Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ประวัติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

Published by Siriporn Punmain, 2020-03-29 13:43:03

Description: ประวัติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

Keywords: พระราชประวัติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า

Search

Read the Text Version

พระราชประวตั สิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา เจา้ ฟา้ มหาจกั รสี ริ นิ ธร มหาวชริ าลงกรณวรราชภกั ดี สริ กิ จิ การณิ พี รี ยพฒั น รฐั สีมาคณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ เจ้าฟ้ ามหาจกั รีสริ ินธร รัฐสมี าคณุ ากรปิ ยชาติ สยามบรมราชกมุ ารีทรงเป็น สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอพระองค์ท่ี ๓ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชสมภพเม่ือ วนั เสาร์ท่ี ๒ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๔๙๘ ณ พระท่นี ่งั อมั พรสถาน พระราชวังดุสติ ได้รับ พระราชทานพระนามว่า สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้ าสริ ินธรเทพรัตนสดุ ากติ วิ ฒั นาดลุ โสภาคย์ ด้วยเหตทุ ่ที รงบาเพญ็ พระราชกจิ จานุกจิ นานัปการอนั เป็นประโยชนแ์ กแ่ ผ่นดินและราษฎรพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว จงึ มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สถาปนาพระราชอสิ ริยยศและพระราชอิสริย ศกั ด์ิ เป็นสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ เจา้ ฟ้ ามหาจกั รีสิรนิ ธร รฐั สมี าคณุ ากรปิ ยชาติสยามบรมราชกมุ ารี ใน การพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๒๐ และจากพระวริ ิยะอุตสาหะในการทรงศกึ ษา หาความรู้ และบาเพญ็ พระราชกจิ นานปั การ พระเกยี รตคิ ณุ เป็นท่ปี ระจกั ษช์ ัดแจ้งท้งั ในราชอาณาจักร และนานาชาติ จึงทรงรบั พระราชทาน เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ แห่งราชอาณาจกั รไทยและทรงรับการทูลเกล้าฯ ถวาย เครื่องราชอิสริยาภรณต์ ่างประเทศ ห้องสมุดประชาชนอำเภอวดั โบสถ์

การศึกษา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเร่ิมต้นการศึกษาระดับอนุบาล เม่ือพุทธศักราช ๒๕๐๑ ณ โรงเรียนจิตรลดา ในเขตพระราชฐานพระตาหนกั จติ รลดารโหฐาน พระราชวังดุสติ โดยทรงศึกษา ต่อเน่ือง ไปจนถึงระดับมัธยมศึกษา ตลอดระยะเวลาท่ที รงศึกษา ทรงเอาพระทยั ใส่ในการเรียนโปรดการอ่าน และการศึกษา วรรณคดี ท้งั ของไทยและต่างประเทศ ทรงเร่ิมแต่งคาประพันธต์ ่าง ๆ ท้งั ร้อยแก้ว และร้อยกรอง ต้งั แต่ยงั ทรงศึกษา ในช้ันประถมศึกษา โปรดการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ท้งั ด้านกีฬา ดนตรี บันเทงิ และกิจกรรมเพ่ือ สาธารณประโยชน์ หลังจากทรงสาเร็จการศึกษา ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย ในแผนกศิลปะ จากโรงเรียนจิตรลดา เม่ือ พุทธศักราช ๒๕๑๖ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี ทรงสอบเข้าศกึ ษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้จะมีพระราชภารกจิ โดยเสดจ็ พระราชดาเนินพระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปเย่ียมราษฎรในภูมิภาคต่าง ๆ แต่กท็ รงมีพระวิริ ยะ อุตสาหะ ในการเรียนอย่างย่ิงและยังทรงร่วม กจิ กรรมของคณะ และของมหาวิทยาลัย เช่นเดียวกบั นิสติ ท่วั ไป ในปี การศึกษา ๒๕๑๙ ทรงสาเรจ็ การศึกษา และทรงเข้ารับพระราชทานปริญญาอกั ษรศาสตรบัณฑติ เกียรตินิยมอนั ดับ หน่ึง เหรียญทอง สาขาวชิ าประวัติศาสตร์ ในพุทธศักราช ๒๕๒๐ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสมัครเข้าศึกษาต่อ ระดับ มหาบณั ฑติ ณ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากรและจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั พร้อมกนั ท้งั สองแห่ง ทรงสาเรจ็ การศึกษาศิลปศา สตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาจารึกภาษาตะวันออก จากมหาวิทยาลัยศิลปากรในปี การศึกษา ๒๕๒๒ หลังจากน้ัน ทรง สาเร็จการศึกษา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี - สันสกฤต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี การศึกษา ๒๕๒๔ ต่อมา ด้วยความสนพระทยั งานด้านการพัฒนา โดยอาศัยหลักวิชาการศึกษา หรือการเรียนรู้เป็น แกน จึงทรงสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับดุษฎีบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทรงสาเรจ็ การศกึ ษา และรับ พระราชทานปริญญา การศึกษาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาพฒั นศึกษาศาสตร์ในปี การศกึ ษา ๒๕๒๙ ห้องสมุดประชาชนอำเภอวดั โบสถ์

หลักคิดในการใช้การศึกษาเป็นปัจจัยหลักในการสร้าง และพัฒนาความรู้ ความคิดของประชาชน และเป็น เคร่ืองมือในการพัฒนาชุมชน และสังคมท่ที รงได้รับจากการศึกษา ในระดับดุษฎีบัณฑิต ผนวกกับประสบการณ์ ท่ี ทรงเรียนรู้ จากการโดยเสดจ็ พระราชดาเนิน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวจึงเป็นพ้ืนฐานความรู้ท่แี ขง็ แกร่งในการ ทรงงานพฒั นา ของพระองค์เอง ในเวลาต่อมา จวบจนปัจจุบนั นอกเหนือจากการศึกษาในระบบ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังสนพระทัยศึกษา เพ่มิ เติม ดูงาน ประชุมสมั มนาและฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เพ่อื เพ่มิ พนู ทกั ษะ ความรู้ ในวชิ าการด้านอ่นื ๆ อกี หลาย ด้าน เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ อุทกศาสตร์ พฤกษศาสตร์การจัดการทรัพยากรดินและนา้ รีโมตเซนซ่ิง ระบบภูมิ สารสนเทศ แผนท่ี โภชนาการ เป็นต้น ด้วยมีพระราชประสงค์ ท่จี ะนาความร้ทู ่ไี ด้จากวชิ าการเหล่าน้ีไปประยุกตใ์ ช้ใน การทรงงานพัฒนาชุมชน และยกระดบั ชวี ติ ความเป็นอยู่ของราษฎร ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอวัดโบสถ์

การรบั ราชการ หลงั จากทรงสาเรจ็ การศึกษาระดับอดุ มศกึ ษาแล้ว ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๒๓ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเข้ารับราชการเป็นอาจารย์กองวชิ ากฎหมายและสงั คมศาสตร์ สว่ นการศึกษา โรงเรยี นนาย ร้อยพระจุลจอมเกล้า ทรงสอนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ไทยและสงั คมวทิ ยาต่อมาในพุทธศกั ราช ๒๕๓๐ ได้มกี ารต้งั กอง วิชาประวตั ศิ าสตร์ข้นึ ใหม่ โดยสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีพระยศ พนั เอก ทรงดารงตาแหน่ง หัวหน้ากอง (ซ่งึ ต่อมาได้มกี ารขยายตาแหน่งเป็นผ้อู านวยการกองในพทุ ธศักราช ๒๕๓๒ พร้อมกบั กองอ่นื ๆ)ทรง เป็นผ้อู านวยการกองวิชาประวตั ิศาสตร์พระองคแ์ รกจนถงึ ปัจจุบนั มีพระราชภารกจิ ท้งั การบริหาร การสอน และงาน วชิ าการอ่นื ๆต่อมา ทรงได้รับพระราชทานพระยศ พลเอก ในพทุ ธศักราช ๒๕๓๙ และทรงได้รับโปรดเกล้าฯ แตง่ ต้งั เป็นศาสตราจารย์ (อตั ราจอมพล)ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓ นอกจากน้ี ยงั ได้ทรงรับเชญิ เป็นอาจารยพ์ เิ ศษบรรยาย วชิ าการ ณ สถาบนั การศึกษาต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอวัดโบสถ์

พระราชกจิ นอกเหนือจากพระราชภารกิจในหน้าท่ีราชการ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง ปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกิจดา้ นต่าง ๆครอบคลมุ งานสาคัญ ๆ อนั เป็นประโยชน์หลักของบ้านเมอื ง เกอื บทุกด้าน และ ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัย ให้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจที่ทรงสืบสาน ต่อจากพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถตามท่ที รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯประธานกรรมการมูลนิธิ ชัยพัฒนา ประธานมูลนธิ ริ างวลั สมเดจ็ เจ้าฟ้ ามหิดล อุปนายิกาผู้อานวยการสภากาชาดไทย รวมท้งั การเสดจ็ พระราช ดาเนินแทนพระองค์ และการปฏบิ ัติพระราชกรณียกจิ แทนพระองค์ ในโอกาสต่าง ๆ เช่น การพระราชทานพระราช วโรกาสให้คณะบุคคลต่าง ๆ เฝ้ า ฯการพระราชทานปริญญาบัตร การถวายผ้าพระกฐิน เป็นต้น สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารีทรงจัดต้ังโครงการต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตเดก็ และเยาวชนผู้ยากไร้ในชนบทโดยเฉพาะการสง่ เสริมสขุ ภาพอนามัย และแก้ไขปัญหาภาวะทพุ โภชนาการ ทรงเหน็ ว่า เดก็ จะเรียนหนังสอื ไม่ได้ ถ้าท้องหิว หรือเจบ็ ป่ วยจึงทรงริเร่ิมโครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน ในโรงเรียนตารวจ ตระเวนชายแดน ต้ังแต่พุทธศักราช ๒๕๒๓ ทรงเห็นความสาคัญของการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงพระราชทานพระราช ทรัพย์ให้ก่อสร้างโรงเรียนในถ่ินทุรกันดาร ศูนย์การเรียนชุมชนสาหรับชาวไทยภูเขา ห้องเ รียนเคล่ือนท่ี ท้ัง พระราชทานพระราชทรัพย์เป็นค่าตอบแทนครูผู้สอน และทรงจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนพระราชทาน เพ่ือให้ เยาวชนมีโอกาสได้รับการศึกษาท่เี หมาะสมจะได้มีความสามารถในการพ่ึงตนเอง และเป็นท่พี ่ึงของครอบครัวได้ใน อนาคต ทรงติดตามการดาเนินงาน โครงการตามพระราชดาริอย่างใกล้ชิด และเสดจ็ พระราชดาเนินเย่ียมราษฎรใน โครงการ ด้วยพระองค์เองเสมอ จากการท่มี ปี ระชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ได้ทลู เกล้าฯ ถวายเงินเพ่อื โดยเสดจ็ พระราชกศุ ล หรือสมทบทนุ ดาเนนิ งานโครงการพฒั นาตา่ ง ๆจงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้นาเงินท่มี ีผ้ทู ลู เกล้าฯ ถวายดังกล่าวมาจัดต้งั เป็น กองทนุ ทุนการกุศลสมเดจ็ พระเทพฯ เพ่อื ให้การสงเคราะห์ช่วยเหลอื ประชาชนผ้ทู กุ ขย์ ากเดือดร้อน หรือเพ่อื การ สาธารณประโยชน์อ่นื ๆ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอวดั โบสถ์

นอกเหนือจากงานพัฒนา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยงาน ศิลปวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างย่ิง มีพระราชดาริว่าควรจะมีการถ่ายทอดงานด้านวัฒนธรรมไปส่เู ดก็ และเยาวชนรุ่น ใหม่ผ่านกระบวนการจัดการศึกษาอบรม ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้คนรุ่นใหม่เหล่าน้ีได้เรียนรู้ ตระหนักความสาคัญ รักและผูกพันในศิลปวัฒนธรรมของชาติ สามารถสืบทอด เพ่ือการอนุรักษ์และอาจพัฒนาเป็นอาชีพได้ ทรงสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมเพ่ืออนุรักษ์และสืบทอดมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมของไทย พระอุตสาหะในการปฏิบัติกิจการอันเป็ นประโยชน์แก่บ้านเมืองและประชาชน เป็ นท่ี ประจักษ์แก่พสกนิกรท่วั หน้า จึงทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเกียรติยศพระเกียรติคุณ ตาแหน่งเกียรติยศ และปริญญากติ ติมศกั ด์ิ จากสถาบัน หน่วยงานและองค์กร ท้งั ในราชอาณาจกั รและต่างประเทศจานวนมาก พระราชจริยาวัตรท่ปี ระชาชนท่วั ไปได้เห็นประจักษ์ คือ พระเมตตาและความเอาพระทัยใส่ในชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชน สมเดจ็ พระเทพรัตน-ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชปณิธานท่จี ะช่วยเหลือผู้ท่ที ุกข์ ยาก เดือดร้อนโดยไม่เลือกช้นั วรรณะ เผ่าพันธุ์ เช้ือชาติ ศาสนา พสกนิกรต่างยกย่อง และช่นื ชมในพระบารมี ดังน้นั เพ่ือเป็ นการเทิดพระเกียรติท่ที รงมีคุณูปการต่อชาติบ้านเมืองในด้านต่าง ๆ มาโดยตลอด จึงมีบุคคล หน่วยงาน สมาคม และองค์กรต่าง ๆ ท้งั ในราชอาณาจักรและในต่างประเทศ ขอพระราชทานอญั เชิญพระนามาภิไธย และขอ พระราชทานนาม ไปเป็นช่ือพรรณพืชและสัตว์ท่คี ้นพบใหม่ในโลก รวมท้งั สถานท่ี และส่ิงต่าง ๆ เป็นจานวนมาก เพ่อื เป็นการเฉลมิ พระเกยี รตแิ ละเป็นสริ ิมงคลสบื ไป นอกจากน้ี รับสมาคมสถาบัน และองค์กรต่าง ๆ ท่จี ดั ต้งั ข้นึ ตาม แนวพระราชดาริ หรือท่มี วี ตั ถุประสงคด์ าเนินการในเร่ืองต่าง ๆ เพ่อื ช่วยเหลือผ้ดู ้อยโอกาส ผ้ขู าดแคลนหรือเพ่อื การ สาธารณประโยชนไ์ ว้ในพระราชูปถมั ภ์ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอวดั โบสถ์

งานอดเิ รก ยามท่ที รงว่างจากพระราชกจิ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ โดยทรงมี งานอดิเรกท่สี นพระทยั หลายประเภท เช่น ดนตรี งานศิลป์ กฬี า งานสะสม การทศั นศึกษา การอ่านและ สะสมหนังสือ ทรงมีหอสมดุ ส่วนพระองค์ท่จี ดั เกบ็ หนงั สอื หลากหลายประเภทท้งั ท่ที รงเลือกซ้ือด้วยพระองค์เองและ ท่มี ีผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย และดังเช่นเป็นท่ที ราบกนั ทว่ั ไปว่า ทรงมีพระอจั ฉริยภาพในการเรียงร้อยอักษรจึงทรงพระราช นิพนธร์ ้อยแก้วและร้อยกรองไว้เป็นจานวนมาก มีท้งั ประเภทบทความ เร่ืองส้ัน ความเรียง คานา บทกวี บทเพลง เร่ืองแปล และสารคดี เป็ นต้นรวมท้ังพระราชนิพนธ์ชุดเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ ซ่ึงเปรียบเสมือน “บันทกึ การเดนิ ทาง” ท่ใี ห้ท้งั ความร้แู ละความเพลดิ เพลนิ แกผ่ ้อู า่ น ในปัจจุบัน สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ยังสนพระทยั ศกึ ษาและฝึกฝนเรียนร้ทู กั ษะ ภาษาและวชิ าการต่าง ๆ อย่มู ไิ ด้ขาดเช่น ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน เทคโนโลยีสารสนเทศ ดาราศาสตร์ เทคโนโลยชี วี ภาพ เป็นต้น พระปรีชาสามารถดา้ นภาษาเป็นทป่ี ระจกั ษ์โดยทว่ั หน้า นอกจากน้ี ยังสนพระทยั เข้าร่วม การประชมุ แลกเปล่ยี นข้อคดิ เหน็ ทรงศกึ ษาดูงาน และทรงพบปะสนทนากบั ปราชญ์ด้านต่าง ๆอย่เู ป็นประจา เพ่อื ทรงรับความร้ใู หม่ ๆ และทนั สมยั อย่เู สมอ พระอจั ฉริยภาพทางการดนตรี ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอวัดโบสถ์

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงคุ้นเคยกับเสยี งดนตรีไทยมาต้ังแต่ยังทรงพระเยาว์ นับจากวันเสด็จพระราชสมภพในการพระราชพิธีสมโภชต่าง ๆ เช่น เม่ือพระชันษาครบ ๓ วัน หรือพระราชพิธี สมโภชเดือน ข้ึนพระอู่ กม็ ีวงดนตรีไทยประโคมประกอบในพิธที ุกคร้ังไปตามโบราณราชประเพณี พระพ่ีเล้ยี งกล่อม พระบรรทมกร็ ้องเพลงกล่อมเดก็ หรือเพลงไทยง่ายๆ ถวาย คร้ันทรงเจริญพระชนั ษาได้โดยเสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยู่หัวและสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปในการพระราชพิธีต่าง ๆ หลายงาน มีวงดนตรีหรือแตร สงั ข์ บัณเฑาะว์ บรรเลงประกอบในพิธี กอ่ นท่สี มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จะตดั สนิ พระทยั เลอื กฝึกดนตรีไทยน้นั เป็นเวลาท่ี เพลงไทยประเภทลูกทุ่งกาลังเฟ่ื องฟูทรงติดตามฟังและโปรดเป็ นอันมาก เพราะเป็ นเพลงท่ี แสดงถึงชีวิต และ อารมณข์ องคนไทยได้ดี ทรงร้องเพลงลูกทงุ่ ได้หลายเพลงเพลงลูกท่งุ หลายเพลงใช้ทานองเพลงไทยเดมิ ง่าย แล้วแต่ง เน้ือเพลงข้ึนใหม่ และทาได้ไพเราะน่าฟัง ทาให้ทรงรู้จักทานองเพลงไทยเดิมหลายเพลงจึงเป็ นเหตุหน่ึงท่ีทาให้ พระองค์ทรงดนตรีไทยในระยะต่อมา ในช่ัวโมงภาษาไทย อาจารย์กาชัย ทองหล่อ มักจะสอนให้นักเรียนจิตรลดา อ่านหนังสอื บทกลอนเข้าทานองต่าง ๆ ต้ังแต่หัดสวดกาพย์พระไชยสุริยาไปจนร้องเพลงไทยง่ายๆ นักเรียนคนใด อ่าน และเพลงต่าง ๆ ได้เหมาะสมถูกต้อง จะได้คะแนนเพ่ิม ขณะเดียวกัน นักเรียนได้ความรู้ด้านดนตรีไทย กอ่ ให้เกดิ ความภมู ิใจในวฒั นธรรมไทยย่ิงทาให้ทรงซมึ ซบั ความไพเราะของดนตรีไทยมากข้ึน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเร่ิมหัดดนตรีไทยขณะทรงศกึ ษาอยู่ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ทรงเลือกหัดซอด้วง ทรงเร่ิมต่อเพลงพ้ืนฐาน เช่น เพลงฉ่ิง ๓ ช้ัน เพลงจระเข้หางยาว ตวงพระธาตุ นกขม้ิน เป็นต้น ต่อมาทรงเรียนพเิ ศษ และทรงเรียนร้องเพลงกบั คุณหญิงไพฑรู ย์ กติ ตวิ รรณเม่อื สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเข้าศึกษาต่อท่คี ณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ทรงเข้าเป็นสมาชิกชมรมดนตรี ไทยท้งั ของคณะอักษรศาสตร์ และชมรมดนตรีไทยสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงซอด้วงเป็นหลัก และ ทรงหัดเล่น เคร่ืองดนตรีชนดิ อ่นื ๆ ด้วย เช่นซออู้ จะเข้ ขลุ่ย นอกจากน้นั ทรงเรียนร้องเพลงไทยกบั อาจารย์เจริญใจ สนุ ทรวาทนิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดระนาดมาต้ังแต่ยังทรงพระเยาว์ แต่ทรงตัดสิน พระทยั เรียนระนาดเอกกับครูสริ ิชัยชาญ ฟักจารูญอย่างจริงจังเม่ือเดือนกรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ เม่ือเสดจ็ ฯ ไปทรงดนตรีเป็นประจาท่บี ้านปลายเนิน คลองเตย ซ่งึ เป็นวงั ของสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ ากรมพระยานรศิ รา นุวัดติวงศ์ ทรงฝึ กหัดอย่างถูกแบบแผน ต้ังแต่การจับไม้ระนาดและท่าประทับ ขณะทรงระนาด ทรงปรารภว่า ตีระนาดน้ี เม่ือยพระองค์ทรงเรียนตีระนาดตามแบบอย่างโบราณ เร่ิมด้วยเพลงต้นเพลงฉ่ิงสามช้ัน แล้วจึงทรงต่อ เพลงจระเข้หางยาว เพลงตวงพระธาตุ และเพลงอ่นื ๆ ทรงฝึกไล่ระนาดทุกเช้าในห้องพระบรรทม และทรงฝึกการตี ระนาดแบบต่าง ๆ ซ่ึงบุคคลภายนอกไม่มีผู้ใดทราบว่าทรงฝึ กระนาดเอก จนถึงปี พุทธศักราช ๒๕๒๙ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่เป็นเจ้าภาพจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา คร้ังท่ี ๑๗ ได้ทรงบรรเลงระนาดเอก ให้สาธารณชน ได้ชมเป็นคร้ังแรก เพลงท่ที รงบรรเลงคอื เพลงนกขม้ิน(เถา) ร่วมกบั ครอู าวุโสของวงการดนตรีไทยหลายทา่ น ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอวดั โบสถ์

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารีเสดจ็ ฯ ร่วมงานชุมนุมดนตรีไทยของสถาบนั ระดบั อุดมศึกษาเป็นคร้ังแรก ในงานดนตรีไทยอุดมศกึ ษาคร้ังท่ี ๑๒ เม่อื ๒๒ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ ณ เวที ลลี าศ สวนอมั พร งานคร้ังน้จี ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เป็นเจ้าภาพจัดงาน นับแต่น้ันได้เสดจ็ ฯไปทรงร่วมงาน อย่าง สมา่ เสมอ หากไม่มีพระราชกจิ อ่นื ทท่ี รงรับไว้กอ่ นแล้ว ในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา คร้ังท่ี ๑๗ (กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๙) ซ่ึงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็น เจ้าภาพ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระราชนิพนธค์ าร้องเพลงชืน่ ชมุ นุมกล่มุ ดนตรี ท่ี อาจารย์มนตรี ตราโมท เป็นผ้ปู ระพนั ธท์ านอง เพ่อื พระราชทานให้เป็นเพลงประจา และเป็นเพลงสญั ลักษณข์ องงาน ดนตรีไทยอุดมศึกษา ในวันเปิ ดงานดนตรีไทยคร้ังน้ี (วันท่ี ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๙) ได้ทรงระนาดเอกนาวงดนตรีทุกสถาบัน บรรเลงเพลงช่ืนชุมนุมกลุ่มดนตรี โดยใช้นิสิตนักศึกษาจานวนมากขับร้องหมู่ และออกอากาศเป็นรายการสดทาง สถานีวิทยุกระจายเสยี งจากภาควิชาส่อื สารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อมาได้ใช้ เพลงน้ีบรรเลงเป็นเพลงเปิ ด งานในงานดนตรีไทยอดุ มศึกษาทุกปี มาจนถงึ ทกุ วนั น้ี นอกจากน้ัน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังได้เสดจ็ ฯ ไปทรงเป็ นประธานในงาน มหกรรมมหาดุริยางค์ไทย (งานดนตรีไทยมัธยมศึกษา) และงานดนตรีไทยประถมศึกษา และทรงพระกรุณาทรง ดนตรีร่วมกบั นักเรียนด้วย ต่อมาทรงพระราชนิพนธบ์ ทความเร่ือง เด็กและดนตรีไทยลงพิมพใ์ นหนังสอื ท่รี ะลกึ งาน ดนตรีไทยอุดมศึกษา ซ่ึงมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพ เม่ือปี พุทธศักราช ๒๕๓๐ ในบทพระราชนิพนธ์น้ี ได้ พระราชทานข้อสังเกตเก่ยี วกับการสอนดนตรีไทยให้แก่เดก็ ๆ ทรงเสนอแนะ วิธีการสอนดนตรีไทยเด็ก ในแง่มุม ต่าง ๆ ถึง ๑๐ ประการ และทรงแสดงทศั นะเร่ืองการสอนดนตรีเดก็ ช้ันประถมศกึ ษาตอนต้น ไว้ในบทความ เหตุใด ขา้ พเจา้ จึงชอบดนตรีไทย ห้องสมุดประชาชนอำเภอวดั โบสถ์

ในฐานะท่ที รงเป็น ทูลกระหม่อมอาจารย์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงดนตรี ไทยร่วมกับนักเรียนนายร้อยชมรมดนตรีไทยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ แพร่ภาพออกอากาศทาง สถานีโทรทศั น์กองทพั บกช่อง ๕ ทุกวันท่ี ๒๓ ตุลาคม ซ่ึงเป็นวันปิ ยมหาราช พร้อมท้งั ทรงพระราชนิพนธ์บทเพลง เพ่ือแสดงความราลึกถึงพระมหากรุณาธคิ ุณ และเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ พระราชทานกาเนิดโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ นอกจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงศึกษาดนตรีไทยแล้ว ยังทรงศึกษา ดนตรีสากลด้วย พระอาจารย์คนแรก ท่ถี วายการสอนดนตรีสากลคือ อาจารย์มาลยั วัลย์ บุณยะรัตเวช ถวายการสอน เปี ยโน ขณะทรงมีพระชนมายุ ๑๐ พรรษา อกี ๒ ปี ต่อมา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี จึงกราบ บังคมทูลสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ขอพระราชทานพระราชานุญาต เรียนภาษาฝร่ังเศสแทนการเรียน เปี ยโน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงฝึกเคร่ืองดนตรีสากลประเภทเคร่ืองเป่ า จาก พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวจนสามารถทรงทรัมเปตโซโลนาวงดุริยางค์ในงานคอนเสริ ์ตสายใจไทย และทรงระนาด ฝร่ังนาวงดรุ ิยางค์ในงานกาชาดคอนเสริ ์ต “...ขา้ พเจา้ เคยหดั เลน่ ดนตรีมาหลายอยา่ งตงั้ แต่เดก็ เร่มิ จากเปียโน แลว้ กม็ าสนใจดนตรีไทย... นอกจากเรียนดนตรี ไทยแลว้ ขา้ พเจา้ หดั เลน่ ทรมั เปตบีแฟลตในวงแตรวง (สมคั รเลน่ ) เล่นไดท้ งั้ เพลงไทยและเพลงสากล ซึง่ ทาให้ ขา้ พเจา้ อ่านโนต้ สากลไดด้ ีข้นึ นอกจากนนั้ ยงั ชอบฟังเพลง โยธวาทิตมาตงั้ แต่ยงั เดก็ ๆ...” ในปี ๒๕๑๖ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชดาเนินไปยังกรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยยี ม ได้ทอดพระเนตรพิพิธภณั ฑด์ นตรีเป็นคร้ังแรก ทรงเหน็ ว่าพิพิธภัณฑน์ ้จี ัดได้ดมี าก เคร่ืองดนตรีท่ี จัดแสดงมีคาบรรยายประกอบ และยังจัดพิมพ์หนังสอื แสดงเร่ืองราวของเคร่ืองดนตรีท่จี ัดแสดงอย่างละเอียด ให้ ความรู้ความซาบซ้ึงแก่ผู้มาชมได้เป็นอย่างดี ต่อมาได้ทอดพระเนตรพิพิธภัณฑ์ดนตรีท่ีอ่นื ๆ อกี หลายแห่ง ทาให้มี พระราชดาริเห็นว่าประเทศไทยกค็ วรคิดจัดพิพิธภัณฑ์ดนตรี เพ่ือให้ความรู้เร่ืองศิลปะประจาชาติแก่ผู้สนใจท่วั ไป เช่นเดียวกนั ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอวัดโบสถ์