หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ Bachelor of Science Program in Human Kinetics and Health คณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ
หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปรชั ญา หลกั สตู รนม้ี งุ สรา งบคุ ลากรดา นวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพทเ่ี ปน ทง้ั นกั วชิ าการทม่ี คี วามรู ความสามารถ และนกั ปฏบิ ตั ิ การทม่ี ที กั ษะปฏบิ ตั สิ ามารถประยกุ ตอ งคค วามรดู า นวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพทม่ี คี ณุ ภาพ อยา งมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ใฝเ รียนรูตลอดชีวติ และมจี ติ สาธารณะ วัตถุประสงค 1. เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี วามรสู หวทิ ยาการ ทง้ั อา นองคค วามรแู ละฝก ปฏบิ ตั กิ ารเกย่ี วกบั การเคลอ่ื นไหวของมนษุ ย การออกกำลงั กาย สมรรถนะทางกาย ทส่ี งผลกระทบตอ สขุ ภาพ 2. เพอ่ื พฒั นาความรู ทกั ษะและบรู ณาการสปู ฏบิ ตั กิ ารทเ่ี กย่ี วขอ งกบั กจิ กรรมทางกาย การสรา งเสรมิ สขุ ภาพในสงั คม การปอ งกนั โรคเรอ้ื รงั และการปรบั ปรงุ สขุ ภาพรา งกายดว ยการออกกำลงั กาย ทเ่ี ปน ไปตามความตอ งการของประชากรกลมุ ตา งๆของประเทศ 3. เพื่อผลิตบัณฑิต ที่มีความเขาใจ ถึงความเชื่อมโยงและความสำคัญระหวางการปฏิบัติงานกับการวิจัยทางดานวิทยาศาสตร การเคล่อื นไหวและสขุ ภาพกับศาสตรส าขาอืน่ ๆได 4. เพื่อสรางบัณฑิตที่มีเจตคติ ทักษะ ความรูและคุณธรรม จิตสาธารณะตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคที่กำหนดไว ในมาตราฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปริญญาตรี ชอ่ื หลักสูตร หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ Bachelor of Science Program in Human Kinetics and Health • ภาษาไทย • ภาษาอังกฤษ ชอื่ ปริญญา • ชือ่ ภาษาไทย วิทยาศาสตรบณั ฑิต (วิทยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ) • ชือ่ ภาษาองั กฤษ Bachelor of Science (Human Kinetics and Health) • อักษรยอภาษาไทย วท.บ. (วิทยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ) • อักษรยอ ภาษาอังกฤษ B.Sc. (Human Kinetics and Health) รปู แบบของหลกั สูตร • รูปแบบ หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ป • ประเภทของหลักสูตร หลักสตู รปรญิ ญาตรีทางวิชาการ • ภาษาท่ใี ช ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ •การรบั เขา ศึกษา รบั เฉพาะนักศึกษาไทยและนักศกึ ษาตางชาติท่สี ามารถใชภ าษาไทยไดเปน อยางดี สามารถสือ่ สาร ภาษาไทยและภาษาองั กฤษไดทง้ั การพูด อาน เขยี น 2 คูม อื หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสุขภาพ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ ระบบการจัดการศึกษา เปนระบบทวิภาค ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของกระทรวง ระบบ ศกึ ษาธกิ าร โดย 1 ปก ารศกึ ษาแบง ออกเปน 2 ภาคการศกึ ษา โดย 1 ภาคการศกึ ษา ปกตมิ รี ะยะเวลาการศึกษาไมน อ ยกวา 15 สปั ดาห การจัดการศึกษาภาคฤดรู อ น อาจจัดใหม ีการเรยี นการสอนในภาคฤดรู อน การเทียบเคียงหนวยกติ ในระบบทวภิ าค ไมม ี การดำเนินการหลกั สตู ร วัน-เวลาในการดำเนนิ การเรยี นการสอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื น สิงหาคม – ธนั วาคม ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือน มกราคม – พฤษภาคม ในวนั -เวลาราชการปกติ หรือบางรายวชิ าอาจจัดการเรยี นการสอนวนั เสารและอาทติ ย อาชพี ท่สี ามารถประกอบไดห ลังสำเรจ็ การศกึ ษา 1. นักวิทยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ 2. นกั วจิ ัยดานวิทยาศาสตรก ารเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ 3. ผูใ หค ำปรึกษาแนะนำดานการออกกำลังกายในสถานประกอบการ 4. พนักงานในภาครฐั และเอกชนที่เก่ยี วขอ งกับงานวทิ ยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ 5. อาจารยใ นสถาบนั การศึกษา 6. ผปู ระกอบอาชพี อิสระทางดา นการออกกำลังกาย ความหมายของรหัสวชิ า รายวชิ าทเ่ี ปด สอนในหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพประกอบดว ยตวั อกั ษร 4 ตำแหนง และตวั เลข 3 ตำแหนง ดังรายละเอียดดงั ตอ ไปนี้ 1. อักษรยอนำหนา ตัวเลขในหลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิทยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ มีความหมาย ดังน้ี อกั ษร 4 ตัวเขยี นตอ เนอ่ื งกนั อักษร 2 ตัวแรก คอื จภ/CH หมายถึง ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ อักษร 2 ตัวหลงั คือ กลุมวิชา ศท/GE หมายถงึ กลุมวิชาศึกษาทัว่ ไป (General Education) มส/HS หมายถึงกลุม วิชามนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร (Humanities and Social Science) ภท/TH หมายถงึ กลุมวิชาภาษา ภอ/EN หมายถึงกลุมวิชาภาษา 3 คูมอื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสุขภาพ วศ/SC หมายถงึ กลุมวชิ าวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร ฟส/PY หมายถึงกลุมวิชาวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร คม/CH หมายถงึ กลุมวชิ าวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร คณ/MA หมายถงึ กลมุ วชิ าวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร 2. ตัวเลข 3 ตำแหนง ในรายวิชาหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ มคี วามหมาย ดังน้ี เลขหลกั รอย หมายถึง ปที่ศึกษา เลข 1 หมายถงึ รายวชิ าทจ่ี ดั สอนในหลกั สูตรชั้นปท่ี 1 เลข 2 หมายถึง รายวิชาที่จัดสอนในหลักสตู รช้ันปท ี่ 2 เลข 3 หมายถงึ รายวชิ าทีจ่ ัดสอนในหลักสตู รชั้นปท ่ี 3 เลข 4 หมายถงึ รายวิชาที่จดั สอนในหลักสตู รช้นั ปที่ 4 เลขหลักสิบ หมายถงึ หมวดวชิ าทศ่ี ึกษา เลข 0-1 หมายถึง หมวดวชิ าพ้ืนฐาน เลข 2-6 หมายถงึ หมวดวชิ าเอก เลข 7-9 หมายถงึ หมวดวิชาเลือกเสรี เลขหลักหนว ย หมายถึง ลำดบั รายวชิ า ตัง้ แต 0-9 รหสั แสดงจำนวนหนวยกติ ประจำวิชา กำหนดเปนตัวเลข ดังน้ี ตวั เลขหนาวงเลบ็ หมายถงึ จำนวนหนวยกิตของรายวิชา ตวั เลขในวงเลบ็ มี 3 ตัว คนั่ ดวยเครื่องหมาย – ตวั เลขแรกในวงเล็บ หมายถงึ จำนวนชว่ั โมงภาคบรรยายตอ สปั ดาห ตัวเลขกลางในวงเล็บ หมายถึง จำนวนช่วั โมงภาคปฏิบตั ติ อ สัปดาห ตัวเลขหลงั ในวงเลบ็ หมายถึง จำนวนชวั่ โมงศึกษาคน ควา ดว ยตวั เองตอ สปั ดาห โครงสรา งหลกั สตู ร จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลกั สตู ร ไมนอยกวา 120 หนว ยกิต 1. หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป 30 หนว ยกติ 1.1 กลมุ วชิ ามนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร 14 หนวยกิต 1.2 กลุมวชิ าภาษา 9 หนวยกิต 1.3 กลุม วชิ าวิทยาศาสตร คณิตศาสตร 7 หนว ยกติ 4 คูมือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสุขภาพ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ
หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ 2. หมวดวิชาเฉพาะ 84 หนว ยกติ 2.1 วชิ าพ้นื ฐาน 20 หนว ยกติ 2.2 วชิ าเอก 64 หนว ยกติ 2.2.1 วชิ าเอกบังคบั 56 หนวยกติ 2.2.2 วชิ าเอกเลือก 8 หนว ยกิต 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน อยกวา 6 หนวยกติ แสดงแผนการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาปท ่ี 1-4 แผนการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาในหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ ในแตล ะภาคเรยี น ของปก ารศกึ ษา ดงั นี้ ปท ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (First Semester) หมวดวชิ า ศกึ ษาท่ัวไป หนวยกติ จภศท 101 การศกึ ษาทวั่ ไปเพ่อื การพฒั นามนุษย* CHGE 101 General Education for Human Development (ทฤษฎี-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) จภศท 102 สังคมศึกษาเพอ่ื การพัฒนามนษุ ย* CHGE 102 Social Studies for Human Development 2 (1-2-3) จภศท 103 ศลิ ปวทิ ยาการเพ่ือการพัฒนามนุษย* 3 (2-2-5) CHGE 103 Science of Arts for Human Development 2 (1-2-3) จภภท 101 ศิลปะการใชภ าษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร* 3 (2-2-5) CHTH 101 Arts of Using Thai Language in Communication 3 (2-2-5) จภภอ 101-104 ภาษาองั กฤษ ระดบั x** 6 หนวยกติ CHEN 101-104 English Level x** วชิ าศึกษาท่วั ไปกลมุ วิชามนษุ ยศาสตร สงั คมศาสตร จำนวนหนว ยกิตรวม 19 หนว ยกิต หมายเหตุ * รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป จภศท 101 และจภศท 102 ลงทะเบยี นเรยี นภาคการศกึ ษาตน จภศท 103 และ จภภท 100 ลงทะเบยี นเรยี นภาคการศกึ ษา ปลายแตน กั ศกึ ษาตอ งเรยี นทง้ั 4 รายวชิ าทง้ั ภาคตน และภาคปลายตลอดปก ารศกึ ษา ** รายวชิ าภาษาองั กฤษ ลงทะเบยี นเรยี นตามระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษา 5 คมู อื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสุขภาพ หมวดวิชา ปท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (Second Semester) หนวยกติ จภศท 101 CHGE 101 ศกึ ษาทัว่ ไป (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) จภศท 102 การศกึ ษาทว่ั ไปเพอ่ื การพัฒนามนษุ ย* CHGE 102 General Education for Human Development 3 (2-2-5) จภศท 103 สงั คมศกึ ษาเพ่อื การพฒั นามนุษย* 3 (3-0-6) CHGE 103 Social Studies for Human Development 1 (1-0-2) จภภท 100 ศลิ ปวทิ ยาการเพือ่ การพฒั นามนษุ ย* 4 หนว ยกติ CHTH 100 Science of Arts for Human Development จภภอ 101-104 ศลิ ปะการใชภ าษาไทยเพื่อการสื่อสาร* CHEN 101-104 Arts of Using Thai Language in Communication จภฟส 104 ภาษาองั กฤษ ระดับ x** CHPY 104 English Level x** จภมส 101 ฟส ิกสเบื้องตนสำหรบั วิทยาศาสตรส ขุ ภาพ CHHS 101 Elementary Physics for Health Sciences การใชท รัพยากรหองสมดุ The Use of Library Resources วิชาศกึ ษาทั่วไปกลมุ วิชาวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร จำนวนหนว ยกติ รวม 11 หนวยกติ หมายเหตุ * รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป จภศท 101 และจภศท 102 ลงทะเบยี นเรยี นภาคการศกึ ษาตน จภศท 103 และ จภภท 100 ลงทะเบยี นเรยี นภาคการศกึ ษา ปลาย แตน กั ศกึ ษาตอ งเรยี นทง้ั 4 รายวชิ าทง้ั ภาคตน และภาคปลายตลอดปก ารศกึ ษา ** รายวชิ าภาษาองั กฤษ ลงทะเบยี นเรยี นตามระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษา 6 คมู อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสุขภาพ หมวดวิชา ปท ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 (First Semester) หนว ยกิต จภวค 200 CHHK 200 กายวภิ าคศาสตร (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) จภวค 201 Human Anatomy CHHK 201 สรรี วทิ ยา 3 (2-3-5) จภวค 202 Human Physiology 3 (2-2-5) CHHK 202 ภาษาอังกฤษสำหรับวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสุขภาพ 2 (2-0-4) จภวค 203 English for Human Kinetics and Health 2 (2-0-4) CHHK 203 มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2 (2-0-4) จภวค 220 Professional Standard and Ethics 2 (1-2-3) CHHK 220 พัฒนาการทางกายและการเคลือ่ นไหวตลอดชว งชวี ิต 3 หนว ยกติ จภวค 222 Physical and Motor Development through Lifespan CHHK 222 การทดสอบและเสริมสรา งสมรรถภาพทางกาย Physical Fitness Testing and Conditioning เลอื กเสรี Free Elective จำนวนหนว ยกิตรวม 17 หนวยกติ 7 คมู อื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสุขภาพ หมวดวิชา ปท ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 (Second Semester) หนว ยกติ จจภวค 204 CHHK 204 ชีวเคมเี บือ้ งตนสำหรับวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ (ทฤษฎี-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดวยตนเอง) จภวค 205 Introduction to Biochemistry for Health Sciences CHHK 205 หลักการเคลอื่ นไหวของมนุษย 3 (3-0-6) จภวค 206 Principles of Human Movement 3 (3-0-6) CHHK 206 การปฐมพยาบาลและการกชู ีพขั้นพนื้ ฐาน 2 (1-2-3) จภวค 221 First Aids and Basic Life Support 2 (2-0-4) CHHK 221 จติ วิทยาพฤตกิ รรมทางสุขภาพ 2 (1-2-3) จภวค 223 Health Behavioral Psychology 2 (1-2-3) CHHK 223 การควบคุมและพฒั นาทักษะการเคล่อื นไหว 3 (2-2-5) จภวค 224 Motor Control and Development 2 หนวยกิต CHHK 224 พน้ื ฐานของการออกกำลงั กาย กีฬา และกิจกรรมทางกาย จภวค 225 Foundations of Exercise, Sport and Physical Activity CHHK 225 สรรี วิทยาการออกกำลงั กาย Exercise Physiology เลือกเสรี Free Elective จำนวนหนวยกติ รวม 19 หนว ยกิต 8 คูมือหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสุขภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสุขภาพ ปท ่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 (First Semester) หนวยกิต (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) หมวดวิชา ความรูเ บื้องตนในการจดั การสถานประกอบการ 2 (2-0-4) จจภวค 320 Introduction to Workplace Management 2 (2-0-4) CHHK 320 วิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพในระบบของรางกายมนษุ ย 1 2 (2-0-4) จภวค 321 Human Kinetics and Health in Human Body System 1 2 (1-2-3) CHHK 321 วทิ ยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพในระบบของรางกายมนษุ ย 2 2 (1-2-3) จภวค 322 Human Kinetics and Health in Human Body System 2 2 (1-2-3) CHHK 322 ชวี กลศาสตร 1 (0-2-1) จภวค 327 Biomechanics 4 หนวยกิต CHHK 327 การออกแบบการออกกำลังกายและการประเมนิ 1 หนว ยกติ จภวค 328 Exercise Prescription and Evaluation CHHK 328 การออกกำลงั กายในนำ้ จภวค 329 Aquatic Exercise CHHK 329 กิจกรรมเขาจังหวะ จภวค 332 Rhythmic Activities CHHK 332 เอกเลอื ก Major Elective เลอื กเสรี Free Elective จำนวนหนว ยกติ รวม 18 หนวยกติ 9 คมู อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสุขภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปที่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (Second Semester) หนว ยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดว ยตนเอง) หมวดวิชา สถิติและระเบียบวิธีวิจัย 2 (1-2-3) จภวค 300 Statistics and Research Methodology 2 (2-0-4) CHHK 300 วิทยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพในระบบของรา งกายมนุษย 3 2 (2-0-4) จภวค 323 Human Kinetics and Health in Human Body System 3 2 (2-0-4) CHHK 323 วิทยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสุขภาพในระบบของรางกายมนษุ ย 4 2 (2-0-4) จภวค 324 Human Kinetics and Health in Human Body System 4 2 (1-2-3) CHHK 324 โภชนาการพ้ืนฐานของการออกกำลงั กายและการกีฬา 2 (1-2-3) จภวค 325 Fundamentals of Exercise and Sports Nutrition 2 หนว ยกิต CHHK 325 เภสชั วทิ ยาสำหรับวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ จภวค 326 Pharmacology for Human Kinetics and Health CHHK 326 การฝกการเคลอื่ นไหวในชีวิตประจำวัน จภวค 330 Functional Movement Training CHHK 330 นวตั กรรมดา นวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ จภวค 331 Innovation for Human Kinetics and Health CHHK 331 เอกเลอื ก Major Elective จำนวนหนว ยกิตรวม 16 หนว ยกิต 10 คูม อื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพ หมวดวชิ า ปที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูรอน (Summer Semester) หนว ยกติ จภวค 334 CHHK 334 วชิ าเอกบังคบั (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) การฝกงาน 1 หมวดวิชา Field Work 1 3(0-15-0) จภวค 420 CHHK 420 จำนวนหนวยกติ รวม 3 หนวยกติ หนว ยกิต จภวค 421 CHHK 421 ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 (First Semester) (ทฤษฎี-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดวยตนเอง) จภวค 422 CHHK 422 วชิ าเอกบังคับ 2 (2-0-4) จภวค 423 การสัมมนาทางวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ 2 (1-2-3) CHHK 423 Seminar in Human Kinetics and Health 2 (1-2-3) การเปน ผฝู กสว นบคุ คล 3 (0-15-0) Personal Trainer 2 หนวยกิต การบาดเจบ็ ทางการออกกำลังกายและการกีฬา Exercise and Sport Injuries การฝก งาน 2 Field Work 2 เอกเลือก Major Elective จำนวนหนวยกติ รวม 11 หนว ยกิต 11 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพ หมวดวิชา ปท ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (Second Semester) หนวยกติ จภวค 424 CHHK 424 เอกบงั คับ (ทฤษฎี-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว ยตนเอง) การฝก งาน 3 Field Work 3 6(0-30-0) จำนวนหนวยกติ รวม 6 หนว ยกิต หมายเหตุ : นกั ศกึ ษาทกุ คนตอ งผา นการทำวจิ ยั ในโครงงานวจิ ยั เฉพาะเรอ่ื งสำหรบั วทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ (Senior project) คำอธบิ ายรายวิชา 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1. กลุมวิชามนุษยศาสตร สังคมศาสตร 14 หนวยกิต จภศท 101 การศกึ ษาท่ัวไปเพอื่ การพฒั นามนษุ ย 2 (1-2-3) CHGE 101 General Education and Human Development วิชาทีต่ อ งศึกษากอน : วชิ าท่ีตอ งเรยี นพรอ มกนั : จภศท 102 สงั คมศกึ ษาเพื่อการพัฒนามนุษย จภศท 103 ศลิ ปวิทยาการเพ่อื การพัฒนามนุษย ความหมาย ความสำคญั และความสมั พนั ธข องวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปกบั วชิ าชพี / วชิ าเฉพาะ ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธร ะหวา งพฤตกิ รรม กบั คณุ สมบตั ขิ องจติ ใจ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห สงั เคราะหอ ยา งมวี จิ ารณญาณ คณุ สมบตั ขิ องบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงค การวเิ คราะห เหตุปจจัยและผลกระทบของเหตุการณ / สถานการณ / ปญหา และการสังเคราะหแนวทางแกไข ปองกันปญหา หรือปรับปรุงพัฒนา เหตุการณ / สถานการณ เพือ่ คุณประโยชนต อ ตนเอง ผอู ่ืน และสังคม การประยุกตความรเู พ่อื เสนอแนวทางแกไขปญ หากรณีศกึ ษา The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational / specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. 12 คูม อื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพ จภศท 102 สังคมศึกษาเพ่อื การพฒั นามนษุ ย 3 (2-2-5) CHGE 102 Social Studies for Human Development วชิ าทีต่ องศกึ ษากอ น : วชิ าที่ตองเรียนพรอ มกัน : จภศท 101 การศึกษาท่ัวไปเพอ่ื การพฒั นามนุษย จภศท 103 ศิลปวิทยาการเพ่อื การพัฒนามนษุ ย หลกั การและทฤษฎพี น้ื ฐานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั สถานการณ / เหตกุ ารณ / ปญ หาทส่ี ำคญั ของสงั คมไทยและสงั คมโลก อาทิ วฒั นธรรม ของอารยธรรมและเหตกุ ารณส ำคญั ในประวตั ศิ าสตร ระบบการเมอื งการปกครอง ระบบเศรษฐกจิ ระบบสขุ ภาพ การวเิ คราะหเ หตปุ จ จยั และ ผลกระทบของเหตกุ ารณ / สถานการณ / ปญ หา และการสงั เคราะหแ นวทางแกไ ข ปอ งกนั ปญ หา หรอื แนวทางปรบั ปรงุ พฒั นาเหตกุ ารณ / สถานการณ เพ่อื คุณประโยชนตอ ตนเอง ผูอื่น และสังคม การประยุกตความรเู พอ่ื เสนอแนวทางแกไขปญ หากรณีศกึ ษา Basic principles and theory in relation to events / situations / major problems of the Thai and global communities, for example,evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems,etc.; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. จภศท 102 สงั คมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย 3 (2-2-5) CHGE 102 Social Studies for Human Development วชิ าทต่ี อ งศึกษากอน : วชิ าท่ีตองเรียนพรอ มกัน : จภศท 101 การศึกษาทัว่ ไปเพื่อการพฒั นามนษุ ย จภศท 103 ศิลปวิทยาการเพ่ือการพัฒนามนษุ ย หลกั การและทฤษฎพี น้ื ฐานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั สถานการณ / เหตกุ ารณ / ปญ หาทส่ี ำคญั ของสงั คมไทยและสงั คมโลก อาทิ วฒั นธรรม ของอารยธรรมและเหตกุ ารณส ำคญั ในประวตั ศิ าสตร ระบบการเมอื งการปกครอง ระบบเศรษฐกจิ ระบบสขุ ภาพ การวเิ คราะหเ หตปุ จ จยั และ ผลกระทบของเหตกุ ารณ / สถานการณ / ปญ หา และการสงั เคราะหแ นวทางแกไ ข ปอ งกนั ปญ หา หรอื แนวทางปรบั ปรงุ พฒั นาเหตกุ ารณ / สถานการณ เพ่ือคุณประโยชนตอ ตนเอง ผอู ื่น และสงั คม การประยกุ ตความรเู พือ่ เสนอแนวทางแกไขปญ หากรณศี ึกษา Basic principles and theory in relation to events / situations / major problems of the Thai and global communities, for example,evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems,etc.; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. 13 คูม ือหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพ จภศท 103 ศลิ ปวทิ ยาการเพอื่ การพัฒนามนษุ ย 2 (1-2-3) CHGE 103 Science of Arts for Human Development วิชาที่ตอ งศกึ ษากอน : วิชาท่ตี องเรยี นพรอ มกัน : จภศท 101 การศึกษาทว่ั ไปเพ่ือการพัฒนามนษุ ย จภศท 102 สังคมศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนามนษุ ย มนุษยภาพในอดีต ปจ จุบนั และอนาคต เหตุการณ / สถานการณ / ปญหาเก่ียวกบั วิวฒั นาการทส่ี ำคัญทางดา นศลิ ปวทิ ยาการ ของประเทศไทยและของโลก แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง การวเิ คราะหเ หตปุ จ จยั และผลกระทบของเหตกุ ารณ / สถานการณ / ปญ หา และ การสงั เคราะหแ นวทางแกไ ข ปอ งกนั ปญ หา หรอื แนวทางปรบั ปรงุ พฒั นาเหตกุ ารณ / สถานการณ เพอ่ื คณุ ประโยชนต อ ตนเอง ผอู น่ื และ สงั คม การประยุกตความรูเพือ่ เสนอแนวทางแกไขปญ หากรณีศึกษา Humankind in the past, present and future; events / situations / problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. จภมส 101 การใชท รพั ยากรหอ งสมุด 1 (1-0-2) CHHS 101 The Use of Library Resources วชิ าท่ีตอ งศกึ ษากอ น : ประวตั แิ ละพฒั นาการของหอ งสมดุ ทง้ั ในประเทศไทยและตา งประเทศ แนะนำสารสนเทศของหอ งสมดุ และทรพั ยากรของหอ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ระบบการจดั เกบ็ และการจำแนกหมวดหมชู น้ั แนะนำ การสบื คน ทรพั ยากรหอ งสมดุ ดว ยระบบ Web OPAC การสบื คน วารสาร การสืบคน สารสนเทศข้นั แนะน การเขียนเอกสารอางองิ ดานวทิ ยาศาสตรและสังคมศาสตร History and development of library in domestic and international, introduction to information and resources of Mahidol University library, introduction to library cataloging and classification, searching library resources using Web OPAC system; searching journals, introduction to information searching; writing scientific and social science references. 14 คูม อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลือ่ นไหวและสุขภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ
หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ จภมส 102 ศลิ ปะการดำเนินชวี ิต 2 (1-2-3) CHHS 102 Art of Living วิชาทตี่ อ งศกึ ษากอน : ความเขาใจธรรมชาติและความจริงแหงโลกและชีวิต ความสัมพันธเชื่อมโยงแหงสรรพสิ่ง การรูจักตนเอง การเขาใจผูอื่น การเปลย่ี นแปลงและพฒั นาดา นในสชู วี ติ ทส่ี มดลุ และมคี วามสขุ การปฏบิ ตั ภิ าวนาในชวี ติ ประจำวนั การพฒั นาภาวะผนู ำ การทำงานและ การสอ่ื สารอยา งสนั ติ จติ สำนกึ สาธารณะ กระบวนการกลมุ และการเรยี นรผู า นประสบการณต รงจากกจิ กรรมทง้ั ในและนอกชน้ั เรยี นพรอ ม แลกเปลี่ยนเรยี นรูผ า นการถอดบทเรยี น การสำรวจและออกแบบเสน ทางการเรยี นรูรว มกนั Understanding nature and the truth of earth and life, connection of everything, knowing oneself, understanding others, inner transformation and development to balanced ways of life and happiness, Bhavana or principle of development in everyday life, leadership development, peaceful working and communicating, public awareness, group process and learning through one’s direct experience from both inside-and-outside classroom activities and sharing to others, course surveying and designing altogether. จภมส 103 ธรรมะในชีวติ ประจำวัน 2 (1-2-3) CHHS 103 Dhamma in Everyday Life วิชาทตี่ องศึกษากอ น : ชีวิตและสัจธรรมแหงชีวิต หลักการฝกสมาธิและการพัฒนาจิต คุณคาและความหมายของหลัก ศาสนธรรมที่หลากหลายเชิง เปรียบเทียบ การประยุกตธรรมกับการดำเนินชีวิตประจำวัน ไดแก การลดละกิเลส การทำงาน ความสัมพันธระหวางบุคคล ความรัก ชีวิตและความตาย การเมืองการปกครอง วิทยาศาสตรและสิ่งแวดลอม การทำงานดานจิตอาสา ฯลฯ กระบวนการกลุมและการเรียนรู ผานประสบการณตรงจากกิจกรรมทั้งในและนอกชั้นเรียนพรอมแลกเปลี่ยนเรียนรูผานการถอดบทเรียน การสำรวจและออกแบบเสนทาง การเรียนรรู วมกนั Life and truth of life, principles of meditation and mind development, values and meanings of comparative religious principles, application of Dhamma in decreasing defilements, working, interpersonal relationship, love, life and death, politics, science, environment, volunteer spirit etc., group process and learning through one’s direct experience from both inside- and-outside classroom activities and sharing to others, course surveying and designing altogether. 15 คูมอื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ
หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคล่ือนไหวและสุขภาพ จภมส 104 สขุ ภาพเพอื่ ชวี ิต 2 (1-2-3) CHHS 104 Health for Life วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอ น : แนวคิดและหลักการสุขภาพเชิงบูรณาการและองครวม คุณคา ความหมาย และความเชื่อมโยงระหวางสุขภาพเชิงบูรณาการ และองคร วมกบั วถิ ชี วี ติ และสงั คมทห่ี ลากหลาย การประยกุ ตส หวทิ ยาการเพอ่ื สง เสรมิ สขุ ภาพทางกาย จติ สงั คม และปญ ญาเชงิ บรู ณาการ และองครวมอยางสรางสรรค กระบวนการกลุมและการเรียนรผู านประสบการณตรงจากกิจกรรมทง้ั ในและนอกช้นั เรียนพรอ มแลกเปลีย่ น เรียนรผู านการถอดบทเรียน การสำรวจและออกแบบเสน ทางการเรียนรูร ว มกนั Concepts and principles of integral and holistic health, values, meaning and connection between integrated and holistic health among different lifestyles and society, application of interdisciplinary learning for integrated, holistic and creative health promotion, group process and learning through one’s direct experience from both inside-and-outside classroom activities and sharing to others, course surveying and designing altogether. จภมส 105 จิตตปญญาศกึ ษากบั การพฒั นาภาวะผนู ำ 2 (1-2-3) CHHS 105 Contemplative Education and Leadership Development วชิ าทีต่ อ งศกึ ษากอน : แนวคิดความเปนผูนำ กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาศักยภาพความเปนผูนำ การรูจักตนเอง เขาใจผูอื่น กระบวนการกลุม การเปลีย่ นแปลงมิตภิ ายในสวู ถิ ีชวี ติ ที่สมดุลและมคี วามสุข การสรางความเปล่ียนแปลงใหเกิดขึ้นในระดับบคุ คล องคกร และสงั คม Leadership concepts, learning process for leadership development, knowing oneself, understanding others, group process, inner transformation to balancing way of life and happiness, the creation of transformation at the personal, organization and social levels. จภมส 106 ทกั ษะการใชช วี ิตสมยั ใหม 2 (2-0-4) CHHS 106 Life Skil of Modern Living วชิ าท่ีตองศึกษากอ น : วถิ ชี วี ติ ในสงั คมยคุ ใหม ผลกระทบของสงั คมยคุ ใหมต อ ชวี ติ ทางกาย ทางสงั คม และสขุ ภาพทางจติ ปญ หา (ทกุ ข) จากการใชช วี ติ ของคนในยุคใหม (การบริโภค สิ่งแวดลอม ความเครียด ความวาเหว โดดเดี่ยว การพึ่งพิงวัตถุภายนอก ความกาวราว ความสับสน ฟงุ ซา นของจติ การขาดเปา หมายในชวี ติ ) มลู เหตุ (สมทุ ยั ) ของวกิ ฤตชิ วี ติ ในสงั คมยคุ ใหม หลกั ของการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คมยคุ ใหมอ ยา ง สงบสุข (นิโรธ) ทักษะและเทคนิคการใชชีวิตที่มีดุลยภาพและเปนสุขในทามกลางการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสังคม (มรรค) เชน การสมาธิ ภาวนา การเจรญิ สติ การออกกำลงั กายอยา งรเู หน็ (โยคะ ไทเกก็ ) การสรา งสงั คมกลั ยาณมติ ร ทกั ษะการอยรู ว มกบั ผอู น่ื อยา ง มสี มานฉนั ทโ ดยสามารถยอมทนตอ ความแตกตา งได ความสามารถในการแสวงหาและเลอื กบรโิ ภคขอ มลู และการเปน สมาชกิ ทร่ี บั ผดิ ชอบ และมีจติ สำนกึ ในสังคมสาธารณะ 16 คูม อื หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสุขภาพ Living in modern age; impacts of modern life on physical, social and mental health; sufferings (Dukka) of people of the modern age (consumerism, environmental threats, stress, loneliness, alienation, material dependency, aggressiveness, confusion, bewilderment, lack of life goal); causes (Samudaya) of life crisis in the modern age; principles (Nirodha) of how to have a peaceful and happy living in the modern society; Skills and techniques (Magga) for pursuing a balanced and happy life amid rapid societal changes such as meditation, mindful exercise techniques (Yoga, Ta-chi), building a goodwil society; skils of how to live with other people with harmony and tolerance of differences; ability to choose and consume information; being responsible and engaged members of society with public mind. จภมส 107 จติ วทิ ยาทั่วไป 2 (2-0-4) CHHS 107 General Psychology วิชาที่ตองศึกษากอน : แนวคดิ และทฤษฎที างจติ วทิ ยา การรบั รู แรงจงู ใจ การเรยี นรู บคุ ลกิ ภาพ อารมณ ทศั นคติ สขุ ภาพจติ การปรบั ตวั การวดั ทาง จิตวทิ ยา และการประยุกตหลกั จิตวทิ ยาในชีวิตประจำวัน Concepts and theories of psychology, perception, motivation, learning, personality, emotion, attitude, mental adjustment, psychological inventory, and psychological application in daily life. จภมส 108 หลักการส่อื สาร 2 (2-0-4) CHHS 108 Principle of Communication วิชาทต่ี องศกึ ษากอ น : แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร องคประกอบของการสื่อสาร ประเภทและรูปแบบของการสื่อสาร การสื่อสารบุคคล ซง่ึ ประกอบดว ย บคุ ลกิ ภาพ ทศั นคติ และการเรยี นรขู องบคุ คล การสอ่ื สารมวลชน การสอ่ื สารในองคอ ร ปจ จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ การสอ่ื สาร และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ปญหาและอุปสรรคของการสื่อสาร การใหเหตุผล ตรรกวิทยา ขอบกพรองการใหเหตุผลกับการสื่อสาร Communication concepts and theories, elements of communication, types and form of communication, individual communication which consists of personalities, attitudes and learning of individual (s), mass communication, communication in the organization. Factors affect to communication and efficiency communication, obstacles of communication and logic reasoning of communication, faults of reasoning given to communication. จภมส 109 มนุษยสัมพันธกบั การพฒั นาคน 2 (2-0-4) CHHS 109 Human Relations and Self Development วิชาทีต่ องศกึ ษากอ น : ความหมายและหลกั การมนษุ ยสมั พนั ธ เทคนคิ การพฒั นาและสง เสรมิ ทกั ษะดา นมนษุ ยสมั พนั ธ การพฒั นาตนโดยอาศยั มนษุ ยสมั พนั ธ เพือ่ ชวี ิตและการงานทด่ี ี Meaning and principles of human relations; techniques to develop and promote human relations skils; self-development through human relations for good life and work. 17 คูมือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสุขภาพ 2. กลุม วชิ าภาษา 9 หนวยกิต จภภท 101 ศิลปะการใชภ าษาไทยเพ่อื การสอื่ สาร 3 (2-2-5) CHTH 101 Art of Using Thai Language in Communication วชิ าท่ตี อ งศึกษากอน : ศิลปะการใชภาษาไทย ทักษะการใชภาษาไทยในดานการพูด การฟง การอาน การเขียน และการคิด เพื่อการสื่อสารไดอยาง ถูกตอ ง เหมาะสม Art of using Thai language and of speaking, listening, reading, writing, and thinking skils for accurate and appropriate communication. จภภอ 101 ภาษาองั กฤษระดบั 1 3 (2-2-5) CHEN 101 English Level 1 วชิ าทต่ี อ งศึกษากอน : โครงสรา ง ไวยากรณ และศพั ทภ าษาองั กฤษในบรบิ ททเ่ี กย่ี วขอ งกบั การใชภ าษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวนั ในลกั ษณะของบรู ณาการ ทกั ษะการฟง พดู อา น และเขยี นภาษาองั กฤษ รวมทง้ั กลยทุ ธใ นการอา นบทความ การเขยี นในระดบั ประโยค การฟง เพอ่ื จบั ใจความสำคญั การออกเสยี ง และการพดู สื่อสารในชน้ั เรยี นระดบั บทสนทนา English structure, grammar and vocabulary in the context of daily language use, dealing with integration in listening, speaking, reading, and writing skils; reading strategies, sentence writing, listening for the gist, pronunciation and classroom communication. จภภอ 102 ภาษาองั กฤษระดบั 2 3 (2-2-5) CHEN 102 English Level 2 วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอน : ศพั ท สำนวน ไวยากรณ และการใชภ าษาองั กฤษในบรบิ ททางสงั คมปจ จบุ นั ทกั ษะการสนทนาในกลมุ ยอ ย การทำบทบาทสมมตุ ิ ในสถานการณต า งๆ ทกั ษะการเขียนในระดบั ยอ หนา และเน้อื หาการอานและการฟง เรื่องราวตางๆ Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skils in smal groups; simulations in situations; writing practice at a paragraph level; and reading and listening from various sources. 18 คมู อื หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ จภภอ 103 ภาษาอังกฤษระดับ 3 3 (2-2-5) CHEN 103 English Level 3 วิชาท่ีตอ งศึกษากอน : กลยทุ ธท ส่ี ำคญั ในทกั ษะการใชภ าษาทง้ั ส่ี การอา นและการฟง จากแหลง ตา งๆ การพดู ในชวี ติ ประจำวนั และการเขยี นระดบั ยอ หนา และเรยี งความส้ันๆ รวมท้ังทักษะยอ ย คือ ไวยากรณ การออกเสยี งและคำศพั ท เนนภาษาอังกฤษท่ีใชใ นชวี ิตประจำวันและการอา นเชิง วชิ าการ และเนอ้ื หาเกยี่ วกบั สังคมโลก Essential strategies for four language skils: reading and listening from various sources, speaking in everyday use and writing at a paragraph level and short essay, including sub-skils i.e., grammar, pronunciation, and vocabulary; focusing on English in everyday life and in academic reading and issues that enhance students world knowledge. จภภอ 104 ภาษาอังกฤษระดบั 4 3 (2-2-5) CHEN 104 English Level 4 วชิ าทีต่ อ งศึกษากอ น : บรู ณาการทกั ษะภาษาองั กฤษ โดยการฝก อา นขา ว บทความวจิ ยั ความคดิ เหน็ และเนอ้ื หาทางวชิ าการ เพอ่ื ความเขา ใจและคดิ อยางวิเคราะห จากแหลงตางๆ โดยเนนประเด็นซึ่งชวยใหนักศึกษารูเกี่ยวกับสังคมโลก ฝกการฟงขาว การบรรยายและสุนทรพจนจาก สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี และอนิ เตอรเ นต็ การสนทนาในสถานการณต า งๆ รวมทง การฝก พดู ในทช่ี มุ ชน การนำเสนอและการทำบทบาทสมมตุ ิ ฝก การ เขยี นเรยี งความรปู แบบโดยใชก ารอา งองิ และบรรณานกุ รม ทง้ั นร้ี วมทง้ั การฝก ทกั ษะยอ ย เชน ไวยากรณ การออกเสยี งและคำศพั ทใ นบรบิ ท ที่เหมาะสม Integrating four English skills by practicing reading news, research articles, commentary, and academic texts, for comprehension and critical thinking, from various sources focusing on the issues that enhance student’s world knowledge; listening to news, lecture, and speech via multimedia and the internet; making conversations in various situations including speaking in public, giving oral presentations and making simulations; and writing essays in various types using citations and references; also practicing sub-skils such as grammar, pronunciation and vocabulary used in appropriate context. 19 คมู อื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ
หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ 3. กลมุ วิชาวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ไมน อยกวา 7 หนว ยกิต จจภฟส 104 ฟส กิ สเ บอ้ื งตนสำหรบั วิทยาศาสตรสขุ ภาพ 3 (3-0-6) CHPY 104 Elementary Physics for Health Sciences วชิ าท่ตี องศึกษากอน : กลศาสตรข องการเคลอ่ื นท่ี และการสมดลุ งานและพลงั งาน ความยดื หยนุ ของสาร กลศาสตรข องของไหล และระบบไหลเวยี น ของโลหิด อุณหภูมิ ความรอน กฎของกาซ และระบบหายใจ คลื่นและสมบัติของคลื่น หูและการไดยิน แสงและการมองเห็น ไฟฟา แมเหล็กไฟฟาในรางกาย และอิเลก็ ทรอนกิ ส อะตอม นวิ เคลยี ส และเวชศาสตรนิวเคลียร Mechanics of motion and equilibrium, work and energy, elastic properties of matters, fluid mechanics and blood circulatory system, temperature, heat, gas law and respiratory system, waves and wave properties, ears and hearing, lights and vision, electricity, magnetism, electricity in human body, electronics, atom, nuclei and nuclear medicine. จภวศ 101 หลกั มลู ของชีวติ 2 (1.5-1-3.5) CHSC 101 Foundation of Life วิชาที่ตองศึกษากอน : การจดั จำแนกอาณาจกั รของสง่ิ มชี วี ติ การสบื พนั ธแุ ละชวี วทิ ยาการเจรญิ ของคนและสตั วอ น่ื ๆ การทำงานของระบบตา งๆ ในรา งกาย ของคนและสตั ว รวมทัง้ โรคและความผดิ ปกติบางประการของระบบประสาท อวัยวะรับความรสู กึ และตอบสนองระบบยอ ยอาหาร ระบบ ตอมไรทอ ระบบแลกเปลย่ี นแกส ระบบหมนุ เวียนโลหิต และระบบหมุนเวียนโลหิต และระบบภูมคิ มุ กัน และปฏิบัตกิ ารพืน้ ฐานชวี วิทยา Systemic classification of living organisms; reproduction and development in human and animals; comparative of physiology of organ systems in human and animals, emphasizes on diseases and abnormalities, including nervous system, receptor and motor system, digestive system, endocrine system, gas exchange and excretory system, circulatory system and immune system; and basic biology laboratories. จภคม 105 เคมีอินทรียพ น้ื ฐาน** 3 (3-0-6) CHCH 105 Basic Organic Chemistry วชิ าทีต่ องศึกษากอ น : พันธะเคมีและโครงสรา งโมเลกลุ ของสารอินทรยี การจำแนกและการเรียกชื่อสารอนิ ทรีย ปฏิกิริยาในเคมีอินทรยี สเตอรโิ อเคมี การสังเคราะหแ ละปฏิกิริยาของสารแอลเคน ไซโคลแอลเคน แอลคนี ไซโคลแอลคีน แอลไคน อะโรมาตกิ ไฮโดรคารบ อน เฮไลด แอลกอฮอล ฟน อล อีเทอร อลั ดไิ ฮด คโี ตน กรดคารบอกซลิ ิกและอนพุ นั ธ อะมนี Bonding and molecular structure of organic compounds, classification and nomenclature, reactions of organic compounds, stereochemistry, synthesis and reactions of alkane, cycloalkane, alkene, cycloalkane, alkyne, aromatic hydrocarbo halide, alcohol, phenol, ether, aldehyde, ketone, carboxylic acid and their derivatives, amine. **บรู ณาการวชิ าศกึ ษาท่วั ไปกบั วิชาเฉพาะ 20 คูมอื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ
หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสุขภาพ จภคม 110 เคมที ั่วไป** 3 (3-0-6) CHCH 110 General Chemistry วชิ าท่ตี องศกึ ษากอน : โครงสรา งอะตอม พนั ธะเคมี แกส ของแขง็ ของเหลว สารละลาย คอลลอยด อณุ หพลศาสตรเ คมี จลนพลศาสตรเ คมี สมดลุ เคมี สมดุลของไอออน ไฟฟาเคมี ตารางธาตปุ จ จบุ ัน Atomic structure, chemical bonding, gases, liquids, solids, solutions, coloids, chemical thermodynamics, chemical kinetics, chemical equilibria, ionic equilibria, electrochemistry, the present periodic table. จภคม 119 ปฏิบัติการเคมี 1 (0-3-1) CHCH 119 Chemistry Laboratory วชิ าทตี่ องศกึ ษากอ น : การจำแนกอนิ ทรยี ตามการละลาย ปฏิกริ ยิ าของไฮโดรคารบอน อัลกอฮอล ฟนอล อลั ดีไฮด คีโตน กรดคารบอกซลิ ิก อนพุ ันธ ของกรดคารบอกซลิ ิกและเอมีน Experiments of general chemistry and basic organic chemistry, e.g. errors, significant numbers, precision and accuracy, preparation of solution, acid-base titration, reactions redox reaction, solubility classification and reactions of hydrocarbons, reactions of alcohols and phenols, reactions of aldehydes and ketones, reactions of carboxylic acids and derivatives, reactions of amines. จภคณ 117 คณิตศาสตร 3 (3-0-6) CHMA 117 Mathematics วิชาท่ีตอ งศกึ ษากอ น : ความรูพื้นฐานทางคณิตศาสตร การฝกทักษะการคำนวณ การใหเหตุผล การฝกแกปญหาการประเมินคาลิมิต ภาวะตอเนื่อง การหาอนุพันธของฟงกชันลอการิทึม ฟงกชันเลขชี้กำลัง ฟงกชันตรีโกณมิติและฟงกชันผกผัน ผลตางเชิงอนุพันธ การประยุกตอนุพันธ อนพุ ันธอันดับสูงกวาหน่ึง การหาอนพุ ันธโ ดยปรยิ าย หลักเกณฑโลปตาล ปริพนั ธ การหาปริพนั ธโ ดยการแทนคา การหาปรพิ นั ธโ ดยเศษ สวนยอย อนุพันธยอย การแนะนำสมการเชิงอนุพันธสามัญ การหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธแยกกันไดและสมการเชิงอนุพันธเชิง เสนอนั ดบั หนง่ึ Basic knowledge in mathematics; practice of computation skils; reasoning; practice of solving problems in evaluation of limits continuity, differentiation of logarithmic functions. Trigonometric functions and inverse function; differentials; applications of derivatives; derivatives of order greater than one; implicit differentiation; I’ Hospital’s rule; integrals; integration by substitution; integration by parts; integration by partial fractions; partial derivatives; introduction to ordinary differential equations; solving separable differential equations and linear first order differential equation. 21 คมู อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคล่ือนไหวและสุขภาพ ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสุขภาพ 2) หมวดวิชาเฉพาะ 84 หนวยกิต 2.1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 18 หนวยกิต จภวค 200 กายวภิ าคศาสตร 3 (2-3-5) CHHK 200 Human Anatomy วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอ น : กายวิภาคศาสตรของรางกายมนุษยดานลักษณะรูปรางและโครงสรางของอวัยวะตางๆ และความสัมพันธของโครงสรางตางๆ ตั้งแตระดับเซลล เนื้อเยื่อ และอวัยวะของระบบตางๆ ไดแก ระบบหอหุมรางกาย ระบบกระดูก ระบบกลามเนื้อ ระบบประสาท ระบบ หมุนเวียนโลหติ ระบบทางเดินอาหาร ระบบหายใจ ระบบขับถา ย ระบบสืบพนั ธุ ระบบตอมไรทอ และอวัยวะรับสมั ผัสพิเศษ Anatomy of human body regarding shapes and structures, and relationships between cells, tissues, and various systems; integumentary system, skeletal system, muscular system, nervous system, circulatory system, digestive system, respiratory system, urinary system, reproductive system and organs of special senses. จภวค 201 สรรี วทิ ยา 3 (2-3-5) CHHK 201 Human Physiology วิชาท่ีตองศึกษากอน : องคป ระกอบ บทบาทหนา ทแ่ี ละกลไกการทำงานของเซลล และระบบตา ง ๆ ในรา งกายมนษุ ย ไดแ ก สรรี วทิ ยาของเซลล ระบบ กลา มเนอ้ื ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบทางเดนิ ปส สาวะ ระบบตอ มไรท อ ระบบ สบื พนั ธุ และกระบวนการรกั ษาสมดลุ ของรา งกาย ตลอดจนการทำงานรว มกนั ของระบบเหลา นใ้ี นการควบคมุ และรกั ษาสมดลุ ของรา งกาย ใหอยูในภาวะปกติ Human body structures, functions and mechanisms of cells and organ systems in human including cells, muscle, cardiovascular, neuronal, respiratory, gastrointestinal, urinary, endocrine, reproductive system, and homeostasis regulatory function. Study of how these systems work together in order to maintain normal physiological state of whole organism. จภวค 202 ภาษาองั กฤษสำหรบั วิทยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสขุ ภาพ 2 (2-0-4) CHHK 202 English for Human Kinetics and Health วิชาทต่ี อ งศึกษากอน : หลกั การใชภ าษาองั กฤษใหถ กู ตอ งตามสถานการณต า งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจำวนั โดยเนน ในทางวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ รวมถงึ ทกั ษะเพอื่ การพฒั นาศักยภาพทางดา นการฟง การอาน และการสื่อสาร Principles of application of English language in various situations in daily living related to health sciences skills for development of listening, reading and communication. 22 คูมอื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ
หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคลือ่ นไหวและสุขภาพ จภวค 203 มาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชีพ 2 (2-0-4) CHHK 203 Professional Standards and Ethics วชิ าทตี่ อ งศึกษากอน : ความหมาย แนวคดิ และความสำคญั ของจรยิ ธรรม มาตรฐานการประกอบวชิ าชพี จรรยาบรรณวชิ าชพี ความรบั ผดิ ชอบตอ วชิ าชพี และสังคมของผูปฏบิ ตั งิ านดานสขุ ภาพ Meaning, concept and importance of ethics; Professional standards, code of ethics, social and professional responsibility of health professional. จภวค 204 ชวี เคมีเบื้องตน สำหรับวิทยาศาสตรสขุ ภาพ 3 (3-0-6) CHHK 204 Introduction to Biochemistry for Health Sciences วิชาท่ตี อ งศึกษากอ น : หลกั การเบอ้ื งตน ของชวี เคมี โครงสรา ง คณุ สมบตั ิ และเมตาบอลซิ มึ ของสารชวี โมเลกลุ ตา งๆ ไดแ ก คารโ บไฮเดรต โปรตนี ไขมนั เอนไซม สารอาหาร และกรดนวิ คลอิ กิ หนา ทแ่ี ละกระบวนการแปรสารในสง่ิ มชี วี ติ รวมทง้ั ในมนษุ ย เพอ่ื การผลติ สารมหโมเลกลุ ทต่ี อ งการ ใชใ นการเจรญิ เตบิ โต การใหพ ลงั งานและการขจดั ความรอ นและของเสยี การควบคมุ ปฏกิ ริ ยิ าในกระบวนการยอ ยอาหาร และกระบวนการ เมตาบอลสิ มของคารโ บโฮเดรต ไขมนั และโปรตีนซงึ่ รวมทงั้ การควบคุมโดยฮอรโ มน ปญหาทางโภชนาการ Basic principles of biochemistry, structure, properties and metabolisms of biomolecules including carbohydrates, proteins, lipids, enzymes, nutrient and nucleic acids. Functions and processes in the organism, including in humans for the production of molecules that need in human growth, energy production and waste disposal, control of the digestive process and the metabolism of carbohydrates, fats and proteins, including hormone regulation, nutritional problems. จภวค 205 หลกั การเคลอ่ื นไหวของมนุษย 3 (3-0-6) CHHK 205 Principles of Human Movement วชิ าทต่ี องศึกษากอน : จภวค 200 กายวิภาคศาสตร, จภฟส 104 ฟสกิ สเบือ้ งตน สำหรบั วิทยาศาสตรส ขุ ภาพ กลศาสตรของรางกายและการประยุกตความรูทางกายวิภาคศาสตรเพื่อใชตรวจและวิเคราะหการเคลื่อนไหวของรางกายมนุษย ในชีวิตประจำวันทั้งในภาวะปกติและผิดปกติ ลักษณะ ชนิด และองคประกอบ เรียนรูเกี่ยวกับหลักการเบื้องตนของการทำงานและการ ประสานสัมพันธของระบบตางๆ ของรางกายที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวของรางกาย ปจจัยที่มีผลตอการเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหว ของรา งกาย การวิเคราะหก ารเคลอื่ นไหวพืน้ ฐาน Body mechanics and application of anatomy for investigating and analyzing human movement in daily living, both normal and abnormal conditions; characteristics, types and components of human body movement; a study of basic principles of functions of various body systems related to body movement and their coordination; factors affecting movement and human motion. 23 คูมือหลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ จภวค 206 การปฐมพยาบาลและการกชู พี ข้ันพ้ืนฐาน 2 (1-2-3) CHHK 206 First Aids and Basic Life Support วชิ าท่ีตองศกึ ษากอ น : แนวคิด หลักการในการปฐมพยาบาล การประเมินและสังเกตอาการผิดปกติเบื้องตน และใหการปฐมพยาบาล เมื่อเกิดปญหา สุขภาพหรือภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งการชวยฟนคืนชีพเบื้องตน เพื่อใหผูที่มีปญหาสุขภาพหรืออยูในภาวะฉุกเฉิน ไดรับความปลอดภัยและ บรรเทาความทุกขท รมาน กอนสงตอสถานบริการทางการแพทยใ หไ ดรบั การรักษาข้ันตอ ไป Concepts and principles in the perspectives and techniques of first aid including evaluating and monitoring initial symptoms and providing first response care and attention in an emergency. Study also includes basic life support training in order to help people with health problems or those who require emergency treatment recover stabilize sufficiently before transferring to a medical clinic or hospital for further treatment and care. จภวค 300 สถิติและระเบยี บวธิ ีวจิ ยั 2 (1-2-3) CHHK 300 Statistics and Research Methodology วิชาที่ตอ งศกึ ษากอ น : หลกั การ ความสำคญั ประเภทของการวจิ ยั และระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั เบอ้ื งตน ขน้ั ตอนในการทำวจิ ยั ไดแ ก การเขยี นโครงรา งงาน วจิ ยั กระบวนการในการสบื คน ขอ มลู การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ ง การวางแผนงานวจิ ยั วธิ กี ารเกบ็ ขอ มลู ทางสถติ ิ การรวบรวมและ วิเคราะหขอมูล การเขียนโครงรางงานวิจัยประมวลผลขอมูล การใชโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะหขอมูลและการแปลผล และการนำเสนอผลงานวจิ ยั Principles, significance, types of research and strategies in research; research process: research proposal writing, searching strategies, literature review, research planning, research methods, data colection and analysis, data processing and the use of statistical packages in data analysis and interpretation, and research presentation. 24 คูมือหลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสขุ ภาพ ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ 2.1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 18 หนวยกิต 2.2.1) วิชาเอกบังคับ 56 หนวยกิต จภวค 220 พฒั นาการทางกายและการเคลอ่ื นไหวตลอดชวงชวี ิต 2 (2-0-4) CHHK 220 Physical and Motor Development through Lifespan วชิ าทตี่ องศกึ ษากอ น : ความรพู น้ื ฐานของการเจรญิ เตบิ โตทางกาย และพฒั นาการของการเคลอ่ื นไหวตลอดอายขุ ยั พฒั นาการของการเคลอ่ื นไหวครอบ คลมุ ตง้ั แตแ รกเกดิ ถงึ ตลอดชวี ติ ซง่ึ จะเนน ไปทค่ี วามเจรญิ เตบิ โตสมบรู ณ สงู วยั การประเมนิ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหว พฒั นาการดา นการรบั รู การเคลื่อนไหว การประมวลผลขอมูล ความทรงจำ ขอมูลปอนกลับ และอิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมตอพัฒนาการการเคลื่อนไหว ปจจัยท่ีสงผลตอ การเปลีย่ นแปลงทุกระบบทีส่ งผลตอ การเคล่อื นไหว A basic knowledge of physical growth and motor development from a life span perspective. Motor development examines the individual from birth throughout life with emphasis on maturation, aging, and assessment of motor skils, perceptual motor development, information processing, memory, information feedback, and social and cultural influences on motor development. The factors that influence those changes in al systems and their contributions to functional movement. จภวค 221 จติ วิทยาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 2 (2-0-4) CHHK 221 Health Behavioral Psychology วชิ าทต่ี องศึกษากอน : ความสมั พนั ธร ะหวา ง ปจ จยั กระบวนการสงั คม และจติ วทิ ยา ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ พฤตกิ รรมสขุ ภาพทางกาย ทางจติ ในแตล ะชว งอายุ และหลังการเจ็บปวย เขาใจถึงปฏิสัมพันธระหวางกระบวนการทางจิตวิทยากับการปรับพฤติกรรมสุขภาพในแตละสาเหตุ การวิเคราะห การปอ งกัน การสงเสรมิ และการฟน ฟูการเจ็บปวยทงั้ ทางกายและทางจิต The relationships between social and psychological factors influence physical and mental health behaviors through lifespan and sickness recovery state. Understanding the interaction between psychological and behavioral modification on its etiology, prevention, promotion and rehabilitation of physical and mental health. จภวค 222 การทดสอบและเสริมสรา งสมรรถภาพทางกาย 2 (1-2-3) CHHK 222 Physical Fitness Testing and Conditioning วชิ าทีต่ อ งศกึ ษากอ น : ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื เขา ใจถงึ เครอ่ื งมอื และการทดสอบตา งๆ ทใ่ี ชใ นการประเมนิ สมรรถภาพทางกายของมนษุ ย การเลอื กการ ทดสอบทเ่ี หมาะสมสำหรบั การทดสอบและวเิ คราะห และขอ จำกดั ของสภาพแวดลอ มในการทดสอบ สมรรถภาพทางกายแบบตา งๆ ทง้ั ภายใน และภายนอกหองปฏบิ ตั กิ าร Theory and practice understanding of different tools and tests used in assessing human performance, suitable formats selection for testing and analysis and the limitations of different physical performance testing environments, both in laboratory and field. 25 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลือ่ นไหวและสุขภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสุขภาพ จภวค 223 การควบคมุ และพฒั นาทักษะการเคลื่อนไหว 2 (1-2-3) CHHK 223 Motor Control and Development วชิ าท่ตี อ งศกึ ษากอน : ทฤษฎีและหลักการของการควบคุมและการเรียนรูทักษะการเคลื่อนไหว ชนิดและกลไกของประสาทสัมผัสและประสาทยนตที่ เกย่ี วขอ งกบั การเคลอ่ื นไหว การเรยี นรทู กั ษะทางกลไก รวมถงึ การตดิ ตามและประเมนิ ผล ปจ จยั ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การควบคมุ การเคลอ่ื นไหว และสมรรถภาพทางกาย การฝกทีเ่ พ่อื เพ่มิ ประสิทธภิ าพของการควบคมุ การเคลื่อนไหว Theories and principles of motor control and motor skil learning. Types and mechanism of sensorimotor mechanisms related to movements, motor skil learning including folow-up and evaluation. Factors affecting motor control and physical fitness. Training for motor control efficacy enhancement. จภวค 224 พน้ื ฐานของการออกกำลังกาย กีฬา และกจิ กรรมทางกาย 2 (1-2-3) CHHK 224 Foundations of Exercise, Sport and Physical Activity วิชาที่ตอ งศึกษากอ น : หลักการเบื้องตนของทฤษฎีการออกกำลังกาย กีฬา และกิจกรรมทางกาย และผลที่เกี่ยวของกับสุขภาพตางๆ บทบาทของการ ออกกำลังกายในการสงเสริมสุขภาพโดยใชการเสริมสรางสุขภาพ สมรรถภาพ พัฒนาสมรรถภาพรางกายโดยใชวิธีการออกกำลังกายที่ หลากหลายเพื่อสงเสริม ปองกัน และสรางเสริมบุคคลที่มีสุขภาพดีทั่วไปในแตละชวงอายุ และบุคคลกลุมอื่นๆ เชน ผูมีความบกพรอง ทางการเคลอ่ื นไหว พระภกิ ษสุ งฆ เรยี นรพู น้ื ฐานของวธิ กี ารออกกำลงั กายเพอ่ื เสรมิ สรา ง และคงไวซ ง่ึ ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวของ ขอตอ แรงกลามเนื้อ ความทนทาน และสมรรถภาพรางกายในภาพรวม รวมถึงการออกกำลังกายแบบมีแรงชวย/แรงตาน เทคนิคการ ยดื เหยยี ดและเพม่ิ องศาการเคลื่อนไหว กิจกรรมออกกำลังกายแบบกลุม และกจิ กรรมกฬี า Principles of exercise, sport and physical activity’s theory, and various health-related outcomes. The role of exercise in health promotion, fitness, and performance. Develop personal fitness using a variety of exercise techniques for promotion, prevention, and treatment of healthy individuals through lifespan and others such as movement disordesr, monks. Learn the fundamentals of exercise techniques for enhancing and maintaining joint range of motion, muscle strength, endurance, and overal fitness including assistive/resistive exercise, passive/acitive stretching, and range of motion techniques, group fitness and sport activities. 26 คูมือหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ จภวค 225 สรีรวิทยาการออกกำลงั กาย 3 (2-2-5) CHHK 225 Exercise Physiology วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอ น : จภวค 201 สรรี วทิ ยา หลกั การทว่ั ไปของสรรี วทิ ยาการออกกำลงั กาย หนา ทก่ี ารทำงานของระบบตา ง ๆ เกย่ี วขอ งในระบบประสาทและกลา มเนอ้ื ระบบ การไหลเวียนโลหิต ระบบการหายใจ ระบบตอมไรทอ และกระบวนการเมตาบอลิซึมอันเกิดจากการออกกำลังกาย ผลของการฝก และปจจัยตา ง ๆ ท่ีมผี ลตอการออกกำลงั กาย รวมท้งั หลักการทางสรีรวิทยาการออกกำลงั กายในภาวะตา งๆ General principles of exercise physiology, function of various systems on exercise related to neuromuscular system, cardiovascular system, respiratory system, endocrine system and metabolism during exercise, training effects and factors affecting the exercise including principles of exercise physiology in various conditions. จภวค 320 ความรูเบือ้ งตนในการจดั การสถานประกอบการ 2 (2-0-4) CHHK 320 Introduction to Workplace Management วชิ าท่ตี อ งศกึ ษากอ น : หลกั การจดั การสถานประกอบการดา นการบรหิ ารงานบคุ คล การบรหิ ารงาน การบรกิ าร การประสานงานระหวา งบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง และเศรษฐศาสตรสุขภาพ เพ่ือนำมาประยกุ ตใ ชใ นการกำลงั กาย Principles of workplace management in personnel management, administration, service management, inter-professional cooperation and health economics to apply in exercise. จภวค 321 วิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพในระบบของรา งกายมนษุ ย 1 2 (2-0-4) CHHK 321 Human Kinetics and Health in Human Body System 1 วิชาทตี่ อ งศึกษากอ น : จภวค 225 สรรี วทิ ยาการออกกำลงั กาย การควบคมุ และหนา ทข่ี องระบบโครงสรา งกลา มเนอ้ื และระบบประสาท การปรบั ตวั ตอ การเคลอ่ื นไหวรปู แบบตา งๆ เชน การเดนิ กจิ กรรมในชวี ติ ประวนั การเลน กฬี า และการเปลย่ี นแปลงรปู แบบการเคลอ่ื นไหวภายใตส ภาวะตา งๆ ทง้ั ฉบั พลนั แบบตอ เนอ่ื ง สภาวะลา บาดเจ็บ และชราภาพ ปจ จัยเสี่ยง ขอควรระวงั ขอหาม และแนวทางการกำหนดวธิ ีการออกกำลงั กายในกลมุ ภาวะตา งๆ The control and functions of the neuromuscular system, the adaptation of various movement patterns such as gait, activities in daily living, sports, and the patterns changed under different conditions including acute, chronic, fatigue, injurious and aging conditions, risk factor, precautions, contraindications and exercise prescription guidelines for individuals with these conditions. 27 คูมือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ
หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ จภวค 322 วทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพในระบบของรา งกายมนุษย 2 2 (2-0-4) CHHK 322 Human Kinetics and Health in Human Body System 2 วิชาท่ตี องศกึ ษากอน : จภวค 225 สรรี วิทยาการออกกำลังกาย การควบคุมและหนาที่ของระบบหัวใจ หลอดเลือด และระบบหายใจ การปรับตัวของการตอบสนองของหัวใจ หลอดเลือดและ การหายใจภายใตภ าวะตา งๆ ทง้ั ฉบั พลนั แบบตอ เนอ่ื ง ชราภาพ สภาพแวดลอ ม และโรค ปจ จยั เสย่ี ง ขอ ควรระวงั ขอ หา ม และแนวทาง การกำหนดวิธกี ารออกกำลังกายในกลมุ ภาวะตา งๆ The control and function of the cardiovascular and respiratory systems, the adaptation of cardiovascular and respiratory responses under different conditions including acute, chronic, aging conditions, environments and diseases, risk stratification, contraindications and exercise prescription guidelines for individuals with these conditions. จภวค 323 วทิ ยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพในระบบของรางกายมนษุ ย 3 2 (2-0-4) CHHK 323 Human Kinetics and Health in Human Body System 3 วชิ าทต่ี อ งศกึ ษากอน : จภวค 225 สรีรวทิ ยาการออกกำลงั กาย การควบคุมและหนาที่ของระบบตอมไรทอ การปรับตัวทางเมตาบอลิกและชีวเคมีภายใตภาวะตางๆ ทั้งฉับพลัน แบบตอเนื่อง ชราภาพ สภาพแวดลอ ม และโรค ปจ จยั เสย่ี ง ขอ ควรระวงั ขอหาม และแนวทางการกำหนดวิธีการออกกำลังกายในกลุม ภาวะตา งๆ The control and function of the endocrine system, the adaptation of endocrine responses under different conditions including acute, chronic, aging conditions, environments and diseases, risk stratification, contraindications and exercise prescription guidelines for individuals with these conditions จภวค 324 วิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพในระบบของรางกายมนุษย 4 2 (2-0-4) CHHK 324 Human Kinetics and Health in Human Body System 4 วิชาทต่ี องศกึ ษากอ น : จภวค 225 สรีรวิทยาการออกกำลงั กาย การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการดา นตา งๆ ของเดก็ สาเหตทุ ม่ี ผี ลตอ พฒั นาการและการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ทง้ั ภาวะปกตแิ ละไมป กติ ทฤษฎแี ละกรอบแนวคดิ ดา นพฒั นาการในการเคลอ่ื นไหวและการรบั รปู ระสาทสมั ผสั การกระตนุ พฒั นาการระยะแรกเรม่ิ ในเดก็ พฒั นาการ ลา ชา และสง เสรมิ พฒั นาการแบบองครวมในเด็กปกติ Normal and abnormal growth and development in children causes affecting development and growth of children including normal and abnormal. Theory and concept of the development of infancy motor and perception, Early intervention approach, a holistic way of developmental stimulation in children with developmental delayed and health-promotion for children with typical developing. 28 คูม ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคล่ือนไหวและสุขภาพ จภวค 325 โภชนาการพืน้ ฐานของการออกกำลงั กายและการกฬี า 2 (2-0-4) CHHK 325 Fundamentals of Exercise and Sports Nutrition วชิ าท่ีตองศึกษากอ น : จภวค 204 ชีวเคมเี บอ้ื งตนสำหรับวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ แนวคดิ พน้ื ฐานทางโภชนาการทม่ี งุ เนน ประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การพฒั นาผเู ชย่ี วชาญทางดา นสขุ ภาพและสมรรถนะ เพอ่ื สนบั สนนุ สุขภาวะและการดำเนินชีวิตตลอดอายุขัย ชนิดและคุณคาของสารอาหาร ความตองการสารอาหาร การประเมินภาวะโภชนาการของ กลมุ บุคคลตา งๆ การประยกุ ตใชค วามรูดานโภชนาการเพ่ือสุขภาพ และสงเสรมิ สมรรถภาพ Fundamental concepts of nutrition with a special focus on contemporary issues relevant to developing professionals in health and human performance, to the support of general wellness and active lifestyles throughout the lifespan. Types and advantages of nutrient, nutrient needs, the evaluation of nutritional condition of different groups of people. Application of nutrition for health as wel as performance promotion. จภวค 326 เภสชั วทิ ยาสำหรับวิทยาศาสตรก ารเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ 2 (2-0-4) CHHK 326 Pharmacology for Human Kinetics and Health หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตรของยาที่ใชประกอบการรักษาทางวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ และฤทธิ์ของยากลุมตางๆ ที่มีผลกระทบตอการรักษาดวยวิธีทางวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพ โดยเนนถึงผลขางเคียงและ ขอควรระวงั ในการออกฤทธิ์ของยา Basic principles of pharmacology pharmacokinetics of drugs used in the treatment of human kinetics and health and effects of the drug groups. The effect of human kinetics and health treatment methods. Emphasis on side effects and cautions of action of drugs. จภวค 327 ชีวกลศาสตร 2 (1-2-3) CHHK 327 Biomechanics วชิ าท่ีตองศกึ ษากอน : จภวค 205 การเคลือ่ นไหวพ้นื ฐานของมนุษย หลักการเบื้องตนทางกลศาสตรเพื่อทำความเขาใจการเคลื่อนไหวของมนุษยที่ควบคุมการเคลื่อนไหว และพัฒนาความสามารถ ทีเ่ ชือ่ มโยงไปยงั โครงสรางรางกายมนษุ ยและการทำงาน การวิเคราะหการทำงานของกลามเนอ้ื และการเคลอ่ื นไหวของขอ ตอของรางกาย การทรงทา การเคลือ่ นไหว และการเดินท่ีปกติและผิดปกติ ปจจัยท่ีมีผลตอการเคล่อื นไหว การเคล่ือนที่ และการทรงทา An introduction of the mechanical principles to the understanding of human motion that govern motion and develop the ability to link the structure of the human body with its function. Analysis of muscle work and joint movement; normal and abnormal posture; movement and gait; factors affecting movement, locomotion, and posture. 29 คูมือหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสุขภาพ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ
หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพ จภวค 328 การออกแบบการออกกำลงั กายและการประเมิน 2 (1-2-3) CHHK 328 Exercise Prescription and Evaluation วิชาที่ตองศกึ ษากอ น : จภวค 225 สรรี วิทยาการออกกำลังกาย ความเขาใจพื้นฐานของการออกแบบและการประเมินการออกกำลังกายทั้งในและนอกหองปฏิบัติการ เพื่อตรวจดูการประเมิน ระดับสมรรถภาพ และองคประกอบของสมรรถภาพที่เกี่ยวของในการพัฒนาโปรแกรมการออกกกำลังกายทั้งทางดานสมรรถภาพหัวใจ และการไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงและความทนทานของกลามเนื้อ สัดสวนรางกาย การทรงตัว และความออนตัวสำหรับบุคคลที่มี สขุ ภาพดแี ละทางคลนี กิ เขา ใจการตอบสนองตอ การออกกำลงั กาย และปจ จยั ดา นสรรี วทิ ยา ชวี กลศาสตร และจติ วทิ ยาทส่ี ง ผลตอ โปรแกรม การออกกำลังกาย พัฒนาการออกแบบการออกกำลังกายสำหรับบุคคลสุขภาพดีในแตละชวงอายุ และบุคคลที่มีปจจัยเสี่ยงและ/หรือ สภาวะพิเศษ A basic understanding of prescription and evaluation of laboratory and field assessments. To examine the evaluation of fitness levels and the components of fitness applicable to the development of exercise programs including cardiovascular fitness, muscular strength and endurance, body composition, balance, and flexibility for apparently healthy individuals and clinical situations. Understand the human responses to exercise, and the physiological, biomechanical and psychological factors that influence an exercise program. Develop exercise prescriptions for healthy adults through lifespan and adults with multiple risk factors and/or special considerations. จภวค 329 การออกกำลงั กายในน้ำ 2 (1-2-3) CHHK 329 Aquatic Exercise วิชาที่ตองศึกษากอน : หลักการของกิจกรรมในน้ำเพื่อสงเสริมและ/หรือคงระดับสมรรถภาพทางแอโรบิคและโครงสรางรางกายที่ระดับสูง รวมทั้งการ ออกกำลงั กายสำหรบั ความออ นตวั ความแขง็ แรง การวง่ิ เหยาะๆ และการเคลอ่ื นไหวประกอบจงั หวะอน่ื ๆ ปฏบิ ตั เิ ทคนคิ การออกกำลงั กาย ในน้ำอยางถูกวิธีและดวยกระบวนการที่ปลอดภัยในการเคลื่อนไหวแบบแรงกระแทกต่ำจากความเขมขนต่ำไปสูงโดยไมมีผลกระทบจาก แรงโนมถวงโลก Principles of a variety of activities in the aquatic environment to promote and/or maintain a high level of aerobic and musculoskeletal fitness including exercises for flexibility, strengthening, jogging, and other rhythmic movements. Practice in proper aquatic exercise conditioning techniques and safety procedures in a variety of low-impact movements from low to high intensity without the negative effects of gravity. 30 คมู อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ
หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลือ่ นไหวและสุขภาพ จภวค 330 การฝก การเคลือ่ นไหวในชวี ติ ประจำวัน 2 (1-2-3) CHHK 330 Functional Movement Training วชิ าทต่ี อ งศึกษากอ น : หลกั การ กลยทุ ธ และรปู แบบจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษเ พอ่ื สรา งวธิ กี ารออกกำลงั กายทถ่ี กู ตอ งซง่ึ รวบรวมการเคลอ่ื นไหวหลายๆ ขอตอเขาดวยกัน เขาใจการคัดกรอง การจัดโปรแกรม และการประเมินการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวัน เพื่อสรางความสามารถในการ เคลื่อนไหว สมรรถนะในการเคลื่อนไหว และวิธีการปรับเปลี่ยนการเคลื่อนไหวใหหลากหลายเพื่อปรับปรุง และเติมเต็มชองวางระหวาง การบาดเจ็บกบั สมรรถนะ Principles, strategies and evidence based template to utilize corrective exercises, which integrate complex multi-joint movements as a whole. Understanding the functional movement screening, programming and assessment to create movement capacity, movement competency and movement variability (different angles, heights, distances, loads, speed etc) to rehabilitate and bridge the gap between injury and performance. จภวค 331 นวตั กรรมทางวทิ ยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหว 2 (1-2-3) CHHK 331 Innovation for Human Kinetics and Health วิชาทต่ี องศกึ ษากอน : ความรเู บอ้ื งตน เกย่ี วกบั นวตั กรรม หลกั การ แนวคดิ และลกั ษณะของนวตั กรรมทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั วทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ เลอื กการออกแบบ การสราง การนำไปใช การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงนวัตกรรมไดอยางเหมาะสม Elementary to innovation; Principles, concepts and types of innovation linked to human kinetics and healthl. To select suitable design, creation, utilization, evaluation and improvement. จภวค 332 กิจกรรมเขาจังหวะ 1 (0-2-1) CHHK 332 Rhythmic Activities วิชาทต่ี องศกึ ษากอน : ประเภทของกิจกรรมเขาจังหวะ ทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน กฎ กติกา สำหรับกิจกรรมเขาจังหวะประเภทตางๆ ไดแก การเตนแอโรบิค การเตนลีลาศ เปนตน การประยุกตใชหลักการทางวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ลดปจ จัยเส่ยี งของการเกิดอาการบาดเจ็บจากกิจกรรมเขา จังหวะ Types of rhythmic activities, basic movement skills, rules, and regulations for rhythmic activities including aerobic dance, ballroom dance, etc. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from rhythmic activities. 31 คูมอื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสุขภาพ จภวค 420 การสมั มนาทางวทิ ยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสขุ ภาพ 2 (2-0-4) CHHK 420 Seminar in human kinetics and health วิชาทต่ี องศกึ ษากอน : จภวค 324 สถติ ิและระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ศกึ ษาคน ควา งานวจิ ยั และเรอ่ื งทน่ี า สนใจทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ วเิ คราะห สงั เคราะหป ระเดน็ ทส่ี ำคญั มานำเสนอผลการ คนควาดว ยการใชส อื่ มลั ตมิ ิเดียและอภปิ รายเพอื่ เปนประโยชนตอการประยกุ ตใชทางวิทยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสุขภาพ Study research and interesting topics, both in Thai and English, analyzing, synthesizing important issues to present results with multimedia and discuss for beneficial of applications in human kinetics and health. จภวค 421 การเปน ผูฝก สวนบคุ คล 2 (1-2-3) CHHK 421 Personal Trainer วชิ าทตี่ องศกึ ษากอน : จภวค 321 สมรรถภาพ การออกแบบและการประเมนิ การออกกำลังกาย บทนำสูการออกแบบโปรแกรมการออกกำลังกาย การเปนผูนำการออกกำลังกาย เทคนิคสำหรับการจัดโปรแกรม ติดตามผล และนำการออกกำลังกาย เขารวมและวิเคราะหกิจกรรมการออกกำลังกาย ออกแบบ และเปนผูนำโปรแกรมการออกกำลังกายแบบกลุม แบบเดี่ยว และแบบปรับตามระยะเวลา เปนไปตามขอ กำหนดของการเปนผูฝ กสอนสว นบคุ คลทไี่ ดร บั การรับรอง An introduction to exercise program prescription and leadership, techniques for prescribing, folowing, and leading exercise programs; participate in and analyze exercise activities and programs; design and lead group, individual, and periodic exercise programs, learning to meet national criteria for recognition as a certified personal trainer. จภวค 422 การบาดเจบ็ ทางการออกกำลงั กายและการกฬี า 2 (1-2-3) CHHK 422 Exercise and Sport Injuries วชิ าที่ตองศึกษากอ น : จภวค 320 ชีวกลศาสตร การปองกันและดูแลการบาดเจ็บโดยเนนที่คุณภาพของผูฝกสอนที่ดี หลีกเลี่ยงอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ทราบถึงอาการและ อาการแสดงของสภาพการบาดเจ็บของการออกกำลังกายและกีฬา การดูและการบาดเจ็บระยะปานกลางและระยะยาว และขั้นตอน การจดั การในการฝก ทราบทฤษฎีทางสรีรวิทยาดานการฟนตัวรวมถึงขั้นตอนการออกกำลังกายสำหรับการบาดเจ็บทางกระดูกและ กลามเนื้อ ทราบพื้นฐานทางทฤษฎีและปฏิบัติการที่เกี่ยวกับการออกแบบ นำไปใช ประเมินความกาวหนาของโปรแกรมการกลับคืนสู สภาวะปกติ รวมถงึ การประเมินกระบวนการสมานตวั และจำแนกระยะเพื่อพัฒนาโปรแกรม Prevention and care of injuries with emphasis on qualities of a good trainer, avoiding accidents and injuries, recognizing signs and symptoms of exercise and sports injuries and conditions, immediate and long-term care of injuries, and administration procedures in training; examine the theory of the physiology of healing as well as exercise protocols for musculoskeletal injuries; provide a solid foundation of the theory and practice associated with the design, implementation, progression and supervision of progressive healing and reconditioning programs include skilful examination of the process of healing and identifying pertinent stages in order to develop evidence based programs. 32 คูมอื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ จภวค 334 การฝกงาน 1 3 (0-15-0) CHHK 334 Field Work 1 วชิ าที่ตองศึกษากอ น : การฝกปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพในหนวยงานที่เกี่ยวของ กระบวนการและเทคนิควิธีการ ออกกำลงั กายพื้นฐาน การเขยี นรายงาน Basic practices in human kinetics and health in related workplace. Process and techniques in basic exercise and report writing. จภวค 423 การฝกงาน 2 3 (0-15-0) CHHK 423 Field Work 2 วิชาที่ตองศึกษากอ น : จภวค 326 การฝกงาน 1 การฝก ปฏบิ ตั งิ านดา นวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพในหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง กระบวนการ เทคนคิ วธิ กี ารออกกำลงั กาย การสงเสรมิ สขุ ภาพและการปอ งกันภาวะผดิ ปกติ Basic practices in human kinetics and health in related workplace. Process and techniques in basic exercise, report writing, health promotion and deformity’s prevention. จภวค 424 การฝกงาน 3 6 (0-30-0) CHHK 424 Field Work 3 วิชาท่ตี องศึกษากอ น : จภวค 422 การฝก งาน 2 การฝกปฏิบัติงานดานวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพในหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน กระบวนการ ติดตามผลการ ออกกำลังกาย ปรับเปล่ยี นโปรแกรมการออกกำลังกาย สงเสรมิ สขุ ภาพและการปอ งกันภาวะผิดปกติ Basic practices in human kinetics and health in related workplace, both in government and commercial. Process, exercise folow-up, exercise prescription, health promotion and deformity’s prevention. 2.2.2) วิชาเอกเลือก ใหเลือกเรียนรายวิชาตอไปนี้ไมนอยกวา 8 หนวยกิต จภวค 335 ผูนำนนั ทนาการ 2 (1-2-3) CHHK 335 Foundation of Recreation Leadership วิชาที่ตองศึกษากอน : ทฤษฎี หลกั การ ทกั ษะ สำหรบั ผนู ำนนั ทนาการ การวางแผน การเลอื กรปู แบบกจิ กรรม และวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมสำหรบั จดั กจิ กรรม นันทนาการ Theories, principles, skils for recreation leadership, planning, activities selection, and suitable procedures for recreactional activities 33 คูมอื หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสขุ ภาพ ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ
หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพ จภวค 336 การสรางเสริมสขุ ภาพในการใหบริการชุมชน 2 (1-2-3) CHHK 336 Health Promotion in Community Health Service วชิ าท่ตี อ งศึกษากอน : แนวคดิ หลกั การของหลกั การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ งกนั โรค ปจ จยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ สขุ ภาพ กลวธิ ใี นการสรา งเสรมิ สขุ ภาพ กระบวนการในการสำรวจ วเิ คราะหป ญ หา ความตอ งการของชมุ ชน การแกไ ขปญ หาสขุ ภาพทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การออกกำลงั กายและกจิ กรรม ทางกาย การเขียนโครงการ และการบริหารโครงการเผยแพรความรสู ูชุมชน Concepts and principles of health promotion and prevention, factors affecting health, health promotion strategies, processes of problem and needs’ findings, analyses and solving health problems in exercise and physical activities. Project writing and management for health education in community service. จภวค 337 สขุ ภาวะ สมรรถภาพและการใชชวี ติ 2 (2-0-4) CHHK 337 Welness, Fitness, and Lifestyle วิชาที่ตอ งศกึ ษากอ น : ทฤษฎีและปจจัยของพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพ และกลยุทธสำหรับการสรางเสริมสุขภาวะ ความสำคัญของกิจกรรมทางกาย ตอสุขภาวะ สมรรถภาพ และการใชช วี ิต ปจจัยตางๆ ที่มีอทิ ธพิ ลตอการเขา รว มกจิ กรรมทางกาย Theories and determinants of health promoting behaviours, and strategies for promoting welness, the importance of physical activity for welness, fitness and lifestyle, the factors influencing participation in physical activity. จภวค 338 หลกั การออกกำลงั กายสำหรบั คนพิการ 2 (2-0-4) CHHK 338 Principle of Exercise for Disabled วชิ าท่ตี อ งศึกษากอน : หลกั การออกกำลงั กาย การจดั โปรแกรมการออกกำลงั กายและการแนะนำการออกกาลงั กาย สำหรบั คนพกิ ารเพอ่ื คงระดบั พฒั นา สมรรถภาพและสขุ ภาพใหส มบูรณ Principles of exercise, exercise programming, and recommendation for a special group of people with physical disabilities, to maintain, to develop fitness and good health. 34 คูม ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสุขภาพ ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก ารเคลือ่ นไหวและสุขภาพ จภวค 339 จิตวทิ ยาการออกกำลังกาย 2 (2-0-4) CHHK 339 Exercise Psychology วชิ าท่ีตอ งศึกษากอน : ทฤษฎี หลักการกระบวนการและการประยุกตใชท างจิตวทิ ยาที่เกย่ี วของกบั การออกกำลังกาย มาประยกุ ตใชเพอ่ื การสง เสริมให คนติดการออกกำลังกาย ตามบรบททแ่ี ตกตางกนั หลักการ การเลือกใชแ บบประเมินและกระบวนการทางจิตวิทยาเพื่อความเขา ใจ รบั รู เก่ียวกับอปุ สรรค ปรบั และสงเสริมพฤตกิ รรมการออกกำลงั กายตามความตอ งการ Principle, theory, process and application of exercise psychology, to promote and develop exercise addiction behavior in variouse aspects. Principles, procedure and evalution selections for understanding and perceive barriers, for behavioral modification and needs จภวค 340 การนวด 2 (1-2-3) CHHK 340 Massage วชิ าทตี่ องศึกษากอน : จภวค 200 กายวิภาคศาสตร เรียนรูกายวิภาคศาสตรผิวกายของระบบกลามเนื้อกระดูก และระบบไหลเวียนเลือดและน้ำเหลือง เรียนรูทฤษฎีและฝกปฏิบัติ สรางเสริมทักษะการนวดแบบตะวันตก (ปจจุบัน) เรียนรูขอบงชี้ และการประยุกตใชการนวดในภาวะตางๆ ทางคลินิก วิธีการวินิจฉัย รักษา ประเมินผล และการเปรยี บเทยี บแนวคิดและหลักการของการนวดแผนตะวันตก-ตะวนั ออก A study of surface anatomy of the musculoskeletal system and blood and lymphatic systems. A study of theory and practice of the therapeutic massage of the west. A study of indications and application of therapeutic massage in various clinical conditions; diagnostic, treatment, and evaluation technique and comparison of concept and principles of western and eastern massages. 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน อ ยกวา 6 หนว ยกติ จภวค 270 วา ยน้ำเพอื่ การออกกำลังกายและสุขภาพ 1 (0-2-1) CHHK 270 Swimming for Exercise and Health วชิ าทต่ี อ งศกึ ษากอ น : ประเภทของการวา ยนำ้ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐาน มารยาท กฎ กตกิ า สำหรบั การวา ยนำ้ ประเภทตา งๆ ไดแ ก ทา ฟรสี ไตส ทา กบ ทา ผเี สอ้ื และทา กรรเชยี ง การดแู ลความปลอดภยั ทางนำ้ การชว ยเหลอื คนตกนำ้ การเสรมิ สรา งสมรรถภาพทางกาย การดแู ลสระนำ้ การเกบ็ รักษา เครอื่ งมอื และอุปกรณต างๆ Types of swimming, basic movement skils, general rules, and regulations for swimming including forward crawl stroke, breast stroke, butterfly stroke, and back stroke. Techniques and guidelines for rescue technique and physical fitness. Swimming pool, tools and equipment’s management cares and cautions. 35 คมู อื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสุขภาพ จภวค 271 พลิ าตสี 1 (0-2-1) CHHK 271 Pilates วชิ าท่ตี อ งศึกษากอ น : กลไกการเคลื่อนไหวและเทคนิคการปฏิบัติ กับหลักการฝกกับการหายใจ จากทาพื้นฐานสูทากาวหนาของพิลาติสไดถูกตอง หลักการและขอเสนอแนะการเปนผูนำการออกกำลังกายแบบพิลาติส ขอควรระวัง การเลือกทาทาง อุปกรณที่และการประยุกตทาให เหมาะสมกับความตอ งการและความสามารถของผฝู ก วิธกี ารดูแลพ้ืนที่ การเกบ็ รักษา เคร่ืองมอื และอปุ กรณตา ง ๆ เกย่ี วกับพิลาตสิ Mechanical science of Pelates movements and breathing from beginers to advanced participants. Principles and guidelines for pelates leaders, safety precaution, moves selection, equipment choices implement to individual needs and fitness levels. Floor, tools and equipmente management cares and caution for Pelates class. จภวค 272 เกมสกับการพัฒนาสมอง 1 (0-2-1) CHHK 272 Games and Brain Development วชิ าทต่ี อ งศึกษากอน : ความหมาย ความสำคญั ของเกมส ทฤษฎี หลกั การ ทม่ี คี วามสมั พนั ธต อ การพฒั นาการของสมอง การประยกุ ตใ ชเ กมสโ ดยเลอื ก รปู แบบ และกิจกรรมใหเ หมาะสมเพ่อื การพัฒนาการของสมอง Definition and importance of games. Theories, principles related to brain development. Game application by selecting the suitable models and activities to brain development. จภวค 273 จักรยาน 1 (0-2-1) CHHK 273 Cycling and Spinning วชิ าทีต่ องศกึ ษากอน : ประเภทของการขจ่ี กั รยาน ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐาน กฎ กตกิ า สำหรบั จกั รยานประเภทตา งๆ ไดแ ก จกั รยานลู จกั รยานถนน จักรยานเสือภูเขา เปนตน การประยุกตใชหลักการทางวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดปจจัยเสี่ยง ของการเกิดอาการบาดเจบ็ จากการขจ่ี ักรยาน Types of cycling, basic movement skills, rules, and regulations for cycling including track cycling, road cycling, mountain bike, etc. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from cycling. 36 คูมอื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสุขภาพ จภวค 274 เปตอง 1 (0-2-1) CHHK 274 Petanque วิชาท่ตี องศกึ ษากอน : ประเภทของเปตอง ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐาน กฎ กตกิ า สำหรบั เปตองประเภทตา งๆ ไดแ ก เดย่ี ว คู เปน ตน การประยกุ ต ใชหลักการทางวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดปจจัยเสี่ยงของการเกิดอาการบาดเจ็บจากเปตอง Types of petanque, basic movement skills, rules, and regulations for petanque including individual, doubles, etc. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from petanque. จภวค 275 การฝก ความแข็งแรง 1 (0-2-1) CHHK 275 Strength Training วชิ าทตี่ อ งศึกษากอ น : ประเภทของการฝก ความแขง็ แรง การเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐานและหลกั การฝก ความแขง็ แรง การประยกุ ตใ ชห ลกั การทางวทิ ยาศาสตร การเคลอื่ นไหวและสขุ ภาพเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและลดปจจยั เสยี่ งของการเกดิ อาการบาดเจบ็ จากการฝกความแขง็ แรง Types of strength training, basic movement skils and principles of strength training. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from strength training. จภวค 276 การออกกำลังกายดวยการตอ สู 1 (0-2-1) CHHK 276 Combat Exercise วิชาท่ีตองศกึ ษากอน : ประเภทของการออกกำลงั กายดว ยการตอ สู การเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐานและหลกั การฝก การออกกำลงั กายดว ยการตอ สู การประยกุ ต ใชห ลกั การทางวทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและลดปจ จยั เสย่ี งของการเกดิ อาการบาดเจบ็ จากการออกกำลงั กาย เพ่ือการตอสู Types of combat exercise, basic movement skills and principles of combat exercise. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from combat exercise. 37 คมู อื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ารเคลื่อนไหวและสุขภาพ จภวค 277 เดนิ -ว่ิงเพื่อสุขภาพ 1 (0-2-1) CHHK 277 Walking and Running for Health วิชาทตี่ อ งศึกษากอน : ประเภทของการเดนิ -วง่ิ เพอ่ื สขุ ภาพ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐาน กฎ กตกิ า สำหรบั การเดนิ -วง่ิ เพอ่ื สขุ ภาพ การประยกุ ตใ ช หลักการทางวิทยาศาสตรการเคลื่อนไหวและสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดปจจัยเสี่ยงของการเกิดอาการบาดเจ็บจากเดิน-วิ่งเพื่อ สุขภาพ Types of walking and running for health, basic movement skills, rules, and regulations for walking and running for health. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from walking and running for health. จภวค 278 การออกกำลังกายรา งกายและจิตใจ 1 (0-2-1) CHHK 278 Mind and Body Exercise วชิ าท่ตี องศึกษากอ น : ความเปน มา ความสำคญั และประโยชนข องการออกกำลงั กายรา งกายและจติ ใจ หลกั การฝก กบั การหายใจ กลไกการเคลอ่ื นไหว และเทคนคิ การทำทา พน้ื ฐานสทู า กา วหนา ของกจิ กรรมตา งๆไดถ กู ตอ ง หลกั การและขอ เสนอแนะการเปน ผนู ำการออกกำลงั กาย ขอ ควรระวงั การเลือกทาทาง อุปกรณที่และการประยุกตทาใหเหมาะสมกับความตองการและความสามารถของผูฝก วิธีการดูแลพื้นที่ การเก็บรักษา เคร่ืองมอื และอปุ กรณตาง ๆ Background of mind and body exercise, physical, mental and health benefits. Breathing and mechanical science of movements for beginers to advanced participants. Principles and guidelines for exercise leaders, safety precaution, movement selection, equipment implementation to individual needs and fitness levels. Floor, tools and equipment management cares and caution. จภวค 279 กฬี าแรกเก็ต 1 (0-2-1) CHHK 279 Racket Sports ประเภทของกฬี าแรกเกต็ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวขน้ั พน้ื ฐาน กฎ กตกิ า สำหรบั กฬี าแรกเกต็ ประเภทตา งๆ ไดแ ก เทนนสิ เทเบลิ เทนนสิ แบดมินตนั เปน ตน การประยกุ ตใ ชห ลกั การทางวิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสุขภาพเพื่อเพิม่ ประสทิ ธิภาพและลดปจ จัยเสี่ยงของการ เกดิ อาการบาดเจ็บจากกีฬาแรกเก็ต Types of racket sports, basic movement skills, rules, and regulations for racket sports including tennis, table tennis, badminton, etc. Application of movement science and health science principles to enhance performance and reduce risks of injuries from racket sports. 38 คมู อื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก ารเคลอื่ นไหวและสุขภาพ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาพ นักศกึ ษาเลือกเรยี นรายวิชาที่เปด สอนในวทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาจฬุ าภรณ หรือจากสถาบันที่ ราชวิทยาจุฬาภรณมีความรวมมือในการจัดการเรียนการสอน ขอ มลู หมายเลขโทรศัพทติดตอโรงเรียนวิทยาศาสตรก ารเคล่อื นไหวและสุขภาพ สถานที่ โรงเรียนวทิ ยาศาสตรการเคล่ือนไหวและสุขภาพ คณะเทคโนโลยวี ทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ ชั้น 3 อาคารบรหิ าร 2 CAT โซน 906 ถนนกำแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ 10210 เบอรโทรศัพท 06-4585-5285 ชว งเวลา วันจันทร – ศกุ ร เวลา 08.00 – 16.00 น. ยกเวน วันหยุดนักขตั ฤกษ E-mail [email protected] Facebook www.facebook.com/humankinetics.pccms 39 คมู อื หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรการเคล่อื นไหวและสขุ ภาพ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ
คณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตรส ุขภาพ วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ 906 ถนนกำแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทร 0-2576-6000 และ 06-4585-5285 วนั เวลาทำการ ทุกวันจนั ทร – ศุกร ต้ังแตเ วลา 08.00 – 16.00 น. ยกเวน วันหยดุ นักขัตฤกษ Facebook Scan QR
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: