุ ภาพหลกั การออกกำลงั กาย การปอ งกนั การบาดเจบ็ จากการเลน กฬี า โภชนาการ และวทิ ยาศาสตรก ารกฬี า ตลอดจนฝก ทกั ษะกฬี าสากล ซง่ึ เปน ทน่ี ยิ มโดยทว่ั ไปตามความสนใจ หนง่ึ ชนดิ กฬี า จากหลากหลายชนดิ กฬี าทเ่ี ปด โอกาสใหเ ลอื ก เพอ่ื พฒั นาความเปน ผมู สี ขุ ภาพและบคุ ลกิ ทด่ี มี นี ำ้ ใจนกั กฬี า รจู กั กตกิ ามารยาท ทีด่ ีในการเลนกีฬาและชมกีฬา This course aims to study and practice sports for health, principles of exercise, care and prevention of athletic injuries, and nutrition and sports science, including basic skills in sports with rules and strategy from popular sports. Students can choose one of several sports provided, according to their own interest. This course wil create good health, personality and sportsmanship in learners, as wel as develop awareness of etiquette of playing, sport rules, fair play and being good spectators. GEN 111 มนุษยก บั หลักจรยิ ศาสตรเ พ่อื การดำเนนิ ชวี ิต 3(3-0-6) (จธศท ๑๑๑) (Man and Ethics of Living) วิชาบงั คบั กอน : ไมม ี รายวชิ านม้ี งุ เนน แนวคดิ ในการดำเนนิ ชวี ติ และแนวทางในการทำงาน ตามแบบอยา งทด่ี ที เ่ี ปน แนวทางการปฏบิ ตั ขิ องสง่ิ ทม่ี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ไี ดต ง้ั เปา หมายในการพฒั นาใหบ ณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั เปน บณั ฑติ ทเ่ี กง และดี และมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี ตลอดจนปลกู ฝง ใหน กั ศกึ ษาเขา ใจถงึ วสิ ยั ทศั นแ ละเปา หมายของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี โดยจดั การเรยี นการสอนแบบ บูรณาการ องคความรู เพอื่ สรา งทศั นคติทด่ี ตี อ การทำประโยชนเพ่ือสวนรวม ความเปน พลเมอื ง และนำความรแู ละความถนดั ในวชิ าชพี ของตนไปใชใ นการพฒั นาตนเองตลอดระยะเวลาทีศ่ ึกษาอยใู นมหาวิทยาลัยและสืบตอ เนื่องไปถึงการดำเนนิ ชวี ิตเพื่อประโยชนแหงตนเอง และผูอ ่ืน เพื่อใหบ ัณฑิตมคี ณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคต ามวสิ ยั ทัศนข องมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบรุ ี 7 คูมอื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) This course studies the concept of living and working based on KMUTT’s Mission to develop its students to be the best academicaly, to have morality and work ethics, and to demonstrate the KMUTT vision and mission through the use of knowledge and integrative learning approaches. Students will be able to gain KMUTT’s desirable vision of the University such as, social responsibility, KMUTT Citizenship, professional skils, and to apply knowledge toward life in KMUTT and beyond for the benefit of themselves and others. GEN 121 ทกั ษะการเรียนรูและการแกปญ หา 3(3-0-6) (จธศท ๑๒๑) (Learning and Problem Solving Skils) วิชาบังคับกอน : ไมมี วิชานี้เนนการพัฒนาการเรียนรูอยางยั่งยืนของนักศึกษา ฝกทักษะในการคิดเชิงบวก ศึกษาการจัดการความรูและกระบวนการ การเรียนรู ผานการทำโครงงานที่นักศึกษาสนใจ ที่เนนการกำหนดเปาหมายทางการเรียนรู รูจักการตั้งโจทย การศึกษาวิธีการแสวงหา ความรู การแยกแยะขอมูลกับขอเท็จจริง การอาน แกปญหา การสรางความคิดการคิดอยางสรางสรรค การคิดเชิงขวาง การสรางแบบ จำลอง การตดั สนิ ใจ การประเมินผล และการนำเสนอผลงาน This course aims to equip students with the skils necessary for life-long learning. Students wil learn how to generate positive thinking, manage knowledge and be familiar with learning processes through projects based on their interest. These include setting up learning targets; defining the problems; searching for information; distinguishing between data and fact; generating ideas, thinking creatively and lateraly; modeling; evaluating; and presenting the project. GEN 201 ศาสตรแ ละศลิ ปในการปรงุ และบริโภคอาหาร 3(3-0-6) (จธศท ๒๐๑) (Art and Science of Cooking and Eating) วิชาบังคบั กอน : ไมม ี รายวิชานี้มุงเนนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของผูเรียน การเลือกสรรวัตถุดิบที่ควรนำมาปรุงอาหารและเลือกอาหารที่ ปรงุ สำเรจ็ ไดอ ยา งปลอดภยั การพฒั นาทกั ษะในการปรงุ อาหารไดห ลากหลายดว ยความประณตี สวยงามและคมุ คา การรวู ธิ ใี ช เกบ็ รกั ษา และบริโภคอาหาร รวมทั้งสามารถใชภาชนะรองรับอาหารไดอยางคุมคา ประณีตและรักษสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ ผูเรียนยังสามารถใช ความคิดสรา งสรรคในการรังสรรคเ มนูอาหารใหมๆ ที่เกดิ จากการผสมผสานเมนอู าหารจากหลากหลายวัฒนธรรม (Fusion Food) This course aims to change students’ eating behavior, safely select ingredients and ready-made dishes, develop cooking skils with neatness, beauty and efficiency, know how to use, preserve and consume foods, and use food containers with suitability, neatness and environment-friendliness. Additionaly, the students can employ their creativity to create new menus or “Fusion Food” from the combination of various cultures. 8 คมู อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มูลสุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ผลลัพธก ารเรียนรูของรายวชิ า 1) นักศกึ ษามีการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของตนเองอยางมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ี 2) นกั ศึกษาสามารถเลือกสรรวัตถดุ บิ ทค่ี วรนำมาปรงุ อาหารและเลอื กอาหารที่ปรงุ สำเร็จไดอ ยางปลอดภัย 3) นักศกึ ษารวู ธิ ีการปรุงอาหารไดห ลากหลายดว ยความประณีต สวยงามและคมุ คา 4) นกั ศกึ ษารจู กั ใช เกบ็ รกั ษา และบรโิ ภคอาหาร รวมทง้ั สามารถใชภ าชนะรองรบั อาหารไดอ ยา งคมุ คา ประณตี และรกั ษส ง่ิ แวดลอ ม 5) นักศกึ ษาสามารถปรุงอาหารแบบผสมผสานอาหารหลากหลายวฒั นธรรม (Fusion Food) ไดอยา งสรางสรรค GEN 211 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3(3-0-6) (จธศท ๒๑๑) (The Philosophy of Sufficiency Economy) วิชาบังคับกอน : ไมม ี ศึกษาแนวทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจในอดตี ของสงั คมไทย ปญหา ผลกระทบท่เี กดิ จากการพัฒนาเศรษฐกิจท่ผี า นมา เหตุผล ของการนำแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ นสงั คมไทย แนวคดิ ความหมาย และปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การประยกุ ตใ ชป รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในรปู แบบตา งๆทส่ี อดคลอ งกบั วถิ ชี วี ติ ในระดบั บคุ คล ชมุ ชน องคก ร และประเทศ รวมไปถงึ กรณศี กึ ษาทเ่ี กย่ี วขอ ง และกรณศี กึ ษา ตามโครงการพระราชดำริ This course emphasizes the application of previous Thai economic development approaches, the problems and impacts of the development, the rationale for applying the concept of sufficiency economy to Thai society, the meaning and fundamental concept of the philosophy of sufficiency economy, and the application of this philosophy to lifestyles at individual, community, organization, and national levels. The study covers relevant case studies as wel as the Royal Projects. GEN 212 การพัฒนาจติ เพ่ือชวี ติ ทสี่ มบูรณดวยวถิ ีพุทธ 3(2-2-6) (จธศท ๒๑๒) (Mind Development through Buddhism for a Fulfiling Life) วชิ าบังคับกอน : ไมม ี รายวิชานี้มุงเนนการพัฒนานักศึกษาทางดานจิตใจ ใหเปนผูที่มีจิตใจเขมแข็งมั่นคง ดีงาม มีความสุข ซึ่งจะเปนพื้นฐานสำคัญ สำหรับการพัฒนาทางดานปญญาเพื่อใหเขาถึงสัจธรรมของชีวิต โดยผานกระบวนการปฏิบัติสมาธิภาวนาตามหลักมหาสติปฏฐาน 4 (หมวดกายานุปสสนา) ซึ่งเปนกระบวนการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ (Learning by doing) การบรรยายเกี่ยวกับสมาธิ เชน ประโยชน ของสมาธิ การนำสมาธไิ ปใชใ นชวี ติ ประจำวนั สมาธกิ บั การเรยี นและการทำงาน ความแตกตา งระหวา งสมถะและวปิ ส สนา และการบรรยาย ธรรมะในหัวขอที่เปนประโยชนตอการนำไปใชในชีวิตประจำวัน ตลอดจนเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อใหประสบผลสำเร็จในชีวิตและสามารถ อยูใ นสังคมไดอยางเปนสุข 9 คมู อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอมลู สุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) This course aims to foster spiritual growth and develops equanimity, compassion and happiness, which are the foundations for the wisdom to understand the true nature of life. This will be done through contemplative practices in accordance with Mahasatipatthana 4 (The 4 foundations of mindfulness: Kayanupassanasection). The learning process is based on the ‘learning by doing’ approach and will include talks about Samadhi, such as the benefits of Samadhi, how Samadhi can be used in daily life, Samadhi and work, the differences between Samadha and Vipassana, as wel as other Dhamma topics that will be useful in daily life along with the Dhamma guidance for success and well-being in modern society. ผลลพั ธก ารเรียนรขู องรายวิชา 1) นักศกึ ษาเห็นคณุ คา ของการพฒั นาจิตใจตนเอง โดยฝกหัดจัดการพัฒนาคุณสมบัติท่ดี ีงามเปนคณุ ประโยชนข ึ้นมา และทำให เขม ขนแข็งแรง พรอ มกับลดละกำจัดกิเลส ไดแ ก ความโลภ ความโกรธ ความหลง ฯลฯ ใหเบาบางไป 2) นกั ศึกษาเหน็ ประโยชนข องการฝก สมาธิ ตง้ั ใจเรยี นรูและฝก ฝนการทำสมาธิภาวนาอยา งจรงิ จังจนมีสมาธิท่พี ัฒนาขึน้ อยาง ไดผลจรงิ 3) นกั ศกึ ษาเขา ใจหลักธรรมคำสอนวาเปน เรื่องใกลตวั และเปน สากล สามารถนำไปประยุกตใ ชในชีวิตประจำวนั ได 4) นักศึกษามคี วามเจริญงอกงามในคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตใจแนวแนกา วไปในกุศลธรรม มีความสงบ เบกิ บาน เอบิ อม่ิ สดชื่น ผอ งใส และเปนสขุ 5) นักศึกษามคี วามรูความเขาใจเรื่องธรรมชาตขิ องชีวติ เชอื่ ในเรอื่ งกฎแหงกรรม มคี วามมงุ ม่นั ที่จะประกอบแตกุศลกรรมและ หลีกเลี่ยงอกศุ ลกรรมทง้ั หลาย มีความซอ่ื สตั ยส ุจรติ เปนพ้ืนฐาน มีจรรยาบรรณในวิชาการและวิชาชีพ 6) นกั ศึกษามีวนิ ยั ในตนเอง ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บของมหาวิทยาลัยฯ มีความอดทน อดกล้นั และคำนึงถงึ ผลกระทบตอสงั คม และบคุ คลรอบขางทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ จากการกระทำของตนเอง 7) นกั ศกึ ษาสามารถทำงานรว มกบั ผูอ ืน่ ได โดยสามารถสื่อสาร รบั ฟงความคดิ เห็น และแกปญ หาทเี่ กดิ ขน้ึ ในทมี เพอื่ ใหสามารถ ดำเนนิ งานไปสูเ ปา หมายทวี่ างไวได GEN 222 สังคมวัฒนธรรมไทยและประเดน็ รวมสมยั 1 (0 – 2 – 2) (S / U) (จธศท ๒๒๒) (Thai Society, Culture and Contemporary Issues) วชิ าบังคับกอน : ไมม ี รายวชิ าน้แี บงเนื้อหาสาระออกเปน 2 สวน สวนแรกรบั ผดิ ชอบจดั การเรยี นการสอนโดยสำนกั งานวิชาศกึ ษาทว่ั ไป คณะศิลปศาสตร สว นทส่ี องรบั ผิดชอบโดยภาควิชาทีเ่ ปนผรู ับนักศึกษาแลกเปลี่ยน สว นที่ 1 แนะนำ ใหความรูเ บือ้ งตน สรางความเขาใจ และเชอ่ื มโยงประเด็นดา นสังคม วฒั นธรรม และภาษา รวมทง้ั เหตกุ ารณ ปจจบุ ันในประเทศไทย การประยุกตนำความรูไปใชแกป ญ หาทา มกลางความหลากหลายทางแนวคดิ และวฒั นธรรม รวมไปถงึ การมีสวน รวมกบั กจิ กรรมทางสงั คม การสรา งเครือขาย การสรา งความเขาใจลักษณะและแนวโนม ของสังคมไทยรว มสมัย (15 ช่วั โมง) 10 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) The class will give an introduction and orientation to Thailand. The course provides students with perception of Thailand focusing on culture, society and language. The structure of the course wil be able to assist students to appreciate being in Thailand comparatively and also make connections with the broader field of features and trends of contemporary Thai society. สวนที่ 2 นักศึกษาตองมีสวนรวมในการศึกษาทางวิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตรหรือศาสตรวิชาตางๆ ในสวนที่สองของวิชานี้ ประกอบไปดว ยการบรรยาย การอภปิ ราย หรอื โครงการขนาดเลก็ ทเ่ี กย่ี วกบั บรบิ ทของสงั คมไทยรว มสมยั โดยนกั ศกึ ษาสามารถนำความรู ทางวชิ าการมาแกไ ขปญ หาในสังคม (15 ชัว่ โมง) Students are expected to engage in scientific, engineering chalenges or in other technical field of choice. This part of the course consists of lectures, discussions and/or mini projects related to the context of Thailand and contemporary issues where students apply their scientific knowledge to tackle the given problems. GEN 223 พรอมรับภัยพบิ ตั ิ 3(3-0-6) (จธศท ๒๒๓) (Disaster Preparedness) วชิ าบงั คบั กอน : ไมม ี การเรียนรูเกี่ยวกับภัยพิบัติเปนสหวิทยาการในการนำเอาความรูทางเทคนิคและความรูทางสังคมศาสตรมารวมกันใชติดตาม สถานการณภัย ประเมินความเสี่ยง วางแผนรับมือและการลดผลกระทบบนฐานของการรวมมือกันบน \"กรอบการทำงานขามหนวยงาน ในการรบั มอื วกิ ฤต\"ิ ทป่ี ระกอบดว ย 4Cs คอื การเขา ใจรบั รถู งึ ภยั (cognition) การสอ่ื สาร (communication) การประสานงานรว มมอื กนั จัดการภยั (coordination) และการควบคุมภัย (control) ในสถานการณท เ่ี กดิ ขึน้ เพื่อใหนักศึกษาสามารถแกไขปญหาในสถานการณดวยความยืดหยุนในภาวะที่มีความซับซอน โดยมีความเขาใจทั้งเทคโนโลยี และระบบสงั คมทเ่ี ชอื่ มโยงกนั ปรบั ตัวไดเ มือ่ ภยั พบิ ัติมีความถ่ีและความรนุ แรงเพ่มิ ข้นึ Disaster education is the multidisciplinary approach which integrated between technical science and social science. It aims to monitor the hazard, risk assessment, planning and mitigate the disaster based on inter-organizational crisis management framework which is characterized by four primary decision points (4Cs) as; 1) Cognition: detection of risk, 2) Communication: interpretation of risk for the immediate context, 3) Coordination: connect to multiple organizations in a wider area, and 4) Control: self-organization and mobilization of a colective to reduce risk. This subject may led the student have the capacity to coping with the complexity in the disaster by the flexibility. Moreover, the student may have the adaptability and the understanding both technology and social linkage while disaster are more frequency and more intensity. ผลลัพธการเรยี นรขู องรายวชิ า 1) เพอ่ื ใหน กั ศกึ ษามคี วามรคู วามเขา ใจเกย่ี วกบั ปรากฏการณภ ยั ธรรมชาติ มคี วามรเู กย่ี วกบั การรบั มอื ภยั พบิ ตั ิ ตง้ั แตร ะดบั บคุ คล เกี่ยวกับทักษะการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติ ความรูระดับชุมชนในเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ ความรูระดับทองถิ่น-จังหวัดใน วงจรการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ไปจนถงึ ความรรู ะดบั ประเทศเกย่ี วกบั องคก ร กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง และระบบการใหค วาม ชวยเหลอื ของประเทศไทย 11 คูมอื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อมูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) 2) เพื่อใหนักศึกษามีทักษะในการวิเคราะหความเสี่ยง มีทักษะในการสื่อสาร ในการสรางความรวมมือ และการปรบั ตวั กับภัยพบิ ัติ 3) เพื่อใหนักศึกษามีความตระหนักในการลดความเสี่ยงจากภัยตาง ๆ ที่มีโอกาสจะเผชิญไดในชีวิต ประจำวัน GEN 224 เมอื งนาอยู 3(3-0-6) (จธศท ๒๒๔) (Liveable City) วชิ าบงั คับกอน : ไมม ี รายวชิ านม้ี งุ เนน แนวคดิ ในการทำความเขา ใจและสรา งความตระหนกั ตอ สภาพปญ หาของเมอื ง ความหลากหลายทางสงั คมและ วฒั นธรรมท่ดี ำรงอยูในเมอื ง และแนวทางในการสรา งเมืองนา อยูท ่ีจะมสี ว นสนับสนนุ ใหบ ัณฑติ ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ มี ที ศั คตแิ ละความตระหนกั ตอ การมสี ว นรว มกบั ปญ หาของเมอื งในฐานะพน้ื ทก่ี ารใชช วี ติ รวมถงึ ทศั นคตใิ นการสรา งประโยชนส ว นรวม ตอ สงั คม และความเปน เมอื งในการตระหนกั ถงึ หนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบและยอมรบั ความหลากหลายทางสงั คม นอกจากนร้ี ายวชิ านม้ี แี นวคดิ ในการสรา งความเขา ใจและความตระหนกั ตอ เปา หมายการพฒั นาทย่ี งั ยนื 2030 (Sustainable Development Goals–SDGs 2030) ซง่ึ เปน เปาหมายหนึ่งทม่ี ีความสำคัญทงั้ ในระดับนานาชาติ ระดบั ประเทศ และมหาวทิ ยาลยั This course aims to study conceptions of understanding and raising awareness to urban problems, social and cultural diversity in urbanareas, as well as liveable city models. These conceptions could significantly support KMUTT graduates’ attitudes and awareness to their participation with urbanproblems as public space. It could also raise their viewpoints to public interests and urbanization together with their roles, responsibilities and acceptance for social diversity. In addition, this course has an idea for understanding and realization to Sustainable Development Goals–SDGs 2030 which becoming an important goal for international, national and university levels. ผลลัพธการเรียนรขู องรายวิชา 1) นักศึกษาสามารถเขาใจสาเหตุปญหาของเมืองและปจจัยที่เกี่ยวเนื่อง รวมถึงแนวทางในการแกไขปญหาตั้งแตระดับปจเจก บคุ คลจนถึงระดบั โครงสรางทางสงั คม 2) นักศึกษาเขาใจและสามารถวิเคราะหถึงความสัมพันธของปจจัยตาง ๆ ในแตละสภาพปญหาของเมืองกับผลกระทบในชีวิต ประจำวัน 3) นกั ศึกษาสามารถส่อื สารสรา งความรวมมอื ในชน้ั เรยี น และมปี ฏิสัมพันธกบั กลุม คนตา ง ๆ ในเมืองเพื่อสรางความรว มมือใน การวเิ คราะหและเสนอทางออกตอปญหาของเมือง 4) นกั ศกึ ษาสามารถทำงานรว มกบั เพอ่ื นในการระดมความคดิ รบั ฟง ความคดิ เหน็ แกป ญ หาและสรา งชน้ิ งานเพอ่ื การบรรลเุ ปา หมาย ในการสรา งชนิ้ งานจากการประยกุ ตประสบการณแ ละความรใู นชวี ติ ประจำวนั ได 5) นกั ศึกษาตระหนกั ถงึ ปญ หาของเมอื งและเห็นคุณคาในการรวมมือกนั จดั การกบั ปญ หาของเมอื ง 6) นกั ศึกษามวี ินยั ในตนเองและคำนึงถึงผลกระทบตอ สังคมและคนรอบขา งทีอ่ าจเกิดจากการกระทำของตนเอง 12 คูม ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) GEN 225 การเขยี นบนั ทึกสะทอนคดิ เพอื่ การพฒั นาตนเอง 3(1-4-4) (จธศท ๒๒๕) (Reflective Journal Writing for Self-Improvement) วชิ าบังคับกอน : ไมม ี รายวชิ านเ้ี ปน การพฒั นาทกั ษะการเขยี นทน่ี ำเอาประสบการณใ นสถานประกอบการมาเปน หวั ขอ สะทอ นคดิ โดยมงุ เนน ความสำคญั ของทักษะทางสังคมที่สอดแทรกอยูในการทำงานเฉพาะวิชาชีพ และพัฒนาความรูความเขาใจในเรื่องการประเมินคุณลักษณะทางสังคม ของบคุ คลทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ การทำงาน เครอ่ื งมอื ในการวเิ คราะหค ณุ ลกั ษณะไดม าจากการประเมนิ ตนเองและการประเมนิ จากผมู สี ว นเกย่ี วขอ ง ในกจิ กรรมหรอื สายบงั คบั บญั ชา บนั ทกึ การสะทอ นคดิ นจ้ี ะชว ยใหเ กดิ การเรยี นรจู ดุ แขง็ และจดุ ออ นในทกั ษะทางสงั คมของตนเอง การประเมนิ รอบดานโดยตนเองและบคุ คลรอบขา งจะชว ยสรางผเู รียนใหส ามารถพัฒนาทักษะและนสิ ัยของตนเองไดอยา งถกู ตอ ง This course aims to develop reflection journal writing of learners undergo to look back on their past learning experiences in workplaces. It emphasises the importance of soft skils for success in workplaces and helps students to develop their understand on social skill evaluation which is a necessary characteristic to perform efficiently in workplace. The analytical tools are self-evaluation and feedback from supervisors. Both strength and weakness are reported on their reflection journal. This include feedback from him or herself and external sources is helpful for developmental purposes, providing it to students to assist them in developing work skils and behaviors appropriately. ผลลัพธการเรียนรขู องรายวชิ า 1) เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนประสบการณการปฏิบัติงานตามสภาพความเปนจริงในสถานประกอบการดวยรูปแบบการบันทึก สะทอนการคดิ และการเขยี นรายงานสรปุ ผล 2) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห และรูจักนำเอาความคิดเห็นของผูอื่นมาเปนองคประกอบสำคัญในการประเมินตนเอง 3) เพื่อพัฒนานักศึกษาใหเขาใจความสำคัญการเปลี่ยนแปลง การปรับตัว และการจัดการอารมณของตนเองในการทำงานรวม กับผูอ ่นื GEN 231 มหศั จรรยแ หงความคดิ 3(3-0-6) (จธศท ๒๓๑) (Miracle of Thinking) วิชาบังคบั กอน : ไมม ี วชิ านจ้ี ะใหค วามหมาย หลกั การ คณุ คา แนวคดิ ทม่ี าและธรรมชาตขิ องการคดิ โดยการสอนและพฒั นานกั ศกึ ษาใหม กี ารคดิ เปน ระบบ การคดิ เชงิ ระบบ การคดิ เชงิ วพิ ากษ และการคดิ เชงิ วเิ คราะห การอธบิ ายทฤษฎหี มวก 6 ใบทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การคดิ นอกจากนย้ี งั ได กลาวถึงการเชื่อมโยงความคิด/การผูกเรื่อง การเขียน โดยมีการทำตัวอยางหรือกรณีเพื่อศึกษาการแกปญหาโดยวิธีการคิดเชิงระบบ ดา นวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สงั คม บรหิ ารจดั การ สง่ิ แวดลอ มและอ่นื ๆ This course aims to define the description, principle, value, concept and nature of thinking to enable developing students to acquire the skils of systematic thinking, systems thinking, critical thinking and analytical thinking. The Six Thinking Hats concept is included. Moreover, idea connection/story line and writing are explored. Examples or case studies are used for problem solving through systematic thinking using the knowledge of science and technology, social science, management, and environment, etc 13 คูมือหลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) GEN 232 การวิจยั และนวตั กรรมบนฐานชมุ ชน 3(3-0-6) (จธศท ๒๓๒) (Community Based Research and Innovation) วิชาบงั คับกอน : ไมมี รายวชิ านม้ี งุ เนน ผเู รยี นรจู กั ชมุ ชนและนวตั กรรมชมุ ชน เรยี นรวู ธิ กี ารสรา งงานวจิ ยั เชงิ วทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการออกแบบโครงงาน นวตั กรรม โดยใชช มุ ชนบรเิ วณใกลเ คยี งมหาวทิ ยาลยั เปน Social lab สำหรบั การเรยี นรแู ละหาโจทยว จิ ยั ทเ่ี ปน ปญ หาจรงิ ของชมุ ชน เรยี นรู การวเิ คราะหโ จทยป ญ หาและความตอ งการของกลมุ เปา หมาย การวเิ คราะหค วามสำคญั ขอ ดขี อ เสยี คณุ คา /มลู คา และงบประมาณรายได ตน ทนุ เรยี นรกู ระบวนการสรา งและประเมนิ ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรม การออกแบบโครงงานอยา งสรา งสรรคแ ละเนน การสรา งคณุ คา งานวจิ ยั วธิ กี ารสบื คน ขอ มลู การเขยี นขอ เสนอโครงงาน และสว นทา ยเปน การนำเสนอโครงงานผา นกจิ กรรมในลกั ษณะ Pitching (การนำเสนอเพอ่ื ขายผลงานกับผลู งทนุ ) และโปสเตอร This course provides knowledge in scientific research methodology and design process for creating innovative projects. Students engaged in learning process by taking several field-trips to visit the local community nearby KMUTT campus to learn and understand problems encountered in community. The local communities are used as the social lab for the learning and as source of research questions that originated from the real-life problems in the communities. Students, then, design innovative method and write the research proposal that aims to solve the problem and create value for the community. The final section of the course requires students to organize the exhibition and presenting the project and through the pitching activity and poster presentation. ผลลัพธการเรียนรขู องรายวิชา 1) นกั ศกึ ษาสามารถบรู ณาการความรทู างวทิ ยาศาสตรเ พอ่ื นำไปใชแ กป ญ หาและสรา งประโยชนก บั Social Lab ของมหาวทิ ยาลยั นักศึกษา และไดเรยี นรูช มุ ชนและนวตั กรรมชุมชนหลากหลายจากท่ัวประเทศ 2) นกั ศึกษาสามารถเขาใจวิธคี ดิ กระบวนการออกแบบสรา งสรรคและสรา งคุณคางานวจิ ัยนวตั กรรมเทคโนโลยเี พื่อชมุ ชน 3) นกั ศกึ ษาสามารถประเมนิ ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมแบบมงุ เปา การวเิ คราะหโ จทยป ญ หาหาแนวทางแกป ญ หาดว ยเทคโนโลยี ใหสอดคลองกบั ความตอ งการท่ีแทจริงของกลุม เปา หมายและผูใชงาน 4) นักศึกษาสามารถวิเคราะหความสำคัญ ขอดีขอเสีย คุณคา/มูลคา และงบประมาณรายไดตนทุน เรียนรูการเขียนขอเสนอ โครงงานการนำเสนอผลงานเพอ่ื ขอทนุ สนบั สนนุ จากผมู สี ว นไดส ว นเสยี และผใู หท นุ โดยวชิ านเ้ี ปด โอกาสใหน กั ศกึ ษามโี อกาส ลงพื้นที่จริง เชิญผูมีความรูตรงสาขาใหคำปรึกษา และเปดเวทีเชิญผูใชงานและผูสวนไดสวนเสียอื่นเขารวมรับฟงขอเสนอ โครงงานของนักศึกษา GEN 241 ความงดงามแหงชวี ติ 3(3-0-6) (จธศท ๒๔๑) (Beauty of Life) วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี ศกึ ษาเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร ะหวา งมนษุ ยก บั คณุ คา และความงามทา มกลางความหลากหลายทางวฒั นธรรม เนน ทก่ี ารรบั รคู ณุ คา การสัมผัสความงามและการแสดงออกทางอารมณของมนุษย รับรูและเรียนรูเกี่ยวกับคุณคาและความงามในดานตางๆ ที่เกี่ยวกับการ ดำรงชวี ติ มนษุ ยเ ชน ชีวิตกบั ความงามในดานศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม รวมไปถงึ ความงามในธรรมชาติรอบๆ ตัวมนุษย 14 คูม ือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) This course aims to promote the understanding of the relationship between humans and aesthetics amidst the diversity of global culture. It is concerned with the perception, appreciation and expression of humans on aesthetics and value. Students are able to experience learning that stimulates an understanding of the beauty of life, artwork, music and literature, as wel as the cultural and natural environments. GEN 242 ปรัชญาจีนกับการดำเนนิ ชีวิต 3(3-0-6) (จธศท ๒๔๒) (Chinese Philosophy and Ways of Life) วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี รายวชิ านีม้ งุ เสนอใหน ักศึกษาไดเหน็ ถึงวิธกี ารนำปรัชญาจนี มาประยกุ ตใ ชก ับบริบทในชีวติ ประจำวนั ซ่งึ จะเปนประโยชนตอ การ พัฒนาใจ กาย และปฏิสัมพันธในสถานการณตาง ๆ รายวิชานี้มีเปาหมายเพื่อสรางทัศนคติในเชิงบวกใหกับนักศึกษา โดยเนนย้ำเรื่อง การสรางทศั นคตทิ ถี่ ูกตอ งเพือ่ การเรยี นรูและการฝก ทกั ษะซง่ึ จะเปน ส่งิ เสรมิ สรางความฉลาดทางอารมณ นอกจากนยี้ ังมเี ปา ประสงคไ ปสู การทำความเขา ใจประเดน็ สขุ ภาพกายผา นหลกั ปรชั ญาเตา มงุ แสวงหลกั การทส่ี ามารถนำไปสคู วามสำเรจ็ อาทิ ประเดน็ การทำงานเปน ทมี คณุ สมบตั ผิ นู ำ เปน ตน ในกระบวนการดงั กลา ว จะมกี ารนำเอาปรชั ญาของจนี หลากหลายแนวทางมาเปน เครอ่ื งมอื ใหน กั ศกึ ษาไดส ะทอ น ความคิด และนำมาประยุกตใ ชเ พือ่ ยกระดบั การใชช ีวติ ใหดีย่ิงขนึ้ This course introduces students to how Chinese philosophy could be applied to the context of everyday life and thus contributes to the beneficial development of mind, body and interactions with al things and environment. The course aims to cultivate positive attitude among students by placing emphasis on the right attitude to learning and skils that promote emotional intelligence. The focus is also concerned with achieving a better understanding of “physical health” through approaches of Taoism. The attention is also directed toward exploring principles that could lead to success with the primary focus on teamwork and leadership. In doing so, a diverse set of Chinese philosophical styles are provided as instruments for students to reflect on and improve their ways of living. ผลลพั ธการเรยี นรูข องรายวิชา 1) นักศึกษาตระหนักรูถึงความสำคัญของจีนในปจจุบัน สามารถทำความเขาใจเนื้อหาโครงสรางของปรัชญาแนวคิดแบบจีนใน ภาพรวม อนั จะเปน การเปด มติ ติ อ การทำความเขา ใจจนี ในยคุ เกา และยคุ ใหม ตลอดจนสามารถเทยี บเคยี งโครงสรา งพฒั นาการ วธิ ีคิดกบั สงั คมไทยไดอ ยา งแยบยล 2) นกั ศกึ ษาสามารถเขา ใจหลกั วธิ คี ดิ กลไกของการคดิ อนั กอ ตวั มาจากพน้ื ฐานการสง่ั สมของประสบการณ และสามารถเปลย่ี นแปลง แกไขสวนทีเ่ ปน ตนตอของพฤติกรรมอนั กอ ใหเกดิ ปญ หาได 3) นกั ศกึ ษาสามารถคดิ พดู และทำสง่ิ ตา ง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนอ ยา งมหี ลกั การและมคี วามมน่ั ใจ โดยสามารถประยกุ ตใ ชศ าสตร และศลิ ปด า นการพดู การเขยี น และการแสดงออกไดอ ยา งเหมาะสม อนั จะเปน หลกั ในการพฒั นาตนใหส มบรู ณพ รอ มตอ โอกาส ตาง ๆ รอบตัวมากยิง่ ข้ึน 4) นกั ศึกษาสามารถปรบั ทศั นคตขิ องตนตอการศกึ ษาเลาเรยี น เพือ่ ใหเกดิ ความสุขใน 15 คมู ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) GEN 242 ปรชั ญาจนี กบั การดำเนินชีวิต 3(3-0-6) (จธศท ๒๔๒) (Chinese Philosophy and Ways of Life) วชิ าบังคับกอ น : ไมม ี รายวชิ าน้มี งุ เสนอใหนกั ศึกษาไดเ หน็ ถึงวิธีการนำปรชั ญาจนี มาประยุกตใ ชกับบริบทในชีวิตประจำวนั ซง่ึ จะเปนประโยชนต อการ พัฒนาใจ กาย และปฏิสัมพันธในสถานการณตาง ๆ รายวิชานี้มีเปาหมายเพื่อสรางทัศนคติในเชิงบวกใหกับนักศึกษา โดยเนนย้ำเรื่อง การสรา งทัศนคตทิ ่ีถูกตอ งเพือ่ การเรียนรูและการฝกทักษะซงึ่ จะเปนสิง่ เสรมิ สรางความฉลาดทางอารมณ นอกจากนย้ี ังมเี ปา ประสงคไปสู การทำความเขา ใจประเดน็ สขุ ภาพกายผา นหลกั ปรชั ญาเตา มงุ แสวงหลกั การทส่ี ามารถนำไปสคู วามสำเรจ็ อาทิ ประเดน็ การทำงานเปน ทมี คณุ สมบตั ผิ นู ำ เปน ตน ในกระบวนการดงั กลา ว จะมกี ารนำเอาปรชั ญาของจนี หลากหลายแนวทางมาเปน เครอ่ื งมอื ใหน กั ศกึ ษาไดส ะทอ น ความคิด และนำมาประยุกตใชเ พ่ือยกระดับการใชชวี ติ ใหด ยี ่ิงขึ้น This course introduces students to how Chinese philosophy could be applied to the context of everyday life and thus contributes to the beneficial development of mind, body and interactions with al things and environment. The course aims to cultivate positive attitude among students by placing emphasis on the right attitude to learning and skils that promote emotional intelligence. The focus is also concerned with achieving a better understanding of “physical health” through approaches of Taoism. The attention is also directed toward exploring principles that could lead to success with the primary focus on teamwork and leadership. In doing so, a diverse set of Chinese philosophical styles are provided as instruments for students to reflect on and improve their ways of living. ผลลพั ธก ารเรียนรูข องรายวิชา 1) นักศึกษาตระหนักรูถึงความสำคัญของจีนในปจจุบัน สามารถทำความเขาใจเนื้อหาโครงสรางของปรัชญาแนวคิดแบบจีนใน ภาพรวม อนั จะเปน การเปด มติ ติ อ การทำความเขา ใจจนี ในยคุ เกา และยคุ ใหม ตลอดจนสามารถเทยี บเคยี งโครงสรา งพฒั นาการ วธิ ีคิดกบั สังคมไทยไดอ ยา งแยบยล 2) นกั ศกึ ษาสามารถเขา ใจหลกั วธิ คี ดิ กลไกของการคดิ อนั กอ ตวั มาจากพน้ื ฐานการสง่ั สมของประสบการณ และสามารถเปลย่ี นแปลง แกไ ขสวนท่เี ปน ตนตอของพฤติกรรมอันกอ ใหเกิดปญหาได 3) นกั ศกึ ษาสามารถคดิ พดู และทำสง่ิ ตา ง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนอ ยา งมหี ลกั การและมคี วามมน่ั ใจ โดยสามารถประยกุ ตใ ชศ าสตร และศลิ ปด า นการพดู การเขยี น และการแสดงออกไดอ ยา งเหมาะสม อนั จะเปน หลกั ในการพฒั นาตนใหส มบรู ณพ รอ มตอ โอกาส ตา ง ๆ รอบตวั มากยงิ่ ขน้ึ 4) นักศึกษาสามารถปรับทัศนคติของตนตอการศึกษาเลา เรยี น เพอ่ื ใหเกดิ ความสุขใน 16 คมู อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) GEN 301 การพัฒนาสขุ ภาพแบบองครวม 3(3-0-6) (จธศท ๓๐๑) (Holistic Health Development) วชิ าบังคับกอ น : ไมมี รายวชิ านม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใหเ กดิ ความเขา ใจในการเสรมิ สรา งสขุ ภาพแบบองคร วม เพอ่ื ใหม คี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี โดยเนน การสง เสรมิ ทง้ั สขุ ภาพกายและจติ องคป ระกอบของสขุ ภาพทด่ี ี ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ สขุ ภาพการดแู ลสขุ ภาพตนเองแบบบรู ณาการ โภชนาการ การเสรมิ สรา ง ภูมคิ มุ กัน สุขนามัย การพฒั นาสมรรถนะทางกายการออกกำลังกายเพอ่ื พัฒนาบคุ ลิกภาพจติ ใจและอารมณ การปอ งกันและแกไ ขปญ หา สขุ ภาพจติ การฝก สติ สมาธิ และการทำความเขา ใจชวี ติ การดำเนนิ ชวี ติ อยา งบคุ คลทม่ี สี ขุ ภาพดตี ามนยิ ามของ WHO และขอ มลู การตรวจ สุขภาพทวั่ ไปและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย The objective of this course is to develop students’ holistic knowledge on heath development for good life quality. The course emphasizes both physical and mental health care promotion, including composition of welness;factors affecting health; integrated health care; nutrition; immunity strengthening; sanitation; competent reinforcement of physical activities to empower the smartpersonality and the smart mind, and to facilitate healthy and balanced emotional development; preventing and solving problems on mental health; practices in concentration, meditation and self-understanding; definition of welness by WHO; and information on general health check up and physical fitness tests. GEN 311 จรยิ ศาสตรในสงั คมฐานวทิ ยาศาสตร 3(3-0-6) (จธศท ๓๑๑) (Ethics in Science-based Society) วิชาบงั คบั กอน : ไมม ี วชิ านเ้ี ปน การศกึ ษาประเดน็ ทางจรยิ ธรรมและสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ งกบั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ผเู รยี นจะตอ งศกึ ษาทฤษฎจี รยิ ธรรม เบอ้ื งตน ของตะวนั ตกและตะวนั ออก ผเู รยี นจะตอ งเรยี นรกู ารประยกุ ตใ ชท ฤษฎเี หลา นก้ี บั กรณศี กึ ษาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสงั คมปจ จบุ นั และจะตอ ง วเิ คราะหว จิ ารณบ ทบาทของนกั วทิ ยาศาสตร เพอ่ื จะไดเ กดิ ความเขา ใจตอ ความซบั ซอ นในประเดน็ ทางจรยิ ธรรมซง่ึ นกั วทิ ยาศาสตรใ นวชิ าชพี ดานตางๆ กำลังประสบอยู โดยมุงเนนการประยุกตใชกรณีศึกษา การวิเคราะหและการวิจารณในหองเรียน จุดมุงหมายของวิชานี้คือ การสง เสรมิ ใหผ เู รยี นพฒั นาความเขา ใจตอ ความคดิ เหน็ ทข่ี ดั แยง กนั ในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และสามารถให ความหมายและกำหนดมาตรฐานจรยิ ธรรมของตนเองซึง่ พัฒนาขนึ้ จากการวพิ ากษว ิจารณรวมกนั จากทศั นะตางๆ ได This course will explore a variety of ethical and social issues in science and technology. Students will study basic theories of ethics from the West and the East. They wil learn how to apply these theories to contemporary cases. They wil be asked to criticaly evaluate the role of the scientist in society, and to become aware of complex ethical issues facing scientists in different professions. Case studies will be used extensively throughout the course, with an emphasis on critical debate. The goal of the course is to enable each student to develop an understanding of conflicting opinions regarding science and technology, and to define and refine their own ethical code of conduct based on evaluation of arguments from differing viewpoints. 17 คูมอื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) GEN 321 ประวัตศิ าสตรอ ารยธรรม 3(3-0-6) (จธศท ๓๒๑) (The History of Civilization) วิชาบงั คบั กอน : ไมมี ศกึ ษาเกย่ี วกบั ตน กำเนดิ และพฒั นาการของมนษุ ยใ น 5 ยคุ ไดแ ก ยคุ กอ นประวตั ศิ าสตร ยคุ โบราณ ยคุ กลาง ยคุ ทนั สมยั และยคุ ปจ จบุ นั โดยศกึ ษาแนวคดิ เกย่ี วกบั การดำเนนิ ชวี ติ พฤตกิ รรม การศกึ ษาจะเนน เหตกุ ารณส ำคญั ซง่ึ สะทอ นใหเ หน็ ถงึ ปรากฏการณท ส่ี ง ผล ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่เกิดจากคานิยมและทัศนคติที่สัมพันธกับขนบธรรมเนียม ความเชื่อ และนวัตกรรม รวมถึงความ สามารถในการสื่อสารผานงานศลิ ปะและวรรณกรรมในมมุ มองทีห่ ลากหลายจากยคุ สมัยตา งๆ จนถึงปจ จุบัน This subject covers the study of the origin and development of civilization during the five historical periods-prehistoric, ancient, middle age, modern, and the present period. The study will focus on significant social, economic and political events resulting from values and attitudes due to customs, beliefs and innovations, including the ability to communicate through art and literature based on several perspectives and periods. GEN 331 มนษุ ยกับการใชเหตุผล 3(3-0-6) (จธศท ๓๓๑) (Man and Reasoning) วชิ าบงั คบั กอ น : ไมมี รายวชิ านี้มงุ สอนทักษะการคิดวิเคราะหแ ละการใชเหตุผล หลักการแสวงหาความรแู บบอปุ นัยและนิรนยั การใชเ หตุผลของคนใน โลกตะวันออกและตะวนั ตก กรณีศึกษาการใชเหตผุ ลในดานตางๆ ท่เี กยี่ วของกับการดำรงชีวิต The purpose of this course is to develop analytical thinking skils and reasoning; deductive and inductive approaches; reasoning approaches of the East and the West; and, a case study of formal and informal reasoning of everyday life. GEN 332 การเลาเรอื่ งวิทยาศาสตร 3(3-0-6) (จธศท ๓๓๒) (Science Storyteling) วชิ าบังคับกอ น : ไมม ี วิชานีเ้ นน การพฒั นาทกั ษะการเลา เร่ืองวทิ ยาศาสตรใหต รงกับกลมุ เปาหมายตา งๆ ใหมีประสิทธภิ าพ ผเู รียนจะไดฝกฝนการจบั ประเดน็ การเรียบเรียงลำดบั ความคิด และเทคนิคการนำเสนออยางสรา งสรรคใ นรูปแบบทีห่ ลากหลาย This course aims at developing storyteling skils in science for different target groups effectively. Learners wil get to practice how to identify the point of a story, how to organize the flow of thoughts for storytelling, and how to creatively tel a story in a variety of ways. ผลลัพธก ารเรียนรูข องรายวิชา 1) ความรใู นดา นการสอ่ื สารสาระ ทางวทิ ยาศาสตรท เ่ี หมาะสมกบั กลมุ ผฟู ง ประเภทตา ง ๆ และการนาํ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร มาประยุกตใ ชเ พ่ือการสื่อสาร 2) สามารถเขา ใจและจบั ประเด็นทางวทิ ยาศาสตร เขา ใจถึงเจตนาของผสู ง สารและวพิ ากษขาวสารที่ตองการสือ่ ได 18 คมู อื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) 3) มวี ิธีการส่อื สารทแี่ ตกตาง สรา งสรรค เพ่ือใหการสื่อสารมปี ระสทิ ธิภาพ 4) มีความสามารถในการผลติ ชิน้ งานหรือสอื่ เผยแพรท สี่ อดคลองกบั กลมุ เปาหมาย อกี ท้ังยังสามารถใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการสืบคน ขอมลู และผลติ ผลงานเพ่ือการสื่อสารไดอ ยา งเหมาะสม 5) กาํ หนดกลยทุ ธก ารสอ่ื สารและนําเสนอประเดน็ การสอื่ สารให เหมาะกบั กลุม เปา หมายตา ง ๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ 6) รับฟงและทําความเขา ใจกับความคดิ ของผูส งสารได สามารถทาํ งานรวมกบั ผูอื่นในฐานะทีมงานท่ดี ี มีความรบั ผิดชอบตอ ภาระหนาทแ่ี ละงานของกลมุ รบั ฟง ความคดิ เห็นผรู วมงาน 7) พฒั นาใหผ เู รยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบ มศี ลี ธรรมจรรยา ซอ่ื สตั ย มวี นิ ยั ตรงตอ เวลา สจุ รติ เคารพสทิ ธิ ความคดิ และความเหน็ ของผูอื่น 8) มีความตระหนกั ในการนําความรูท างวทิ ยาศาสตรใ นศาสตรข องตนมาชวยตอบโจทยสงั คมไดอ ยา งเหมาะสมการเรียน GEN 341 ภมู ิปญญาทอ งถนิ่ ไทย 3(3-0-6) (จธศท ๓๔๑) (Thai Indigenous Knowledge) วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี ศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่นและภูมิปญญาไทยในแงมุมตางๆ ทั้งทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี สังคมศาสตร และ มนษุ ยศาสตร เพอ่ื ใหเ กดิ การรบั รคู ณุ คา ของภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ หลกั การแสวงหาความรดู ว ยตนเองในทอ งถน่ิ ตา งๆ สามารถชใ้ี หเ หน็ ได วา การแสวงหาความรดู ว ยตนเองวา เปน กระบวนการทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดต ลอดชวี ติ สรา งทกั ษะวธิ ใี นการแสวงหาความรอู ยา งเปน ระบบไดด ว ยตนเอง This is a study of indigenous knowledge in different regions of Thailand with a holistic approach, including analyses from scientific, technological, social science and anthropological perspectives. Students wil learn how to appreciate the value of indigenous knowledge and recognize the ways in which such knowledge has been accumulated—lifelong learning of indigenous people and knowledge transfer between generations. Students will learn to become systematic, self-taught learners. GEN 351 การบริหารจัดการยคุ ใหมแ ละภาวะผนู ำ 3(3-0-6) (จธศท ๓๕๑) (Modern Management and Leadership) วิชาบังคับกอ น : ไมมี แนวคดิ การบรหิ ารจดั การยคุ ใหม หนา ทพ่ี น้ื ฐานของการจดั การประกอบดว ย การวางแผน การจดั องคก ร การควบคมุ การตดั สนิ ใจ การสอ่ื สาร การจงู ใจ ภาวะผนู ำ การจดั การทรพั ยากรมนษุ ยก ารจดั การระบบสารสนเทศ ความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม ตลอดจนการประยกุ ต ใชส ถานการณต างๆ This course examines the modern management concept including basic functions of management-planning, organizing, controling, decision-making, communication, motivation, leadership, human resource management, management of information systems, social responsibility—and its application to particular circumstances. 19 คูมือหลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) GEN 352 เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพอ่ื การพฒั นาอยา งย่ังยืน 3(3-0-6) (จธศท ๓๕๒) (Technology and Innovation for Sustainable Development) วิชาบังคบั กอน : ไมม ี ศึกษาความหมาย แนวคิด และบทบาทของเทคโนโลยีและนวตั กรรมตอ การสรางสรรคที่ยงั่ ยืนและผลกระทบตอสังคมและความ เปนมนุษย รวมถึงนโยบาย กลยุทธ เครื่องมือสำหรับการสังเคราะหและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงใน เชงิ เศรษฐกจิ และสงั คมฐานปญ ญา ตลอดจน จรยิ ธรรมในการบรหิ ารจดั การ การใชป ระโยชน และการคมุ ครองทรพั ยส นิ ทางปญ ญาทเ่ี กดิ จากเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม This course is the study of the definitions, concepts and roles of technology and innovation in the creation of wealth, and their impact on society and humanity. The course will explore the policies, strategies, and tools for synthesizing and developing technology and innovation for a wisdom-based society together with ethics in management. Students wil study the exploitation and protection of intelectual propertyas a result of technology and innovation. GEN 353 จิตวทิ ยาการจัดการ 3(3-0-6) (จธศท ๓๕๓) (Managerial Psychology) วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี ศกึ ษาแนวคดิ พน้ื ฐานเกีย่ วกับจติ วิทยาและการจดั การพฤตกิ รรมมนษุ ยในองคก าร ซึ่งรวมถึงปจ จยั ทางจติ วิทยาทม่ี ีผลกระทบตอ พฤตกิ รรมการทำงานของมนษุ ย ไดแ ก ทศั นคติ การสอ่ื สาร อทิ ธพิ ลของสงั คมและแรงจงู ใจ นอกจากนย้ี งั ไดศ กึ ษาการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม มนษุ ยใ นองคการ ความขดั แยง การบรหิ ารความขดั แยง พฤติกรรมผูนำและความมปี ระสทิ ธภิ าพขององคการ This course focuses on the fundamental concepts of psychology and management of human behavior in an organization, including psychological factors and their effect on human working behavior such as attitude, communication, social influences and motivation. Moreover, it wil incorporate organizational behavior modification, conflict management, and leadership and organizational effectiveness. GEN 411 การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพและการพดู ในท่ีสาธารณะ 3(2-2-6) (จธศท ๔๑๑) (Personality Development and Public Speaking) วิชาบังคับกอ น : ไมม ี วิชานี้มีวัตถุประสงคจะพัฒนาบุคลิกภาพและทักษะการพูดในที่สาธารณะของผูเรียน โดยพัฒนาคุณลักษณะและทักษะที่สำคัญ ดงั น้ี กริ ยิ าทา ทาง การแตง กาย และมารยาททางสงั คม จติ วทิ ยาในการสอ่ื สาร การใชภ าษาทง้ั ภาษาพดู และภาษากาย การอธบิ ายและ ใหเ หตผุ ล แสดงความคดิ เหน็ เจรจา และชกั ชวนโนม นา วจติ ใจผอู น่ื ได การนำเสนองานและการใชเ ทคโนโลยเี พอ่ื การสอ่ื สารไดอ ยา งเหมาะสม This course aims at developing public speaking skills and personalities of students. The course will cover a diverse range of abilities and skils such as good manners, attire, social rules, communication psychology, and verbal and non-verbal languages. Students are expected to gain these useful skills, including giving reasons, discussion, negotiation, persuasion, presentation, and application of technology for communication. 20 คูมอื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ 3(3-0-6) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) GEN 412 ศาสตรแ ละศิลปในการดำเนนิ ชวี ติ และการทำงาน (จธศท ๔๑๒) (Science and Art of Living and Working) วิชาบงั คบั กอ น : ไมม ี การใชศ าสตรแ ละศลิ ปใ นการดำเนนิ ชวี ติ และการทำงาน บคุ ลกิ ภาพและการแสดงออกทางสงั คม ความฉลาดทางอารมณ การคดิ วิเคราะหด วยเหตผุ ล การแกป ญหาอยา งสรางสรรคคณุ คาชีวติ การพัฒนาตนเอง ความรับผิดชอบตอตนเองและสงั คม การสรางสขุ ภาวะ ใหก บั ชีวติ และการทำงาน ศิลปะในการทำงานอยางมีความสขุ และศลิ ปะในการอยรู วมกบั ผอู ืน่ The concepts covered are the science and art of living and working,personality, social expression, temperance, critical thinking and reasoning, problem solving, value of living, self-development, social and self responsibility, creating a healthy life and work, and the art of living and working with others. GEN 421 สงั คมศาสตรบ รู ณาการ 3(3-0-6) (จธศท ๔๒๑) (Integrative Social Sciences) วชิ าบังคบั กอ น : ไมมี วิชานี้เปนการบูรณาการเนื้อหาวิชาหลักทางสังคมศาสตร 4 ดาน ไดแก ดานสังคมวัฒนธรรม ดานเศรษฐกิจ ดานการเมืองและ กฎหมาย และดานสิ่งแวดลอม โดยครอบคลุมประเด็นทางสังคมที่ไดรับความสนใจในปจจุบัน อาทิเชน ปญหาดานความแตกตางทาง ชาตพิ ันธุ ปญ หาการกระจายทรพั ยากร ปญ หาความไมม่ันคงทางการเมือง และปญ หาความเสอ่ื มโทรมดานสิง่ แวดลอ ม เปนตน This course integrates four major contents in social sciences, i.e., society and culture, economics, politics and laws, and the environment. The course also covers interesting contemporary social issues, such as ethnic problems, resource distribution, political instability, and environmental deterioration. GEN 441 วฒั นธรรมและการทองเท่ียว 3(2-2-6) (จธศท ๔๔๑) (Culture and Excursion) วชิ าบังคบั กอน : ไมม ี วชิ านม้ี เี นอ้ื หามงุ ใหผ เู รยี นรจู กั วฒั นธรรม การแลกเปลย่ี นเรยี นรวู ฒั นธรรมทง้ั ภายในและตา งประเทศ วถิ ชี วี ติ ทห่ี ลากหลาย โดยใช การทองเทย่ี วเปน สอื่ กลางในการเรียนรรู วมทั้งการใชภาษาในการสอ่ื สารและการบริหารจัดการเพอื่ การทอ งเท่ยี ว This course aims to encourage students to learn and understand culture and culture exchange on both local and international aspects. Students wil comprehend the diversities of ways of life through excursion-based learning, and understand the key role of language used for communication and tourism management. 21 คูม ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอมลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) LNG 101 ภาษาองั กฤษท่ัวไป 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๑) (General English) วิชาบงั คับกอ น : ไมม ี รายวิชานี้มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาความรูพื้นฐานทางภาษาอังกฤษ และสรางทัศนคติที่ดีตอการเรียนภาษาใหกับนักศึกษา โดย บรู ณาการการเรยี นรภู าษาองั กฤษทใ่ี ชใ นชวี ติ ประจำวนั กบั การฝก ทกั ษะทางภาษาทง้ั 4 ดา น ตลอดจนกระตนุ ใหน กั ศกึ ษาเกดิ ความสนใจ ทั้งภาษาและการเรียนรูไปพรอมกัน นอกจากนี้ยังมุงเสริมสรางทักษะการเรียนรูตลอดชีวิตใหกับนักศึกษาโดยบูรณาการการเรียนภาษา องั กฤษในชน้ั เรยี น กบั การเรยี นรดู ว ยตนเองและการทำกจิ กรรมหรอื โครงงานขนาดเลก็ เพอ่ื ใหผ เู รยี นไดเ รยี นตามความจำเปน เฉพาะดา น และความสนใจของแตล ะคน This course aims to strengthen basic knowledge of English and to build positive attitudes towards language learning. Covering al four skils integrated through topics related to everyday English and basic skils-oriented strategy training, this course raises the students’ awareness of both language and learning. In order to enhance life-long learning skils, the course then combines classroom learning with self-access learningand tasks or mini-projects to encourage the students to focus on their own specific needs and interest. LNG 102 ภาษาอังกฤษเชิงเทคนิค 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๒) (Technical English) วชิ าบังคบั กอน : LNG 101 ภาษาอังกฤษทัว่ ไป (General English) หรือมคี ะแนนสอบภาษาอังกฤษ ไมต ำ่ กวา 50% (ตามเกณฑก ารคดั เลอื กนักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ) รายวชิ านมี้ ุง เนนการพัฒนาทักษะการส่อื สารทางภาษาองั กฤษทั้งดา นการฟง การพูด การอาน และการเขียนโดยเฉพาะอยา งยิ่ง การฟง และการพดู ในสถานการณท เ่ี กย่ี วขอ งกบั งานทางดา นเทคโนโลยี ผา นกจิ กรรมหรอื งานทไ่ี ดฝ ก ใชภ าษาในการสอ่ื สาร ในสถานการณ เสมอื นจรงิ นอกจากนน้ั แลว ยงั มกี ารเนน เรอ่ื ง ความถนดั ในการเรยี นรขู องนกั ศกึ ษาแตล ะคนโดยการทำกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย และมกี าร เสรมิ สรา งทกั ษะการเรยี นรดู ว ยตนเองผา นกจิ กรรมของศนู ยก ารเรยี นรแู บบพง่ึ ตนเองและสอ่ื ออนไลนต า ง ๆ เพอ่ื ใหน กั ศกึ ษามที ศั นคตทิ ด่ี ี และมีความม่นั ใจในการใชภ าษาองั กฤษท่เี ก่ยี วขอ งกบั เทคโนโลยี The course aims at developing English communication skills covering listening, speaking, reading, and writing. In particular, it emphasises listening and speaking skils necessary in technological contexts through practical, real-life, and hands-on communicative tasks. It also aims to cater to each student’s learning styles bydoing a variety of activities and promoting independent learning skils via the Self-Access Learning Centre or online activities/materials. Through these activities, students are expected to further developpositive attitudes towards, and confidencein, using English in technological contexts 22 คมู ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) LNG 103 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สารในท่ีทำงาน 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๓) (English for Workplace Communication) วิชาบงั คบั กอ น : LNG 102 ภาษาองั กฤษเชงิ เทคนิค (Technical English) รายวิชามุงเนนการสื่อสารภาษาอังกฤษในวิชาชีพ เพื่อใหนักศึกษาสามารถแนะนำตนเองและแนะนำผูอื่นไดอยางเหมาะสมตอ สถานการณ มสี ว นรว มในการอภปิ ราย และนำเสนอความคดิ เหน็ ในสถานการณต า งๆ นอกจากน้ี รายวชิ ายงั ครอบคลมุ การเขยี นขอ ความ เชิงธุรกิจ และการนำเสนองานอยางมีประสิทธิภาพนักศึกษาจะไดทำกิจกรรมที่เสริมสรางความเขาใจในวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารอยาง มีประสิทธิภาพในระดับสากล The course focuses on professional English communication to enable students to effectively introduce themselves and others, participate in a discussion and express their ideas and opinions in various situations. In addition, it covers business writing and professional presentations. Students will also undertake activities that foster the understanding of cultures for effective international communication. LNG 105 ภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการสำหรับนกั ศึกษานานาชาติ 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๕) (Academic English for International Students) วิชาบังคบั กอน : ไมมี รายวิชานี้มุงเนนการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสำหรับนักศึกษานานาชาติ การเรียนการสอนเนนทักษะทางภาษาทั้ง 4 ทักษะ รวมทัง้ ทกั ษะการคดิ และการเรยี นรแู บบพ่ึงตนเอง ดา นการอา นเนนการอานเชงิ วิชาการ การสรุปความ การอา นเชิงวเิ คราะห และการตคี วาม ดา นการเขยี น เนน กระบวนการเขยี น การเขยี นความเรยี งเชงิ วชิ าการโดยใชข อ มลู ทไ่ี ดจ ากการอา นวเิ คราะหแ ละอา งองิ ขอ มลู อยา งถกู ตอ งและเหมาะสมเพอ่ื หลกี เลย่ี งการคดั ลอก การนำพจนานกุ รม หนงั สอื ไวยากรณ สอ่ื สารสนเทศ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม มาใชเ ปน เครอ่ื งมอื ชว ยการเขยี นเพอ่ื ชว ยปรบั ปรงุ การเขยี นดว ยตนเองใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ดา นการพดู เนน การพดู แบบฉบั พลนั การนำเสนอ ผลงานปากเปลา การแลกเปลย่ี นเรยี นรแู ละการแสดงความคดิ เหน็ ในสาขาวชิ าของตน ดา นการฟง เนน การฟง บรรยายและการจดบนั ทกึ จากการฟง The course aims at developing academic English skils necessary for learners in an international program. The learning and teaching involves the integration of the four language skils, thinking skils and autonomous learning. In terms of reading, the course focuses on academic reading, reading for main ideas, summarizing skils, critical reading and interpretation skils. In terms of writing, the emphasis is on process writing and academic writing to enable learners to effectively use the information gained from reading to support their statements, and to use appropriate citation to avoid plagiarism. Learners are also going to use dictionaries, grammar books, and appropriate information and communication technology to assist their writing. In terms of speaking, the focus is on impromptu situations, oral presentation, and the sharing and exchanging of ideas on issues related to the learners’ content areas. In terms of listening, the focus is on listening to English lectures and taking notes. 23 คูมือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) LNG 106 การฟงและการพูดเชิงวิชาการ 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๖) (Academic Listening and Speaking) วิชาบังคบั กอน : LNG 105ภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการสำหรบั นกั ศกึ ษานานาชาติ หรอื มคี ะแนนสอบ ภาษาองั กฤษไมต ำ่ กวา 56% (ตามเกณฑก ารคดั เลือกนกั ศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ) รายวชิ านม้ี งุ เนน การพฒั นาทกั ษะการฟง และการพดู เชงิ วชิ าการสำหรบั นกั ศกึ ษานานาชาติ การเรยี นการสอนเนน การบรู ณาการ ภาษาอังกฤษกับเนื้อหาวิชาในสาขาตางๆ เพื่อใหผูเรียนสามารถฟงการบรรยายภาษาอังกฤษในสาขาวิชาของตนได สามารถซักถาม แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได สามารถพูดสรุปความจากการอานได สามารถอภิปรายและนำการอภิปรายได สามารถนำเสนอผลงานปากเปลา ในสาขาวชิ าของตน และตอบขอ ซักถามไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ This course aims at developing academic listening and speaking skils necessary for learners in international programs. The teaching and learning styles involve an integration of English with content areas related to the learners’ fields. The course aims to enable learners to be able to listen to English lectures in their fields, ask and appropriately respond to questions, share ideas and express opinions, and read and summarize text. Learners will discuss and lead a discussion, make an effective oral presentation, and actively participate in the session. LNG 107 การอานและการเขียนเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) (จธภศ ๑๐๗) (Academic Reading and Writing) วชิ าบงั คบั กอ น : LNG 106 การฟง และการพดู เชงิ วชิ าการ หรอื มคี ะแนนสอบภาษาองั กฤษไมต ำ่ กวา 76% (ตามเกณฑการคดั เลอื กนกั ศึกษาของมหาวิทยาลยั ฯ) รายวชิ านม้ี งุ เนน การพฒั นาทกั ษะการอา นและการเขยี นเชงิ วชิ าการสำหรบั นกั ศกึ ษานานาชาติ การเรยี นการสอนเนน การบรู ณาการ ภาษาองั กฤษกบั เนอ้ื หาวชิ าในสาขาตา งๆ เพอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถอา น บทความวชิ าการในสาขาวชิ าของตนไดส ามารถจบั ประเดน็ และเลอื ก เฉพาะขอ มลู ทต่ี อ งการไดเ พอ่ื เปน ขอ มลู ประกอบการเขยี น สามารถเขยี นรายงานรปู แบบตา งๆ ในสาขาวชิ าของตนไดโ ดยใชข อ มลู ทไ่ี ดจ าก การอาน การทดลอง ฯลฯ โดยใชวธิ ีการเขียนทเี่ นนกระบวนการ และใชแ หลงอา งอิงไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ The course aims at developing academic reading and writing skils necessary for learners in international programs. The teaching and learning styles involve an integration of English into learners’ content areas to enable them to read academic articles in their chosen fields. Learners wil be able to extract main points from the text, purposefuly select required information to support their writing, write different forms of reports in their fields, use information obtained from reading and their own experiment in writing an essay, and effectively use references and citations throughout the writing process. 24 คมู อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) LNG 121 การเรยี นภาษาและวฒั นธรรม 3 (3-0-6) (จธภศ ๑๒๑) (Learning Language and Culture) วิชาบงั คบั กอ น : LNG 103 หรือ LNG 107 การศกึ ษาในเนอ้ื หาท่นี ักศึกษาสนใจอันเกีย่ วของกบั การเรียนรภู าษาและวัฒนธรรมและการใชภาษา Study on a special interests related to learning language, culture and language use. The Department will notify further information as it becomes available. LNG 122 การเรียนภาษาอังกฤษดว ยตนเอง 3 (0–6–6) (จธภศ ๑๒๒) (English Through Independent Learning) วชิ าบังคบั กอ น : LNG 103 หรือ LNG 107 ทฤษฎกี ารเรยี นรดู ว ยตนเอง ขน้ั ตอนการเรยี นรดู ว ยตนเอง การใชภ าษาองั กฤษผา นประสบการณก ารเรยี นรทู ก่ี ำหนดไว การรายงาน ประสบการณการใชภ าษาองั กฤษและรบั ความคดิ เห็นจากอาจารยผา นเครือขา ยอินเทอรเน็ต Self-based learning theory. Self-based learning processes. Exposure to and use of English through a structured experience. Reporting and reflecting on the exposure to and use of English and receiving teacher’s advice through the Internet. LNG 231 สุนทรยี ะแหงการอาน 3(3-0-6) (จธภศ ๒๓๑) (Reading Appreciation) วิชาบงั คับกอน : LNG 103 หรอื LNG 107 หลกั และวธิ กี ารอา น การอา นเอาเรอ่ื งและใจความ การอา นเชงิ วจิ ารณ การอา นสอ่ื และงานเขยี นหลากหลายรปู แบบ เชน สารคดี อตั ชีวประวตั ิ สุนทรพจน เรอื่ งสั้น บทกวี นวนิยาย เนน การพัฒนาความซาบซง้ึ ในการอา นและทกั ษะการคดิ เชงิ วจิ ารณ Reading principles and techniques. Reading ia such as documentaries, autobiographies, speeches, short stories, poems and novels. Emphasis on the development of reading appreciation and critical thinking skils. LNG 232 การแปลเบอื้ งตน 3(3-0-6) (จธภศ ๒๓๒) (Basic Translation) วิชาบังคบั กอ น : LNG 103 หรอื LNG 107 ทฤษฎีและกระบวนการแปล วิธีการแปล ประเด็นทางวัฒนธรรมและศิลปะในการแปล ปญหาในการแปลภาษาอังกฤษเปน ภาษาไทย ปญ หาในการแปลภาษาไทยเปน ภาษาอังกฤษ หลกั การและการฝก แปลแบบดัง้ เดิมการแปลดวยเคร่อื งคอมพวิ เตอร สัมมนา ปญหาในการแปลและแนวทางแกไข ทิศทางการแปลในปจ จบุ ัน Translation theories and procedures. Translation methods. Cultural issues and art of translation. Problems in English-Thai and Thai- English translation. Principles and conventional practices of translation. Machine translation. Seminar on translation problems and solutions. Current trends in translation. 25 คมู อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) LNG 233 การอานอยา งมีวจิ ารณญาน 3(3-0-6) (จธภศ ๒๓๓) (Critical Reading) วชิ าบงั คบั กอ น : LNG 103 หรอื LNG 107 วชิ านเ้ี นน ใหผ เู รยี นศกึ ษากระบวนการอา นในระดบั ทส่ี งู กวา ระดบั ความเขา ใจนกั ศกึ ษาตอ งสามารถพจิ ารณาและประเมนิ งานทอ่ี า น ไดสามารถระบุจุดแข็งและความหมายเชิงลึกของงานเขียนซึ่งเปนภาษาอังกฤษนักศึกษาจะมีโอกาสฝกฝนการอานเพื่อหา จุดออนและ ขอ บกพรอ งของบทความและตระหนกั ถึงกลยุทธและวิธกี ารที่ผูแตง ใชในงานเขยี นประเภทตางๆ เพ่ือสังเกตและแยกแยะอคตทิ ่แี ฝงมาใน งานเขยี นและสามารถนำทกั ษะเหลา นีไ้ ปประยกุ ตใ ชใ นบรบิ ททางวิชาการและชวี ติ จรงิ This course covers the process of reading that goes beyond simply understanding a text. It requires students to consider and evaluate readings by identifying strengths and implications of readings in English. The course provides opportunities for the students to find the reading's weaknesses and flaws. Students wil learn to recognise and analyse strategies and styles the author uses in different types of writings to identify potential bias in readings. Ultimately, the students are expected to be able to employ these skils for their academic context and in real lives. LNG 234 การสือ่ สารระหวางวัฒนธรรม 3(3-0-6) (จธภศ ๒๓๔) (Intercultural Communication) วิชาบังคับกอ น : LNG 103 หรอื LNG 107 หลกั การสอ่ื สาร แนวคดิ เรอ่ื งการสอ่ื สารระหวา งวฒั นธรรม วจั นและอวจั นภาษา ปญ หาการสอ่ื สารระหวา งวฒั นธรรม ภาษาและ วฒั นธรรมในสอ่ื ประเภทตา งๆ การสอ่ื สารระหวา งวฒั นธรรมผา นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส กลยทุ ธก ารสอ่ื สารระหวา งวฒั นธรรมเพอ่ื ความสำเรจ็ ในดา นสังคมและการทำงาน Principles of communication. Concepts of intercultural communication. Verbal and nonverbal communication. Problems in intercultural communication. Language and culture in media. Computer-mediated intercultural communication. Strategies in intercultural communication forsuccess in social and professional communication. LNG 235 ภาษาอังกฤษเพอื่ งานชุมชน 3(2-2-6) (จธภศ ๒๓๕) (English for Community Work) วชิ าบังคับกอ น : LNG 103 หรือ LNG 107 รายวชิ านม้ี งุ เนน ใหน กั ศกึ ษาพฒั นาทกั ษะการใชภ าษาองั กฤษในการทำงานเพอ่ื ชมุ ชน นกั ศกึ ษาจะไดท ำโครงงานในสถานการณจ รงิ โดยใชภ าษาองั กฤษเขยี นโครงงานเพอ่ื ขอรบั ทนุ นอกจากนร้ี ายวชิ ายงั มงุ ใหผ เู รยี นมที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ ภาษาองั กฤษ มคี วามมน่ั ใจในการสอ่ื สาร สามารถสอ่ื สารไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มที กั ษะชวี ติ และเขา ใจบทบาทหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม นอกจากนจ้ี ะมกี ารสง เสรมิ ใหน กั ศกึ ษา ใชเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหมในการตดิ ตอ ส่อื สารและสรางปฏสิ มั พนั ธทง้ั ในและนอกหองเรียน 26 คูม อื หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอ มลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) This course aims at fostering the use of English to pursue community work. It encourages learners to engage in a real world task alowing them to use English in writing a proposal to ask for the community work funding. Positive attitudes and confidence in using English would be highlighted throughout the course.Effective communication skils, life skils and social responsibility would also be reinforced. The use of social media as a means of communication is encouraged in the course. LNG 243 การอานและการเขียนเพอื่ ความสำเรจ็ ในวิชาชพี 3(3-0-6) (จธภศ ๒๔๓) (Reading and Writing for Career Success) วิชาบังคับกอ น : LNG 103 หรอื LNG 107 การอา นเนอ้ื หาประเภทตา งๆ โดยใชก ลยทุ ธก ารอา นทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ไดแ ก การอา นคมู อื การใชง านหรอื การทำงานของอปุ กรณ หรอื เนอ้ื หาทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ทางดา นเทคนคิ การอา นโครงรา งเพอ่ื นำเสนอโครงงาน การอา นสญั ญา และการอา นขอ ความผา นสอ่ื อเิ ลคทรอนคิ ส การเขียนที่ใชในการทำงาน ไดแก การเขียนคูมือ การเขียนขอความผานสื่ออิเลคทรอนิคส การเขียนโครงรางเพื่อนำเสนอโครงงานและ รายงาน วัฒนธรรมการเขียนในบรษิ ทั ตางชาติ Reading different types of texts by using effective reading strategies such as manuals and technical texts, project proposal, contracts and e-mails; writing used at work places such as manual, e-mail writing, project proposal; writing culture in foreign companies. LNG 294 ภาษาไทยเพือ่ การส่อื สารและงานอาชีพ 3(3-0-6) (จธภศ ๒๙๔) (Thai for Communication and Careers) วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั การสอ่ื สารและภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร ความรพู น้ื ฐานเกย่ี วกบั การฟง และการพฒั นาทกั ษะการฟง ความรพู น้ื ฐาน เกย่ี วกบั การอา นและการพฒั นาทกั ษะการอา น ความรพู น้ื ฐานเกย่ี วกบั การพดู และการพฒั นาทกั ษะการพดู ความรพู น้ื ฐานเกย่ี วกบั การเขยี น และการพฒั นาทกั ษะการเขยี น การประยกุ ตใชท กั ษะการฟง การอา น การพูด การเขียนเพื่องานอาชพี General concepts of communication and language for communication. Basic principles of listening and listening skil development. Basic principles of reading and reading skil development. Basic principles of speaking and speaking skil development. Basic principles of writing and writing skil development. Applying listening, reading, speaking and writing skils for careers. LNG295 ทักษะการพูดภาษาไทย 3(3-0-6) (จธภศ ๒๙๕) (Speaking Skils in Thai) วิชาบังคับกอน : ไมม ี ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั การสอ่ื สารและการพดู การสนทนาในชวี ติ ประจำวนั การสมั ภาษณเ พอ่ื สมคั รงาน การอภปิ รายและแสดง ความคดิ เห็น การนำเสนองานหรือสินคา Principles of communication and speaking. Everyday conversation. Job interview. Discussion and giving opinion. Project and product presentation. 27 คมู ือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอ มลู สุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมูลสุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) LNG 296 ทกั ษะการเขียนภาษาไทย 3(3-0-6) (จธภศ ๒๙๖) (Writing Skils in Thai) วชิ าบงั คับกอน : ไมมี ความรูท่วั ไปเกยี่ วกบั การเขียน การเขยี นยอ หนา การเขียนเรียงความ การเขียนบทความ การเขยี นรายงานเชิงวิชาการ Principles of writing. Writing a paragraph, an essay and an article. Writing an academic report. LNG 410 ภาษาอังกฤษธรุ กิจ 3(3-0-6) (จธภศ ๔๑๐) (Business English) วิชาบังคับกอ น : LNG 103 หรอื LNG 107 รายวชิ านม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เพม่ิ พนู ความรขู องนกั ศกึ ษาเกย่ี วกบั การสอ่ื สารทางธรุ กจิ และเพอ่ื ฝก ฝนใหน กั ศกึ ษามที กั ษะการสอ่ื สาร ภาษาองั กฤษเบอ้ื งตน เพอ่ื เตรยี มความพรอ มสำหรบั การงานอาชพี ในอนาคตเนอ้ื หารายวชิ าเนน ภาษาองั กฤษทใ่ี ชใ นดา นธรุ กจิ เชน การสนทนา ทางโทรศพั ท การสนทนาระหวา งการสงั สรรค การนำเสนอผลงาน การประชมุ การเจรจาตอ รอง การใหบ รกิ ารลกู คา การตอบสมั ภาษณ งานและเอกสารธุรกจิ นอกจากนร้ี ายวชิ าน้ียงั มุงเนนเรอ่ื งการส่ือสาร และ ความตระหนักดา นการสอ่ื สารขา มวฒั นธรรม This course aims to broaden students’ knowledge about business communication and to train students in basic communication skils in English to prepare them for their future careers. The course emphasizes functional language in business contexts including telephoning, socializing, giving presentations, meeting, negotiating, providing customer service, and dealing with job interview questions and business documents. The course also focuses on communication and awareness about intercultural communication. MIC 101 ชวี วิทยาทั่วไป 3(3-0-6) (จธชว ๑๐๑) General Biology วชิ าบงั คบั กอน : ไมม ี รายวิชานี้มีวัตถุประสงคเพื่อแนะนำความรูเบื้องตนทางชีววิทยา โดยเกี่ยวของกับโครงสราง สวนประกอบและหนาที่ของเซลล จุลินทรีย พืช และสัตว สารอาหารภายในเซลล พลังงานของสิ่งมีชีวิต การหายใจระดับเซล และการสังเคราะหแสง ความแตกตางของ สิ่งมชี ีวิตช้ันสงู กับชัน้ ตำ่ การจำแนกพชื และสตั ว อนุกรมวธิ าน การสบื พันธขุ องพืชและสัตว ระบบนเิ วศวิทยา รวมถึงความหลากหลาย ทางชวี ภาพ This course aims to introduce to students the fundamental of biology, microbial, plant and animal cell structure, component and function, cellular nutrition, energy of life, review of metabolic pathways: respiration and photosynthesis, procaryote versus eucaryote, classification of plants and animals, numeral taxonomy, morphological differences and genetic variation, plant and animal reproduction, ecology, environment and biodiversity. 28 คูมือหลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) MTH 101 คณติ ศาสตร 1 3(3-0-6) (จภคณ ๑๐๑) Mathematics I วิชาบังคบั กอ น : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ าจะทบทวนฟง กช นั และสมบตั ขิ องฟง กช นั จำนวน e ฟง กช นั ลอการทิ มึ ฟง กช นั ผกผนั ลมิ ติ ของฟง กช นั การคณนา ของลมิ ติ ฟง กช นั ตรตี อ เนอ่ื ง แนวคดิ พน้ื ฐานของอนพุ นั ธอ นพุ นั ธข องฟง กช นั พชี คณติ กฎลกู โซ อนพุ นั ธข องฟง กช นั อดศิ ยั อนพุ นั ธข องฟง กช นั ผกผนั การหาอนพุ นั ธโ ดยปรยิ าย อนพุ นั ธอ นั ดบั สงู รปู แบบยงั ไมก ำหนดและกฎโลปต าล ผลตา งเชงิ อนพุ นั ธ การประมาณคา เชงิ เสน ทฤษฎี บทคา สงู สดุ -ตำ่ สดุ ทฤษฎบี ทของรอล และทฤษฎบี ทคา มชั ฌมิ ความเวา และอนพุ นั ธอ นั ดบั สอง การใชอ นพุ นั ธแ ละลมิ ติ ในการการวาดภาพ เสน โคง การประยกุ ตป ญ หาสงู สดุ -ตำ่ สดุ อตั ราสมั พทั ธ แนวคดิ พน้ื ฐานของปรพิ นั ธท ฤษฎหี ลกั มลู ของแคลคลู สั สมบตั ขิ องปฏยิ านพุ นั ธแ ละ ปรพิ นั ธจ ำกดั เขต ปรพิ นั ธไ มจ ำกดั เขต การหาปรพิ นั ธโ ดยการแทนคา การหาปรพิ นั ธโ ดยการแยกสว น การหาปรพิ นั ธโ ดยใชเ ศษสว นยอ ย พน้ื ทใ่ี ตเ สน โคง และพน้ื ทร่ี ะหวา งเสน ปรพิ นั ธไ มต รงแบบการหาปรพิ นั ธเ ชงิ ตวั เลขฟง กช นั หลายตวั แปร กราฟของสมการอนพุ นั ธย อ ย ผลตา ง เชิงอนุพันธ กฎลกู โซ จดุ วิกฤต อนุพนั ธย อยอนั ดับสอง สดุ ขีดสัมพทั ธ สูงสดุ และต่ำสดุ และจุดอานมา This course provides a review on function and their properties, number e, logarithm function, inverse function. Limit of function, computation of limits, continuous function. Basic concepts of derivative, derivative of algebraic function, the chain rule, derivatives of transcendental functions, derivatives of inverse function, implicit differentiation, higher order derivatives, indeterminate form and L’Hopital’s rule. Differentials, linear approximation, the max-min value theorem. Role’s theorem and mean value theorem. Concavity and second derivative, using derivative and limits in sketching graph, applied max-min problem, related rates. Basic concepts of integrals, fundamental theorem of calculus, properties of antiderivatives and definite integrals, indefinite integral, integration by substitution, integration by parts, integration by partial fractions. Area under curve and areas between curves. Improper integrals, numerical Integration. Function of several variables, graph of equations. Partial derivative, differentials, the chain rule. Critical points, second order partial derivative, relative extrema, maxima and minima, and saddle points. MTH 102 คณติ ศาสตร 2 3(3-0-6) (จภคณ ๑๐๒) Mathematics II วชิ าบงั คับกอน : MTH 101 Mathematics I เนอ้ื หาของรายวชิ านร้ี วมถงึ สเกลารแ ละเวกเตอร ผลคณู ภายใน ผลคณู เชงิ เวกเตอร ผลคณู เชงิ เกลารข องสามเวกเตอร เสน และ ระนาบในปรภิ มู สิ ามมติ อิ ปุ นยั เชงิ คณติ ศาสตร ลำดบั อนกุ รม การทดสอบดว ยปรพิ นั ธ การทดสอบดว ยการเปรยี บเทยี บ การทดสอบดว ย อตั ราสว น อนกุ รมสลบั การลเู ขา สมั บรู ณ การกระจายทวนิ าม อนกุ รมกำลงั สตู รของเทยเ ลอรฟ ง กช นั เปน คาบ อนกุ รมฟรู เิ ยร พกิ ดั เชงิ ขว้ั พื้นที่ในพิกัดเชิงขั้ว ปริพันธจำกัดเขตบนระนาบและบริเวณทรงตัน ปริพันธสองชั้นในมุมฉาก ปริพันธสองชั้นในรูปแบบเชิงขั้ว การแปลง ของตวั แปรในปริพันธห ลายชน้ั ปริพันธส ามชน้ั ในพกิ ัดฉาก ปรพิ ันธส ามชั้นในพกิ ัดทรงกระบอกและพิกัดทรงกลม 29 คมู ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) This course materials cover Scalars and Vectors, Inner Product, Vectors Product, Scalar Triple Product, Line and Plane in 3-Space.Mathematical Induction, Sequences, Series, The Integral Test, The Comparison Test, The Ratio Test, The Alternating Series and Absolute Convergence Tests, Binomial Expansion, Power Series, Taylor’s Formula. Periodic Functions, Fourier Series, Polar Coordinates, Areas in Polar Coordinates, Definite Integral over Plane and Solid Regions, Double Integrals, Double Integrals in Polar Form, Transformation of Variable in Multiple Integrals, Triple Integrals in Rectangular Coordinates, Triple Integrals in Cylindrical and Spherical Coordinates. PHY 103 ฟส ิกสท ว่ั ไปสำหรบั นักศกึ ษาวศิ วกรรมศาสตร 1 3(3–0–6) (จธฟส ๑๐๓) General Physics for Engineering Student I วชิ าบังคบั กอน : ไมมี วชิ านเ้ี นน การประยกุ ตใ ชก ฎตา งๆทางฟส กิ ส เวกเตอร การเคลอ่ื นทใ่ี น 1-, 2-, และ 3- มติ ิ กฎการเคลอ่ื นทข่ี องนวิ ตนั พลงั งาน และงาน โมเมนตัมเชิงเสน การหมุน ทอรกและโมเมนตัมเชิงมุม สมดุลและการยืดหยุนของไหล การสั่น คลื่นและเสียง อุณหพลศาสตร ทฤษฎีจลนของกาซ This course emphasizes the applications of the laws of physics. Vectors. Motions in 1-, 2-, and 3- dimensions. Newton’ s laws of motion. Energy and work. Linear momentum. Rotation. Torque and angular momentum. Equilibrium and elasticity. Fluids. Oscilations. Waves and sound. Thermodynamics. The kinetic theory of gases. CPE 102 การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรพน้ื ฐาน 3(2-2-6) (จธวค ๑๐๒) Computer Programming Basics วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี เนอ้ื หาของรายวชิ านแ้ี นะนำหลกั การเบอ้ื งตน ของการเขยี นโปรแกรม ชนดิ ของขอ มลู ปฏบิ ตั กิ ารแบบมเี งอ่ื นไข คำสง่ั ทำงานแบบ วนรอบ โปรแกรมยอ ยฟง กช นั การรบั ขอ มลู และการสง ออก โดยใชต วั อยา งและแบบฝก หดั เขยี นโปรแกรม การพฒั นาซอฟตแ วรใ นลกั ษณะ กิจกรรมการแกปญหา เทคนิคที่ใชในการผลิตโปรแกรมใหมีความถูกตองและทนทานเชน การแตกงานแบบบนลงลาง การลงมือจำลอง การทำงาน และ การทดสอบการทำงานตามสมมตฐิ าน เปนตน ทกุ สปั ดาห มปี ฏบิ ตั กิ ารที่เนนการออกแบบสรา งและแกป ญหาโปรแกรม ที่นาสนใจ This course introduces the fundamental concepts of programming including data types, conditional execution, iteration, functions, and I/O with programming exercises. Software development as a problem-solving activity. Techniques for producing correct and robust programs including top-down decomposition, hand simulation and hypothesis-based debugging. Weekly laboratory sessions focus on program design and implementation to solve interesting case problems. ผลลัพธก ารเรยี นรู Design, write and debug a computer program in Python that solves a problem as described in a detailed problem specification. Work in a team to create a multi-module software system to solve a problem. 30 คูมือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อมูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) CPE 111 การเขยี นโปรแกรมดวยโครงสรางขอมูล 3(2-2-6) (จธวค ๑๑๑) Programming with Data Structures วิชาบงั คบั กอน : CPE 100 (ไมอ นญุ าตใหน กั ศกึ ษาทไ่ี ดร ะดบั คะแนน F ในวชิ า CPE 100 ลงทะเบยี นวชิ าน)้ี รายวชิ านี้คอื วิชาดา นการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรโ ดยเนนโครงสรางขอมูลแบบพลวัตเชน แถวลำดับพลวัต รายการเชอื่ มโยง ผงั ตน ไม และตารางแฮช เปน ตน การใชซ ำ้ โมดลู ในซอฟตแ วรห ลายโมดลู หลกั การของกระบวนคำสง่ั การกำหนดสาระสำคญั ของขอ มลู การหอ หมุ การซอ นสารสนเทศและกระบวนการเชิงอ็อบเจกต ปฏบิ ตั ิการรายสปั ดาห This is a computer programming course with an emphasis on dynamic data structures such as dynamic arrays, linked lists, trees, graphs and hash tables. Creation of general, reusable modules and their use in multi-module software systems. Concepts of procedural and data abstraction, encapsulation, information hiding and object-orientation. Weekly lab sessions. ผลลัพธก ารเรียนรู Evaluate, select and implement appropriate data structures and associated algorithms to efficiently solve programming problems. CPE 103 คณติ ศาสตรด ิสครีต 3(2-2-6) (จธวค ๑๐๓) Discrete Mathematics วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี วชิ านแ้ี นะนำเนอ้ื หาทเ่ี กย่ี วขอ งกบั เซต็ ความสมั พนั ธ ตรรกศาสตรป ระพจน ตรรกศาสตรภ าคแสดง การใชเ หตผุ ลทางคณติ ศาสตร เทคนคิ การพสิ จู น ลำดบั และผลรวม การอปุ นยั ทางคณติ ศาสตร การนบั การเรยี งเปลย่ี น การจดั หมู ความนา จะเปน เชงิ วยิ ตุ ทฤษฏตี วั เลข การเขยี นโปรแกรมเชิงตรรกะ กราฟ ตนไม และอัลกอริทึมทเี่ ก่ียวขอ ง ออโตมาตาจำกัดและไวยากรณไ มพงึ่ บริบทเคร่ืองทัวร่ิง This course introduces materials on sets, relations, propositional logic, predicate logic, mathematical reasoning, proof techniques. Sequences and summation, mathematical induction. Counting, permutation, combination, and discrete probability. Number theory. Logic programming, graphs, trees, and related algorithms. Finite automata, context-free grammar, and the Turing machine. ผลลัพธการเรยี นรู Use Mathematics to represent and solve discrete problems. Be able to work as a team with acceptable writing and presenting skils. CPE 231 ระบบฐานขอ มลู 3(2-2-6) (จธวค ๒๓๑) Database Systems วิชาบงั คบั กอ น : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ าแนะนำหลกั การของฐานขอมลู โดยเนนการออกแบบ ลงมอื ปฏบิ ัตแิ ละเขยี นโปรแกรมจัดการฐานขอมูล ฐานขอมูล เชิงความสมั พันธภาษาสอบถามเชงิ โครงสรา ง การวเิ คราะห ออกแบบและสรา งระบบฐานขอมูล แนวคิดเรอ่ื งประสทิ ธิภาพของฐานขอ มลู และการปรับแตง ฐานขอ มลู เพ่ือใหม ีประสิทธิภาพ ฐานขอมลู แบบโนเอสคิวแอล 31 คมู อื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) This course introduces the database concepts focusing on design and implement an application with a database. Relational databases, SQL, Database system analysis, Database design and implementation, Concept of database performance and tuning, and NoSQL databases. ผลลพั ธก ารเรยี นรู Understanding of Database concepts both relational and NoSQL databases and concepts in Enterprise Resource Planning. Students should be able to design and implement a web application with a database. CPE 301 บรู ณาการการเรยี นและการทำงาน 2(0-36-4) (จธวค ๓๐๑) Work Integrated Learning วิชาบงั คบั กอ น : ไมมี ปฏบิ ัติงานในบรษิ ัท โรงพยาบาล หรอื องคกรทางดานสขุ ภาพอ่นื ๆ ระหวา งภาคฤดูรอ นไมน อ ยกวา 6 สัปดาห Practical training with professionals in a company, hospital, or other health related organization during the summer for at least six weeks. ผลลพั ธก ารเรียนรู Apply relevant knowledge to work with professionals CPE 325 ขอมลู ขนาดใหญ 3(3-0-6) (จธวค ๓๒๕) Big Data วชิ าบงั คับกอน : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ พน้ื ฐานของการวเิ คราะหข อ มลู ขนาดใหญ การแสดงผล ฐานขอ มลู แบบมแี ละไมม โี ครงสรา ง การออกแบบ การทดลอง ฮาดูปการสรางแบบจำลองการทำนาย การประมาณคาแบบจำลอง การจับกลุม และการแยกแยะ การเรียนรูแบบใชปญหา เปนฐานโดยเนนทีป่ ญ หาทางธุรกิจเคร่ืองมือเชงิ วิชาชีพ เชน อารแท็บลีนและ เอชไอวอี ี This course introduce the basics of big data analytics, visualization, structured and unstructured databases, design of experiments, Hadoop, predictive modeling, model fitting, clustering, and classification. Problem-based learning style with integrated business applications. Professional tools such as R, Tableau, and HIVE. ผลลัพธการเรียนรู Understand the basic concepts of big data engineering. Apply data science concepts to solve business problem. Create meaningful visualization that directly answer the business issues. 32 คมู อื หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) CPE 329 การคดั กรองขอ มลู ทางธุรกจิ 3(3-0-6) (จธวค ๓๒๙) Business Inteligence วิชาบังคบั กอน : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ การศกึ ษาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจทางธรุ กจิ เชงิ ลกึ โดยการจดั เกบ็ และประมวลผล ขอ มลู จากแหลง ขอ มลู และรปู แบบซง่ึ หลากหลายในมติ ติ า งๆ นยิ ามและความสมั พนั ธร ะหวา งกระบวนการ เครอ่ื งมอื โซลชู น่ั และผลติ ภณั ฑ เพอ่ื การวเิ คราะหแ ละตดั สนิ ใจเชงิ ลกึ ทางธรุ กจิ เทคโนโลยกี ารรวบรวมและจดั เกบ็ ขอ มลู องคก รเชน ระบบประมวลธรุ กรรม ระบบวางแผน ทรพั ยากรองคก ร ระบบคลงั ขอ มลู การบรู ณาการขอ มลู องคก รและขอ มลู จากแหลง ภายนอก ระบบจดั การเนอ้ื หาดจิ ติ อลและคลงั เกบ็ ความรู การสรา งความเขา ใจทล่ี กึ ซง้ึ แนะนำเทคนคิ เหมอื งขอ มลู การวเิ คราะห ออกแบบ และแสดงภาพสารสนเทศในมติ ติ า งๆ โอแลป็ แผงสารสนเทศ องคกร This course materials include the study of information technology which provides decision makers with valuable information and knowledge by leveraging a variety of data sources as well as structured and unstructured information. Definitions and relationships between business intelligence (BI) processes, BI tools, BI solutions, and BI products.4 major BI capabilities: organizational memory, information integration, insight creation, and presentation. Transactional processing systems (TPS), Enterprise resource planning systems (ERP), and data warehousing systems. Digital content management systems and knowledge repositories. Data mining overviews. Multi-dimensional data visualization, OLAP, organizational dashboards. ผลลัพธก ารเรียนรู Understand basic concepts of business inteligence. Apply computational technique to address business problems. Use suitable BI tools for different problems. CPE 352 วทิ ยาศาสตรข อมลู 3(2-2-6) (จธวค ๓๕๒) Data Sciences วชิ าบังคับกอน : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ วทิ ยาศาสตรข อ มลู เบอ้ื งตน การแขง ขนั ใน Kaggle ภาษา R การสำรวจขอ มลู การจดั แบง ประเภทขอ มลู การประยกุ ตค วามรจู ากวิชาการทำเหมอื งขอมูล การแสดงผมขอมลู การคดิ วิเคราะหขอ มลู This course materials provide an introduction to data science. Kaggle competitions. R programming. Exploratory data analysis. Classification. Regression. Association Rule. Clustering. Ensemble learning. Data visualization. Data analytical thinking. ผลลพั ธการเรียนรู Students can apply data science knowledge to the real world business problem, explore data to uncover interesting patterns, build predictive models to solve suitable problems, and evaluate the models based on their effectiveness and cost-benefit. 33 คูมือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) CPE 353 การออกแบบการทดลอง 3(3-0-6) (จธวค ๓๕๓) Design of Experiment วิชาบังคบั กอ น : ไมมี เนื้อหารายวิชากลาวถึงความคิดและหลักการพื้นฐานในการออกแบบการทดลอง ทบทวนเรื่องสถิติ การเปรียบเทียบการทดลอง พื้นฐาน การทดลองตัวแปรเดี่ยวและการวิเคราะหความแปรปรวน เครื่องมือในการวิเคราหขอมูลการทดลอง การทดลองตัวแปรเดี่ยวกับ จำนวนระเบยี นตอ กลมุ การทดลองแบบแฟคทอเรยี ลแบบตา งๆ แบบจำลองการถดถอยและวธิ กี ารตอบสนองบนพน้ื ผวิ การออกแบบสำหรบั การตอบสนองทไี่ มเปนปกติ This course materials include basic concepts and principles in experimental design. Review of statistics. Simple comparative experiments. Single factor experiments and analysis of variance. Experimental data analysis tools. Single factor experiments with blocking factors. Ful factorial experiments. Two-level factorial experiments. Fractional factorial experiments. Blocking and confounding. Regression models and response surface methodology. Designs for non-normal responses. ผลลพั ธก ารเรียนรู Students are able to Identify types of problems that can be solved by design of experiments methodologies, apply appropriate design of experiments techniques to solve problems, use software tools related to tasks in design of experiments, and interpret results and draw conclusions from analysis. CPE 355 การวเิ คราะหดานการเงนิ 3(3-0-6) (จธวค ๓๕๕) Financial Analytics วชิ าบังคบั กอ น : ไมมี เนื้อหาวิชานี้รวมถึง วิธีการเชิงปริมาณและการวิเคราะหขอมูลในทางการเงิน เศรษฐมิติพื้นฐาน การจำลองสถานการณการหา คา ทด่ี ที ส่ี ดุ และการเรยี นรขู องเครอ่ื งจกั รทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ขอ มลู ทางการเงนิ ตวั อยา งของการประยกุ ตใ ช เชน การพยากรณค วามเสย่ี ง การสรา ง แบบจำลองความเสี่ยงดานเครดติ และการประเมินราคาดว ยการจำลองแบบมอนตคิ ารโล The materials in this course cover quantitative methods and data analytics in finance. Topics including basic econometrics, simulation, optimization, and machine learning relevant to financial data. Example applications such as volatility forecasting, credit risk modeling, and pricing with Monte Carlo simulation. ผลลัพธการเรยี นรู Students understand concepts of financial data analytics. Students are able to apply quantitative techniques and make use of data to solve basic problems in finance. 34 คมู อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) CPE 356 การตลาดและโมเดลเชงิ ทำนาย 3(3-0-6) (จธวค ๓๕๖) Predictive Analytics in Marketing วชิ าบังคบั กอน : CPE 352 วชิ านแ้ี นะนำหลกั การพน้ื ฐานของการตลาด นกั ศกึ ษาจะเรยี นรเู กย่ี วกบั การนำเทคนคิ ดา นวทิ ยาศาสตรข อ มลู มาใชใ นการพฒั นา วิธีการทำการตลาดและเพิ่มรายไดใหองคกร ตัวอยางการใชงานดานการวิเคราะหเชิงทำนายจะรวมถึง (1) การดึงผูซื้อที่เหมาะสมตามแผนการตลาดโดยอาศัยการสื่อสารและการยื่นขอเสนอแบบที่เหมาะสำหรับแตละบุคคล (2) การทำนายมูลคาตลอดชวงชีวิตของลูกคาเพื่อสรางผลตอบแทนสูงจากการลงทุนดานการตลาดและสรางความคุมคา (3) หาลูกคามูลคาสูงเพิ่มโดยอาศัยเทคนิคการจัดกลุมลูกคาที่เหมาะสมในองคกร วิชานี้จะสำรวจวิธีการตางๆตามตัวอยางการใชงานในขางตนและโจทยอื่นๆทางดานการตลาด This course introduces basic marketing concept. Students wil learn how to leverage data science to improve marketing and boost revenue. The common use cases in predictive marketing include (1) engage the right buyer with personalized communication and marketing offer. (2) Predict customer lifetime value to generate high ROI marketing strategies. (3) Finding new prospect by understanding customer segments within your organization. This course wil explore these use cases and more. ผลลพั ธการเรยี นรู Students understand the marketing basic. Students are able to apply data science techniques and make use of data to develop marketing strategies. Students are able to visualize and present analytic outputs effectively. CPE 357 การวเิ คราะหท รพั ยากรบคุ คล 3(3-0-6) (จธวค ๓๕๗) People Analytics วิชาบังคับกอน : CPE 352 องคกรจำนวนมากใชเทคนิคการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญในการจัดการเรื่องทรัพยากรบุคล องคกรธุรกิจสามารถประหยัดงบ ประมาณไดโ ดยการใชก ารวเิ คราะหข อ มลู ขนาดใหญใ หเ ปน ประโยชนใ นหลายๆมติ ขิ องการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรบคุ คลขององคก ร ขอ มลู เกย่ี วกบั พนกั งานปจ จบุ นั สามารถถกู ใชเ พอ่ื ตอบคำถามเกย่ี วกบั การหาพนกั งานใหม ตวั อยา งเชน (1) ในการเลอื กจา งพนกั งานใหมบ รษิ ทั ควรจะใหค วามสนใจเกย่ี วกบั อะไรมากเปน พเิ ศษ (2) บรษิ ทั จะทำอยา งไรในการดงึ พนกั งานทเ่ี ปน บคุ คลสำคญั ไมใ หล าออก (3) งบประมาณทางดา นบคุ คลถกู ใชไ ปในมติ ใิ ดและใหผ ลคมุ คา ตอ องคก รหรอื ไม อยา งไร วชิ านจ้ี ะนำเทคนคิ การวเิ คราะหข อ มลู ขนาดใหญม าใชใ นการตอบโจทยด งั กลา ว 35 คูม ือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) More organizations are using big data for human resources. Businesses can save a lot of money if they take advantage of big data analytics for various areas of Human Resources. Data analytics can answer important questions by gathering and analyzing data from a company’s current and prospective employees, such as (1) What aspect should be pay attention to in order to hire the best candidate? (2) How can we improve talent retention? (3) Where does our HR budget go and what’s the return on investment for the company? This course wil address these questions and more. ผลลพั ธก ารเรยี นรู Students understand the HR basic. Students are able to apply data science techniques and make use of data to develop human resource strategies. Students are able to visualize and present analytic outputs effectively. CPE 371 ปญญาประดิษฐ 3(3-0-6) (จธวค ๓๗๑) Artificial Inteligence วชิ าบงั คบั กอ น : CPE 212 รายวิชากลาวถึง เนื้อหาและคำจำกัดความของปญญาประดิษฐ การประมวลผลแบบสัญลักษณ และวิธีคนหาขอสรุป แนวทาง ประยุกตการใชงานปญญาประดิษฐ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ หุนยนตอุตสาหกรรม ระบบผูเชี่ยวชาญ และอื่นๆ เครื่องมือพัฒนา ระบบผเู ชย่ี วชาญ การเขยี นโปรแกรมลิสปและโปรล็อก This course introduces definition and theoretical aspects of artificial intelligence. Symbolic processing and conclusion methods. Applications of artificial intelligence to natural language processing, industrial robots, expert systems, and others. Expert systems development tools, LISP programming, and PROLOG programming. ผลลพั ธการเรยี นรู Students understand and are able to design components of Artificial Inteligent systems through hand-on experience. Studdents acquire basic thinking method of some machine learning techniques CPE 372 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3(3-0-6) (จธวค ๓๗๒) Natural Language Processing วิชาบังคับกอ น : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ การประมวลผลภาษาธรรมชาตเิ บอ้ื งตน และการนำไปประยกุ ตใ ช การวเิ คราะหโ ครงสรา งของภาษาธรรมชาติ การตคี วามหมายทางอรรถศาสตร เทคนคิ การเขยี นกฎไวยากรณส ำหรบั คอมพวิ เตอร เพอ่ื สรา งตวั แจงสว นโครงสรา งประโยคในภาษาตา งๆ และศกึ ษาระบบประมวลผลภาษาธรรมชาตติ า งๆ ท่ีมีใชทางดานสารสนเทศในปจจบุ ัน This course materials include natural language processing and its application. Structural analysis of natural languages. Semantic interpretation. Grammar writing for computer to build parsers for various languages. Review of current natural language processing systems for information technology. 36 คมู ือหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอมลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ผลลพั ธการเรยี นรู Apply knowledge and skills in natural language processing tasks, - research variousissues in language processing and understanding, - Function and manage in team work, -Beable to read, write, and communicate efficiently in English. CPE 373 การประมวลผลเสยี งพดู 3(3-0-6) (จธวค ๓๗๓) Speech Processing วชิ าบงั คับกอ น : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ การประมวลผลเสยี งพดู อตั โนมตั ิ กลสทั ศาสตรข องสญั ญาณเสยี งพดู สเปค โตรแกรม สรรี สทั ศาสตร และ กฎหนว ยเสยี งเพอ่ื ใหเ ขา ใจการแสดงผลจากสเปค โตรแกรม การใชส เปค โตรแกรมเพอ่ื พจิ ารณาสญั ญาณเสยี งและวเิ คราะหต วั แปรทเ่ี กย่ี วขอ ง การศกึ ษาเสยี งเดี่ยวและการออกเสยี งแบบตอ เนอื่ ง การใชหลกั การทางดานสทั วิทยาในการวเิ คราะหเ สียง This course materials include acoustic content of the speech signal. Spectrographic display to examine the signal and discover its variable properties. Phones in increasingly larger contexts to co-articulation. Phonological rules as contextual aid in understanding the spectrographic display. ผลลัพธก ารเรยี นรู Understand the basic of speech processing. Create simple speech recognition,synthesis and spoken dialog systems. Customize the existing speech processing systems for performing specific tasks. CPE 378 การเรยี นรขู องเครื่อง 3(2-2-6) (จธวค ๓๗๘) Machine Learning วิชาบังคบั กอ น : ไมม ี วิชาการเรียนรูดวยเครื่องศึกษารายละเอียดการสรางแบบจำลองทางคณิตศาสตรชวยใหคอมพิวเตอรเรียนรูความสัมพันธภายใน ขอมูล โดยเนื้อหาครอบคลุมหัวขอเชน supervised และ unsupervised learning, โมเดลคณิตศาสตรแบบความนาจะเปน, parametric optimization, การเรยี นรแู บบใชร างวลั , meta learning, การเรยี นรโู ดยใชโ ครงขา ยประสาทเชงิ ลกึ , และการทำ machine learning model บนขอมูลขนาดใหญ นักศึกษาจะไดฝ ก ฝนการสรางโมเดลการเรียนรูด วยเคร่อื งเพือ่ แกปญ หาที่ซับซอน This course covers important concepts in machine learning, including substantial reviews of supervised and unsupervised learning, parametric optimization, probabilistic modeling, reinforcement learning, meta learning, deep learning, and large-scale machine learning. Students wil gain hands-on experiences constructing machine learning models to solve complex problems. ผลลัพธการเรยี นรู Students understand the art and science of machine learning and are able to demonstrate the ability to apply machine learning models to problems in different contexts. 37 คูมอื หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มูลสุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) CPE 383 ขอมลู สวนบุคคลและความปลอดภยั ขอมูล 3(3-0-6) (จธวค ๓๘๓) Data Privacy and Security วิชาบังคบั กอน : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ การเรยี นรใู นเทคโนโลยคี วามปลอดภยั ของขอ มลู ระบบควบคมุ การเขา ถงึ และการจดั การความเสย่ี งปญ หา ของการรกั ษาความลบั และกฎขอ บงั คบั ของขอ มลู สขุ ภาพในปจ จบุ นั และทก่ี ำลงั เกดิ ขน้ึ ความทา ทายในการดแู ลเทคโนโลยเี ครอื ขา ยขอ มลู สุขภาพทีเ่ ปนความลับ โครงรางกฎระเบียบสำหรับความปลอดภยั ของขอ มูลสขุ ภาพ เครือ่ งมอื ในการปกปองขอมลู ของผปู ว ย This course materials include data security technologies, access control, and risk management. Current and emerging issues in healthcare security privacy and regulatory compliance. Chalenges of maintaining secure health information technology networks. Regulatory framework for health information security. Tools to guard against sensitive patient information. ผลลัพธก ารเรียนรู Students should be able to explain the basic principles of data privacy realted to healthcare and security and apply security technologies to ensure data safety and access control for patient information. CPE 391 หัวขอ พิเศษ 1 1(1-0-2) 2(2-0-4) (จธวค ๓๙๑) Special Topic I 3(3-0-6) วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี หวั ขอ ทน่ี า สนใจในปจ จบุ นั Topics of current interest CPE 392 หวั ขอ พิเศษ 2 (จธวค ๓๙๒) Special Topic II วชิ าบงั คับกอน : ไมม ี หวั ขอ ทน่ี า สนใจในปจ จบุ นั Topics of current interest CPE 393 หัวขอ พิเศษ 3 (จธวค ๓๙๓) Special Topic III วิชาบงั คับกอ น : ไมมี หวั ขอ ทน่ี า สนใจในปจ จบุ นั Topics of current interest 38 คูมอื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) CPE 407 โครงงานวิทยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ1 3(0-6-9) (จธวค ๔๐๗) Health Data Science Project I วชิ าบงั คบั กอน : ไมม ี โครงงานกลุมนักศึกษาภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยประจำภาควิชาฯ การออกแบบและพัฒนาชิ้นงานโดยนักศึกษาดวย ระเบยี บวธิ ที เ่ี หมาะสมเพอ่ื แกไ ขปญ หาหรอื ตอ ยอดเทคโนโลยดี า นขอ มลู การบรู ณาการความรใู นหลกั สตู ร การพฒั นาทกั ษะการแกไ ขปญ หา การเรยี นรดู ว ยตนเอง การทำงานเปน ทีมและการสือ่ สารเพ่ือนำเสนอผลงาน Students team project under the supervision of faculty members. Design and development of non-trivial works by students using data methodology to solve or extend upon existing computer engineering and information technologies. Integration of knowledge from courses in the curriculum. Skills development on problem solving, self-learning, teamwork, and communications to present the work. ผลลพั ธการเรยี นรู Independently explore, analyze, and evaluate existing knowledge, technologies, information to come up with an original project idea; Design an original hardware, software and/or conceptual content (models, algorithms, etc.) based on sound engineering practice; Distribute tasks as appropriate within a project team; Create an effective project proposal; Speak clearly and logicaly to explain the core ideas and designs of their project. CPE 408 โครงงานวิทยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ2 3(0-6-9) (จธวค ๔๐๘) Health Data Science Project II วิชาบงั คับกอน : ไมมี วิชาตอเนื่องจากวิชา CPE 403 โครงงานวิทยาศาสตรขอมูล1 เพื่อใหโครงงานเสร็จสมบูรณ Continuation and the completion of the project initiated in CPE 403 course. ผลลพั ธก ารเรยี นรู Implement and evaluate the designed hardware, software and/or conceptual content (models, algorithms, etc.) based on engineering practice; Independently acquire knowledge, information, and skils to complete works; Manage work to complete deliverables within deadlines; Distribute tasks as appropriate within a project team; Create an effective project report; Speak clearly and logicaly to explain the core ideas and major results of their project. 39 คมู ือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) CPE 453 เครือ่ งสบื คนและการเจาะหาในอินเทอรเน็ต 3(3-0-6) (จธวค๔๕๓) Search Engine and Internet Mining วิชาบงั คับกอน : ไมมี เนื้อหารายวิชากลาวถึง ความรูพื้นฐานดานการคนคืนสารสนเทศ สถาปตยกรรมระบบการคนคืนสารสนเทศ การสรางอินเด็กซ การจดั เรยี ง การจดั กลมุ การสรา งระบบสบื คน ขอ มลู ดว ยซอฟตแ วร Open Source การประเมนิ ผลระบบการสบื คน ขอ มลู การทำเหมอื ง อินเตอรเนต็ The course materials include basic concepts of information retrieval. Information retrieval system architecture. Indexing. Ranking. Categorization. Implementation of search engine by using the open-source software packages. Evaluation of search engine. Internet mining using different online media such as social network data. ผลลัพธก ารเรียนรู Apply information retrieval techniques to create a search engine. Modify algorithms in search engine for addressing specific problems. CPE 454 อินเทอรเ นต็ ของสรรพส่ิง 3(3-0-6) (จธวค ๔๕๔) Internet of Things วชิ าบังคบั กอน : ไมมี เนื้อหารายวิชากลาวถึง พื้นฐาน งานวิจัย เทคโนโลยี และมาตรฐานในอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง โดเมนการประยุกตใชและองค ประกอบทางสถาปต ยกรรมของไอโอที อปุ กรณไ ซเบอรก ายภาพแบบฉลาดและเครอื ขา ยเซน็ เซอร โปรโทคอลสอ่ื สาร ชน้ั ประมวลผลกอ นเมฆ ลอจิกการประยุกตใ ช การวเิ คราะหข อมูล การสรางระบบ The course materials include foundations, state-of-the-art research, technologies, and standards for Internet of Things (IoT). Application domains and architectural components of IoT. Business Aspects. Cyber-physical smart devices and sensor networks. Communication protocols. Cloud computing layer. Application logic, data analytics, and system implementation. ผลลพั ธก ารเรยี นรู Students understand IoT technology and its ecosystem and are able to design and build simple smart devices. 40 คูมือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) CPE 463 การประมวลผลรปู ภาพและการมองเหน็ ดว ยคอมพวิ เตอร 3(3-0-6) (จธวค ๔๖๓) Image Processing and Computer Vision วิชาบงั คับกอ น : MTH 201 เนอ้ื หาวชิ าแนะนำหลกั การของการมองเหน็ โดยคอมพวิ เตอร ซง่ึ รวมถงึ คอมพวิ เตอรก ราฟก ส การประมวลผลภาพ ปญ ญาประดษิ ฐ การมองเหน็ โดยชวี ภาพ ระบบเครอื ขา ยประสาท การจดจำรปู แบบ และการมองเหน็ ของหนุ ยนต แนะนำคอมพวิ เตอรก ราฟก สแ บบสามมติ ิ การประมวลผลภาพประกอบดว ย การหาขอบและเสน การปรบั ปรงุ คณุ ภาพของภาพ การแบง พน้ื ทภ่ี าพ การใชว ธิ แี บบเชงิ เสน แบบไมเ ปน เชิงเสน และแบบสโตคาสติก เพ่ือแกปญหาตา งๆในการประมวลผลภาพ การหารปู ทรงจากภาพสองตา เฉดสี ลวดลาย และสว นอน่ื ๆ หลักการตีความภาพ รปู แบบการรูจ ำวตั ถุ และการจดจำใบหนา This course provides an introduction to the concepts of computer vision touching on areas of computer graphics, image processing, artificial inteligence, biological vision, neural networks, pattern recognition and robot vision. An introduction to 3-D computer graphics. Edge finding, image enhancement, image segmentation, and clustering. Linear, non-linear, and stochastic optimization methods for solving computer vision problems. Stereo vision, shape from shading, and other Shape from X algorithms, scene interpretation, object recognition, and face recognition. ผลลพั ธก ารเรียนรู Use image processing technique to enhance digital images. Apply computer vision techniques to extract data from images. CPE 465 การคนคนื สารสนเทศสื่อประสม 3(3-0-6) (จธวค ๔๖๕) Multimedia Information Retrieval วชิ าบังคบั กอน : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ การประมวลผลอกั ษร การทำตวั ช้ี และการคน คนื สอ่ื ประสมการสรา งฟเ จอร การเลอื กฟเ จอร การทำตวั ช้ี การคนคืน และการปอ นกลบั ทเ่ี กยี่ วขอ ง This course materials include text preprocessing, tokenization, indexing, and retrieval engine. Feature extraction, feature selection, high dimension indexing, retrieval, relevance feedback. ผลลพั ธก ารเรียนรู Understand basic concepts of multimedia information retrieval. 41 คูม อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรขอ มลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) จภขส 101 แนวคดิ ดา นสขุ ภาพและระบบการบรกิ ารสุขภาพ 1(1-0-3) CHHD101 Concepts of Health and Health Care Systems เนื้อหารายวิชากลาวถึง หลักการสุขภาพทั่วไป ปญหาสุขภาพ ระบบการบริการสุขภาพ ความกาวหนาทางดานการแพทยและ การสาธารณสุข This course materials include basic concepts in health, health problem, health care systems, medical and public health progress. ผลลัพธก ารเรยี นรู Students understand basic concept of health and health care systems and follow up on the progress of medical and public health in national level. จภขส 102 กายวิภาคศาสตรและระบบตา งๆของรา งกายสำหรบั วิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ 3(2-2-6) CHHD 102 Introduction to Anatomy and Body Systems for Health Data Science วิชาบังคับกอน : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ ตำแหนง และโครงสรา งของอวยั วะตา ง ๆ ตำแหนง และโครงสรา งของเซลลเ นอ้ื เยอ่ื การแบง ชนดิ ของเนอ้ื เยอ่ื กระดกู กลา มเนอ้ื เซลลเ มด็ เลอื ด ทางเดนิ ของเสน เลอื ดทไ่ี ปเลย้ี งอวยั วะตา งๆ ลกั ษณะทางมหกายวภิ าค จลุ กายวภิ าคของอวยั วะในระบบ ตางๆ สรรี วทิ ยาระบบ This course materials include location and structure of organs, location and structure of tissue, types of tissue, bones, muscles, blood cels, blood circulation of organs, human gross, microscopic anatomy of organs systems, systemic physiology. ผลลัพธก ารเรยี นรู Students understand and are able to identify importance human organs. Students recognize the anatomical structures and explain the physiological functions of body systems. จภขส 103 สขุ ภาพโลกเบ้ืองตน 1(1-0-3) CHHD 103 Introduction to Global Health วชิ าบงั คับกอ น : ไมมี เนื้อหารายวิชากลาวถึง ภาวะของโรค ระบาดวิทยา ความคุมทุน ระบบสุขภาพ ยุทธวิธีในการแทรกแซง โรคระบาดโรคติดตอ จากสัตวสูคน การเขาถึงยา ทรัพยากรบุคคลสำหรับสุขภาพ สุขภาพแมและเด็กการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศภัยพิบัติ นักศึกษาควรมี ความเขา ใจเก่ียวกบั ผลกระทบทางสุขภาพตา ง ๆ รวมทัง้ นโยบายทางสขุ ภาพตา ง ๆ ในการจดั การสุขภาพในระดบั โลก This course materials include the burden of disease, epidemiology, cost-effectiveness, health systems, modes of intervention, pandemic diseases, epidemic diseases, zoonoses, access to pharmaceuticals, human resources for health, maternal and child health, climate change, disaster. 42 คมู อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ผลลัพธการเรยี นรู Students understand various health impact and health policies for global health management. จภขส 104 จรยิ ธรรมในการวจิ ัยทางการแพทยและขอ มลู สขุ ภาพ 1(1-0-3) CHHD 104 Ethics for Medical research and Health Informatics วิชาบงั คับกอ น : ไมมี เนือ้ หารายวชิ าระบุประเดน็ สำคัญดานจรยิ ธรรม ทั้งในแงความปลอดภัยทางขอมูลของผูปวย และแงขอกฎหมายทเี่ กยี่ วของ เชน กฎหมายดานลิขสทิ ธแิ ละสทิ ธิบัตร พระราชบญั ญตั คิ อมพิวเตอร เปน ตน The course materials introduce description of important ethical issues in medical research and health informatics, focusing on health information security and related legal topics i.e. copyright law, patent law, computer act. ผลลัพธการเรียนรู Students understand importance of ethical issues in medical research and health informatics. Students understand sensitiveness of health information. Students aware of consequences of improper information disclosure and law violation. จภขส 201 พนั ธุศาสตรร ะดับโมเลกุลพน้ื ฐาน 3(3-0-6) CHHD 201 Fundamental Molecular Genetics วชิ าบังคบั กอน : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ หลกั การพน้ื ฐานของพนั ธกุ รรมพนั ธกุ รรมระดบั โมเลกลุ ของสง่ิ มชี วี ติ โปรคารโิ อตและยคู ารโิ อต การถา ยทอด ลักษณะทางพันธกุ รรมของส่ิงมีชวี ิต ลกั ษณะจโี นไทปแ ละฟโนไทป โครงสรางของยนี และการควบคมุ การแสดงออกของยีน การแบง เซลล และการเพ่ิมจำนวนดเี อ็นเอ เซ็นทรลั ดอกมา การกลายพันธแุ ละการซอมแซมรหัสพันธุกรรม นกั ศึกษาควรเขาใจหลกั การทางพนั ธุศาสตร พื้นฐานที่จำเปนตอการนำไปใชศึกษาพันธุศาสตรระดับสูง และสามารถประยุกตใชกับสาขาวิชาอื่น ๆ ไดเชน เทคโนโลยีชีวภาพและ วิทยาการคอมพิวเตอร This course materials include the underlying principle of genetics, molecular genetics of prokaryotes and eukaryotes, heredity, genotype and phenotype, gene structure and gene regulation, cel division and DNA replication, Central Dogma, gene mutation and DNA repair. ผลลัพธก ารเรียนรู Students understand solid foundation needed to explore more complex topics and integrate with other subjects such as biotechnology or computer sciences. 43 คมู อื หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) จภขส 202 โรคตดิ ตอ และโรคไมต ิดตอ 3 (3-0-6) CHHD 202 Communicable and Non-communicable Diseases วิชาบงั คับกอ น : ไมม ี เนื้อหารายวิชากลาวถึง จุลชีววิทยาเบื้องตน โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคที่เกิดจากไวรัส ปรสิตและโปรโตซัวเบื้องตน โรคที่ เกดิ จากปรสติ และโปรโตซวั โรคตดิ ตอ จากสตั วส คู น โรคเรอ้ื รงั ตา ง ๆ ปจ จยั เสย่ี งของการเกดิ โรค โรคเบาหวาน โรคระบบสมองและหวั ใจ โรคมะเร็ง โรคทางพันธุกรรม นักศึกษาควรเขาใจและสามารถที่จะอธิบายแนวคิด กลไลการเกิดโรค และพยาธิสภาพของโรคติดตอและ โรคไมตดิ ตอ เบือ้ งตนได และสามารถระบคุ วามสำคญั ของปจจัยเส่ียงตาง ๆ ของแตละโรคได This course provides an introduction to microbiology, bacterial infection diseases, viral infection disease, introduction to parasite and protozoa, parasite and protozoa infection diseases, zoonosis, chronic diseases, risk factor, diabetes, brain and heart diseases, cancer, genetic diseases. ผลลพั ธการเรยี นรู Students understand and are able to explain basic concepts and pathogenesis of communicable and non-communicable diseases and able to identify importance risk factors of each disease. จภขส 203 ชีววทิ ยาเชงิ คำนวณและชีวสารสนเทศเบื้องตน 3(2-2-6) CHHD 203 Introduction to Computational Biology and Bioinformatics วชิ าบงั คับกอน : ไมมี เนื้อหารายวิชากลา วถงึ การวิเคราะหข อมลู ชวี วิทยาเชิงคำนวณโดยใชอัลกอรทิ มึ แบบตางๆ หัวขอท่คี รอบคลุมไดแ ก อัลกอริทึม การวิเคราะหลำดับเบส เชน การเรียงลำดับเบส และทำนาย Open Reading Frame การเปรียบเทียบจีโนมของสิ่งมีชีวิต การทำนาย โครงสรางอารเอ็นเอและโปรตีน การสรางโมเดลและการจำลองความเชื่อมโยงในเชิงชีวภาพ แนะนำฐานขอมูล เว็ปไซต โปรแกรมและ ระบบปฏิบัติการที่จะเปนแหลงขอมูลและมีประโยชน การฝกเขียนโปรแกรมที่มีประโยชนตอการวิเคราะหขอมูลตางๆ (ภาษาไพทอน) พนื้ ฐานท่ใี ชสนับสนุนการวเิ คราะหขอมูลและแกปญหาทางชีววทิ ยาเชิงคำนวณ เชน การถอดรหสั การแปรรหัสดเี อ็นเอ This course materials include data analysis problems and algorithms in computational biology. Various topics in bioinformatics field covering sequence analysis e.g. sequence alignment algorithms, open reading frame (ORF) prediction; comparative genomics; RNA/protein structure prediction; modeling and simulation of biological networks; Public database, website, software and operating systems being data source and helpful will be suggested. It will provide fundamental computer programming skil (in python) currently used to analyze biological data for solving a specific problem such as DNA transcription/translation. ผลลัพธก ารเรียนรู Students understand and are able to perform basic bioinformatic skils. Be able to use appropriate techniques for sequence analysis. 44 คมู อื หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) จภขส 204 หลกั การวนิ ิจฉัยทางคลนิ ิกและการรกั ษา 2(2-0-4) CHHD 204 Principle of Clinical Diagnostic and Therapeutics วิชาบังคับกอ น : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ หลกั การวนิ จิ ฉยั โรคเบอ้ื งตน การเกบ็ ตวั อยา ง วธิ กี ารวนิ จิ ฉยั โรงทางหอ งปฏบิ ตั กิ าร เทคโนโลยรี ะดบั โมเลกลุ การวนิ จิ ฉยั โรคระดบั โมเลกลุ การแปลผลหอ งปฏบิ ตั กิ าร หลกั การรกั ษาโรคเบอ้ื งตน นกั ศกึ ษาควรเขา ใจศพั ทท างการแพทย แนวคดิ พน้ื ฐาน ของการวินจิ ฉยั ทางการแพทย และสามารถทจี่ ะแปลผลโรคเบ้ืองตน จากขอ มลู ทางคลินคิ ได This course materials include the principle of disease diagnostics, sample colection, laboratory diagnostic methods, molecular technologies, molecular diagnostics, interpretation of laboratory results, principle of medical therapeutics. ผลลัพธการเรยี นรู Students understand medical terms and basic concepts ofmedical diagnostics and are able to interpret basic investigation from clinical data. จภขส 301 ชีวสถติ ิ 3(3-0-6) CHHD 301 Biostatistics วิชาบงั คบั กอน : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ ความรพู น้ื ฐานเกย่ี วกบั สถติ ิ วธิ กี ารทางสถติ ใิ นการเกบ็ รวบรวมขอ มลู การนำเสนอและการวเิ คราะหข อ มลู ทางดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ การประมาณประชากร เทคนคิ การสมุ ตวั อยา ง พน้ื ฐานการออกแบบการทดลอง การทดสอบสมมตุ ฐิ าน วิธีการเปรียบเทยี บขอ มลู ทไ่ี มต อ เน่อื งและขอมูลตอ เนื่อง การเปรยี บเทียบคาเฉลย่ี การวเิ คราะหก ารถดถอยและสหสัมพนั ธ การวเิ คราะห ความแปรปรวน ทีเทส สถิติที่ไมใชพารามิเตอร การประยุกตใชโปรแกรมภาษาอารในการวิเคราะหขอมูลนักศึกษาควรจะมีความเขาใจ เกีย่ วกับหลักการพ้นื ฐานของชีวสถิติและการประยุกตใชโ ปรแกรมภาษาอารเพ่ือวิเคราะหข อมูลงานวจิ ยั This course materials include basic statistics, tools for data collection, analysis and present of data in all areas of medical and public health, population estimation, sampling techniques, general principle of study design, hypothesis testing, methods for comparison of discrete and continuous data, comparison of mean, correlation and regression, ANOVA, t-test, non-parametric statistics, implementation of R programming language for data analysis. ผลลพั ธก ารเรยี นรู Students understand the underlying principles of biostatistics and apply R program to analyze research data. 45 คูม ือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อมูลสุขภาพ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอ มูลสขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) จภขส 302 การจดั การการบรกิ ารสขุ ภาพและเศรษฐศาสตรส ขุ ภาพ 2(2-0-4) CHHD 302 Health Care Management and Health Economics วชิ าบงั คบั กอน : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ พน้ื ฐานการจดั การการบรกิ ารสาธารณสขุ การจดั การทรพั ยากรบคุ คลทางการบรกิ ารสขุ ภาพ การจดั การ อยางมีประสิทธิภาพ การจัดการดานการเงิน การจัดการโครงการ การจัดการเชิงกลยุทธและการแกปญหา การจัดการคุณภาพและการ จดั การการเปลย่ี นแปลง การจดั การดา นธรุ กจิ ของการบรกิ ารสขุ ภาพวตั ถปุ ระสงคแ ละขอ จำกดั ของการวเิ คราะหแ ละประเมนิ ผลทางเศรษฐกจิ มุมมองภาครัฐและเอกชนการวิเคราะหตนทุนประสิทธิภาพและประสิทธิผลการลดคาใชจายและการวิเคราะหความคุมคา นักศึกษาควร เขาใจถึงหลักการจัดการการบริการสุขภาพรวมถึงขอจำกัดตาง ๆ รวมทั้งเขาใจถึงหลักการการวิเคราะหและประเมินผลทางเศรษฐกิจ สำหรบั หนว ยงานบรกิ ารสขุ ภาพ This course materials include basic health care management, healthcare human resource management, performance management, financial management, project management, strategic management and problem-solving, quality management and change management, business aspects of health care management, purpose and limitations of economic analysis and evaluation, public and private perspectives, analysis of costs, performance and effectiveness, cost-effectiveness and cost benefit analysis. ผลลัพธการเรียนรู Students understand the principle of health care management along with their limitations and are able to understand principle of economic analysis and evaluation for health care organization. จภขส 303 สมั มนาหัวขอวิทยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ 1(0-2-3) CHHD 303 Seminars in Health Data Science วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี วขิ านเ้ี นน การสรา งทกั ษะเพอ่ื การนำเสนองานวจิ ยั ดา นวทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ นกั ศกึ ษาสามารถอภปิ รายและนำเสนอผลงาน ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ สามารถวิเคราะห และการตงั้ คำถามทางวิชาการกบั หวั ของานวิจยั ที่หลากหลายได This course emphasizes the development of skils in academic presentation in the topic of health data science. ผลลพั ธก ารเรยี นรู Students can provide effective presentation as wel as critical discussion and raise questions on variety of topics. 46 คมู อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) จภขส 304 การแพทยแ มนยำเบ้อื งตน 3(3-0-6) CHHD 304 Introduction to Precision Medicine วชิ าบังคบั กอน : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ แนวคดิ และหลกั การของการแพทยแ มน ยำความรเู รอ่ื งเทคโนโลยกี ารหาลำดบั เบสดเี อน็ เอ และเทคนคิ การ ฟโ นไทป การศกึ ษาจโี นไทปร ะดบั ประชากร ขน้ั ตอนทางคอมพวิ เตอรท ใ่ี ชใ นการแพทยแ มน ยำ การจดั การขอ มลู บก๊ิ ดาตา ความเชอ่ื มโยง ระหวางความผิดปกติทางพันธุกรรมกับสาเหตุของโรค หลักจรรยาบรรณและประเด็นความสังคมที่เกี่ยวของ นักศึกษาควรเขาใจแนวคิด ของการแพทยแ มนยำและติดตามความรเู ก่ียวกบั เทคโนโลยที ีท่ ันสมยั และประเด็นทางสงั คมทีเ่ กี่ยวขอ ง This course materials include the concepts and principle of precision medicine, introduction to DNA sequencing technology and phenotyping techniques, population genotyping approach to precision medicine, computational technique in precision medicine, big data handling, association between genetic alteration and the cause of disease, associated ethical and social issues. ผลลัพธการเรยี นรู Students understand concepts of precision medicine, are able to implement data analytical techniques to solve medical problems and folow up on the most recent technologies and associated social issues. จภขส 305 เทคโนโลยีทางชีววิทยาระดบั โมเลกลุ 3(2-2-6) CHHD 305 Experimental Techniques in Molecular Biology วิชาบงั คบั กอ น : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ พซี อี าร เรยี ลไทมพ ซี อี าร ไมโครอะเรย อเิ ลก็ โตรโฟรซี สิ ไฮบรไิ ดเซชน่ั ของโมเลกลุ การหาลำดบั เบสของ ดีเอ็นเอและอารเอ็นเอ การโคลนนิ่ง มิวแทจีนีซิส เมตาจีโนมิกส จีโนมิกส แมสสเปกโตรเมทรี โปรตีโอมิกส ทรานสคริปโตมิกส และ เมตาบอโลมกิ ส นกั ศึกษาเขา ใจและสามารถอธิบายหลกั การทำงานของเทคโนโลยีทางชีววทิ ยาระดับโมเลกุลตลอดจนการนำไปใชในงาน วจิ ยั ทางดา นชวี วิทยาและงานวิจยั ดานอน่ื ๆ เชน ชีวสารสนเทศ และชีววิทยาระบบ เปนตน This course materials include PCR, real-time PCR, microarray, electrophoresis, molecular hybridization, sequencing technology, cloning, mutagenesis, metagenomics, genomics, mass spectrometry, proteomics, transcriptomics, and metabolomics. ผลลัพธก ารเรียนรู Students understand and are able to explain principle of biotechnology and its applications in biological and other researches such as bioinformatics and system biology. 47 คูมือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรขอ มูลสุขภาพ (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอ มูลสุขภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) จภขส 306 มะเร็งวทิ ยาเบือ้ งตน 3(3-0-6) CHHD 306 Introduction to Oncology วิชาบงั คับกอน : ไมมี เนื้อหารายวิชากลาวถึง ชีววิทยาของมะเร็ง สาเหตุการเกิดโรคมะเร็ง ยีนที่เกี่ยวของกับโรคมะเร็ง ยีนกอมะเร็ง ยีนกดมะเร็ง พฤตกิ รรมทางชวี วทิ ยาของมะเรง็ การควบคมุ วฏั จกั รของเซลลแ ละการทำลายตวั เองของเซลล กระบวนการเปลย่ี นแปลงของเซลล การดำเนนิ โรคและการแพรก ระจายของมะเรง็ นกั ศกึ ษาควรเขา ใจถงึ หลกั การของการกลายพนั ธุ การเกดิ มะเรง็ และลกั ษณะเดน ของโรคมะเรง็ สามารถ ออกแบบงานวิจยั จากความรูม ะเรง็ วทิ ยาพืน้ ฐานได This course materials include tumor biology, causes of cancer, cancer related genes, oncogenes, tumor suppressor genes, biological behavior of tumors, cel cycle control and apoptosis, transformation process, tumor progression and metastasis. ผลลัพธก ารเรยี นรู Students understand the principle of genetic mutation, carcinogenesis and halmark of cancer. Students are able to design research experiments from basic oncology knowledge. จภขส 307 โภชนศาสตรและสขุ ภาพเบอ้ื งตน 3(3-0-6) CHHD 307 Introduction to Nutrition and Health วชิ าบงั คบั กอ น : ไมม ี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถงึ ความสมั พนั ธร ะหวา งสารอาหารกบั ภาวะทพุ โภชนาการระบบการยอ ยอาหาร การใชส ารอาหารในรา งกาย เมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน และเกลือแร น้ำและอิเล็กโตรไลตนักศึกษาควรมีความเขาใจเกี่ยวกับผลของ โภชนาการตอสขุ ภาพ และอธบิ ายกระบวนการทางสรรี วทิ ยาท่เี กย่ี วของได This course materails include relation between nutrients and malnutrition, digestion system, the use of nutrients in the body, metabolism of carbohydrate, protein, fat, vitamins and minerals, water and electrolytes. ผลลัพธก ารเรียนรู Students understand the effects of nutrition on health and are able to explain physiology behind the phenomenon. จภขส 308 จลุ ชวี วิทยาทางการแพทย 3(3-0-6) CHHD308 Clinical microbiology วชิ าบังคบั กอน : ไมมี เนอ้ื หารายวชิ ากลา วถึงคณุ ลักษณะของจุลชพี เชอ้ื แบคทีเรียท่กี อ โรคในมนุษย เชอื้ ไวรัสทกี่ อโรคในมนุษย การกอโรค การวิเคราะห และวินจิ ฉัยทางหองปฏบิ ตั กิ าร การแพรกระจายและการควบคมุ การเกดิ โรคยาปฏชิ วี นะกระบวนการดอ้ื ยาของเชื้อ นกั ศึกษาควรทจ่ี ะสามารถ อธิบายลกั ษณะจำเพาะของเช้อื จลุ ชพี ตาง ๆ จากผลทางหองปฏบิ ัติการได อธบิ ายการเกิดโรคจากเชือ้ จลุ ชีพตาง ๆ และเขา ใจถงึ กระบวนการ ด้ือยาของเชอ้ื จลุ ชพี 48 คมู ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2561) This course materials include characteristics of the microorganisms, pathogenic bacteria, pathogenic virus, pathogenesis, laboratory identification and diagnosis, spread and control of the infections and/or disease, antimicrobial agents, antibiotic resistance mechanisms. ผลลัพธก ารเรยี นรู Students are able to explain specific characteristics of microbes from laboratory data, explain their pathogenesis, and antibiotic resistance mechanismsof microbes. จภขส 309 พษิ วทิ ยาสง่ิ แวดลอม 3(3-0-6) CHHD 309 Environmental Toxicology วิชาบงั คบั กอน : ไมม ี เนื้อหารายวิชากลาวถึง ความรูเกี่ยวกับสารพิษที่มนุษยและสัตวไดรับจากอาหารและสิ่งแวดลอม,สารพิษจากเชื้อราสารเคมีจาก อตุ สาหกรรมสารเคมจี ากการเกษตรมลพษิ รงั สกี ารกระจายตวั ของสารพษิ ในสง่ิ แวดลอ มการคงอยขู องสารพษิ ในสง่ิ มชี วี ติ อาการของพษิ ใน มนษุ ยน กั ศกึ ษาควรจะเขา ใจหลกั การของพษิ วทิ ยาและคำนยิ ามทเ่ี กย่ี วขอ ง สามารถอธบิ ายประเภทของการสมั ผสั และผลขา งเคยี งของพษิ จากส่ิงแวดลอมตอสขุ ภาพของมนุษย This course provide knowledge of toxic substances encountered by man and animals through food and environment, mycotoxins, industrial chemicals, agricultural chemicals, polutants, radiation, distribution of toxic in the environment, toxic manifestation in living organisms, toxic syndrome in humans. ผลลพั ธการเรียนรู Students understand principle of toxicology and associated terms. Students are able to explain exposure types and adverse effects of environmental toxicants to human health. 49 คูม อื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อมลู สขุ ภาพ (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ 906 ถนนกำแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลกั สี่ กทม. 10210 โทร 02-576-6000 วนั เวลาทำการ ทุกวันจันทร – ศุกร ต้ังแตเ วลา 08.00 – 16.00 น. ยกเวน วันหยุดนักขตั ฤกษ Facebook Scan QR Website Scan QR


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook