Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มโครงงานวิทย์พลังงาน (บัวเชด) ล่าสุด 27 7 66

เล่มโครงงานวิทย์พลังงาน (บัวเชด) ล่าสุด 27 7 66

Published by Guset User, 2023-08-07 04:25:31

Description: เล่มโครงงานวิทย์พลังงาน (บัวเชด) ล่าสุด 27 7 66

Search

Read the Text Version

1

ก ช่ือเร่อื ง โครงงานวทิ ยาศาสตรด์ า้ นการใช้และอนรุ ักษ์พลงั งานไฟฟา้ เพื่อชีวติ และสังคม “เรือ่ งเครื่องบดพลงั งานสะอาดอนุรกั ษธ์ รรมชาตแิ ละ สิง่ แวดล้อม” ผูศ้ ึกษาคน้ คว้า 1.นายเกียรติพัฒน์ ผิวจนั ทร์ 2.นายณชั พล ทองเบ้ือง 3.นายสิริวัฒน์ ไชยศรี ผบู้ รหิ ารทป่ี รึกษา นางสมจิต ผาดไธสง ครทู ีป่ รึกษาโครงงาน นายวรเชษฐ จนั ทมล และนายอไุ ทย พรมทา สถานศึกษา ศูนยส์ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้อำเภอบวั เชด จงั หวดั สุรินทร์ ปีการศกึ ษา 2566 บทคดั ย่อ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการใช้และอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิตและ สังคม \"เร่อื งเครอ่ื งบดพลงั งานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม” มแี นวคิดมาจากการบดย่อยพชื อาหาร สัตว์และหอยเชอรี่ ซึ่งเป็นศัตรูพืชผลทางการเกษตรปัญหาต่อผลผลิตทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่าง มาก กลุ่มผู้จัดทำโครงงานจงึ มีแนวคิดท่ีจะสร้าง \" เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรกั ษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม” มาใช้ในการกำจัดศัตรูพืชผลทางการเกษตร และลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร เช่น พลังงานไฟฟ้า พลังงาน เชื้อเพลิง น้ำมนั เปน็ ตน้ นอกจากนั้นยงั ช่วยในเรือ่ งการดแู ล เสริมสร้างสมรรถนะทางร่างกายใหส้ มบูรณ์แข็งแรง โดยการป่ัน \"เครื่องบดพลงั งานกลเพอื่ สขุ ภาพ\" จากข้อมูลข้างต้นคณะผู้จัดทำโครงงาน ได้เล็งเห็นความสำคัญดา้ นการใช้และอนุรักษ์พลังานไฟฟ้า เพ่ือชีวิตและสังคมจงึ ได้มีแนวคิดในการพฒั นานวัตกรรม ต่อยอดความรู้ พฒั นาเครอ่ื งบดพลังงานกลเพื่อสุขภาพ มาเป็นเครือ่ งบดพลังงานสะดาด อนรุ กั ษธ์ รรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใชร้ ะบบพลังงานทดแทน จากแสงอาทิตย์ เพอื่ ประหยัดพลังงานไฟฟา้ ไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ ในชีวิตประจำวัน และมปี ระสทิ ธิภาพในการใช้งานอยา่ งดเี ย่ียม วัสดุเหลือใช้ และจักรยานที่ชำรุด ฯลฯ มาประดิษฐ์เป็น \"เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม \" เพอ่ื กำจดั หอยเชอรี่ ซ่ึงเป็นศตั รพู ชื กดั กินต้นขา้ วของเกษตรกร รวมทัง้ ยงั สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการเลี้ยงสตั ว์ เช่น เป็ด ไก่เป็นต้น และยังช่วยใหส้ ุขภาพร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง จากการออกกำลังกายด้วย การปน่ั \"เคร่อื งบดพลงั งานกลเพือ่ สขุ ภาพ\" อกี ดว้ ย คณะผู้จัดทำโครงงานไดน้ ำ \"เครือ่ ง บดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม \" ไปทดลองใช้ ผลปรากฏว่าสามารถตอบโจทย์ของชิ้นงานได้ดีเพราะสามารถนำไปใช้ได้จริงและประสบผลสำเร็จ เป็นอย่างมาก สามารถนำสิง่ ประดิษฐ์น้ีไปใช้ในชุมชนเพื่อเป็นการขยายผลและต่อยอดของสิ่งประดิษฐ์ รวมไปถึง การลดต้นทุน การผลิตทางการเกษตร และยังได้ช่วยรณรงค์ในการลดใช้พลังงานและดูแลสิ่งแวดล้อมให้ ปราศจากการใชส้ ารเคมอี ย่างย่งั ยนื ต่อไป

ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ตา้ นดา้ นการใชแ้ ละอนรุ ักษ์พลงั งานไฟฟ้าเพ่ือชีวิตและสงั คม \" เคร่ืองบดพลังงาน สะอาดอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อม \"ประกอบไปดว้ ยการดำเนนิ งานหลายข้ันตอน การศึกษาหาขอ้ มลู การ ทดลอง การวิเคราะห์ การสรุปผลการทดลอง การจัดทำเอกสารเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ จนกระทั่งการประดิษฐ์ \"เคร่อื งบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม\" สำเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี เพราะได้รบั ความอนุเคราะห์ ส่งเสริม สนับสนุน และแนะนำในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับกำลงั ใจจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง คณะผู้จัดทำโครงงาน ตระหนกั และซาบซึง้ ในความกรุณาจากทุกๆ ท่านเปน็ อย่างสูง ขอขอบพระคุณ ดร.ปัญญา ศาสตรา ผู้อำนวยการ สำนกั งานส่งเสรมิ การเรยี นรจู้ ังหวัดสุรินทร์ นางสาวผกาวดี สุขศิรสิ วัสดิกุล รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานส่งเสริมการเรียนร้จู งั หวัดสรุ ินทร์ นางสมจิต ผาดไธสง ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอสังขะ รักษาการผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอบัวเชด จงั หวัดสุรินทร์ ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษานครราชสีมา คณะครูและบคุ ลากร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรอู้ ำเภอ บัวเชด ที่ให้คำปรึกษาระหว่างการทดลอง การแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ จนทำให้โครงงานนี้สำเร็จไปได้ด้วยดี คณะผู้จดั ทำขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี คณะผ้จู ดั ทำ 24 กรกฎาคม 2566

สารบญั ค เรอื่ ง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก ข บทคดั ยอ่ ค ง สารบัญ 1 1 สารบญั ภาพ 1 1 บทที่ 1 บทนำ 1 2 1.1 หลักการและเหตผุ ล 2 3 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน 4 4 1.3 สมมตฐิ านของการศึกษาคน้ คว้า 4 6 1.4 ตวั แปรที่ใช้ในการศกึ ษา 6 6 1.5 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 11 1.6 ขอบเขตของการศึกษา 12 1.7 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 12 12 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 14 14 2.1 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง 14 14 2.2 หลกั การทำงานโซลา่ เซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลลแ์ สงอาทิตย์ จ บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ การ 3.1 วิธีการดำเนินการ 3.2 วัสดอุ ุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนนิ โครงงาน 3.3 แผนการปฏบิ ตั ิงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ดา้ นการใชแ้ ละอนุรักษ์พลังงาน ไฟฟา้ เพ่ือชวี ิตและสงั คม \" เครอ่ื งบดพลังงานสะอาดอนุรักษธ์ รรมชาติและ สงิ่ แวดล้อม\" บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ 4.1 จดุ มุง่ หมายของโครงงาน 4.2 ผลการใชง้ าน \"เครอื่ งบดพลังงานสะอาดอนุรกั ษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม\" บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดำเนนิ โครงงาน 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

ง สารบัญรูปภาพ ภาพท่ี หนา้ 1 หลกั การทำงานโซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ 4 2 โซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลลแ์ สงอาทิตย์ 5 3 รถจักรยานเก่า 6 4 เหล็กกลอ่ ง 6 5 ตูเ้ ชือ่ มเหล็ก 6 6 สายพาน 7 7 โมโ่ รงสี 7 8 สสี เปรย์ 7 9 แผงโซลา่ เซลล์ 7 10 สายไฟ 7 11 มอเตอร์ DC บัสเลส 7 12 โซล่าชาร์เจอร์ 7 13 เบรกเกอร์ DC 7 14 ชุดใบมดี 8 15 อนิ เวอร์เตอร์แปลงไฟ 8 16 โซ่รถจกั รยานยนต์ 8 17 ปุ่มปรังเร่งความช้า – เรว็ 8 18 นำมอเตอร์ DC DC บสั เลส และกล่องควบคมุ มอเตอรห์ รือกล่องคอนโทรลเชื่อมตอ่ กบั โม่โรงบด 8 19 นำเหลก็ สเี่ หลย่ี มเชอื่ มตดิ กับโมโ่ รงสเี พอื่ ทำเปน็ ฐานติดจักรยาน 8 20 นำจกั ยานเช่อื มตอ่ กบั โรงสีเก่า 9 21 ติดต้ังกลอ่ งควบคุมมอเตอร์หรือกลอ่ งคอนโทรล 9 22 การตดิ ตั้งมอเตอร์ DC บสั เลส 9 23 พน่ สีสเปรย์ 9 24 นำไปใช้งานโดยการให้ประชาชนได้ใชป้ ระโยชน์ 9 25 คณะผูจ้ ัดทำได้นำเคร่ืองบดพลังงานสะอาดอนุรักษธ์ รรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ไปใชก้ ับชมุ ชน 11 26 เทหอยเชอรล่ี งปากกรวย “เคร่ืองบดพลงั งานสะอาดอนรุ กั ษธ์ รรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ ม” 12 27 เปิดเบรกเกอร์ DC 12 28 หอยเชอรี่ทีผ่ ่านการบด 12 29 “เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อม” 12

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล จากการทไ่ี ดศ้ กึ ษาโครงงานวิทยาศาสตร์ดา้ นการใช้และอนรุ กั ษ์พลงั งานไฟฟ้าเพอ่ื ชีวติ และสงั คม จึง คิดประดิษฐ์\"เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม \" ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญและเก่ียวข้องกบั วิถี การดำเนินชีวิตประจำวันของเกษตรกรในอำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ นั้น ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันอาชีพ เกษตรกรรมเป็นอาชีพที่คนในภาคอีสานยึดเป็นอาชีพหลัก แต่ในปัจจุบันนี้แนวทางในการทำอาชีพเกษตรกรรม ได้เปลี่ยนไป การทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ได้เข้ามามีส่วนในภาคเกษตรกรรมมากขึ้น มีการรณรงค์ไม่ใช้ สารเคมี มกี ารจัดทำปุย๋ คอกหรือป๋ยุ อนิ ทรียเ์ พ่ือใช้ในการเกษตรของตนเอง เกษตรกรมแี นวโนม้ พ่งึ พาตนเองให้ได้ มากท่ีสุดเพื่อลดภาระคา่ ใชจ้ ่าย และทำใหเ้ กษตรกรมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง ปลอดภยั จากการใชส้ ารเคมี ทำให้ เกษตรกรตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการและวธิ ีการในการผลิตมากย่ิงขึน้ จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น การทำการเกษตร มีผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกร ทำให้ผู้จัดทำ โครงงานเกิดแนวคิดที่จะกำจดั ศัตรูขา้ ว คือ หอยเชอร่ี ที่กัดกนิ ตน้ ขา้ วซึ่งเป็นพชื อาหารหลักที่ใช้ในการดำรงชีวิต ทำให้เกิดผลเสียหายต่อข้าวและทำให้เกิดความเสียหายแก่ชาวนาเป็นอย่างมาก จึงทำให้มีการใช้สารเคมีกำจัด ศตั รูพืชคอื \"หอยเชอร\"ี่ ทก่ี ัดกนิ ขา้ วในนาจนเสียหาย ดังน้ัน ผู้จดั ทำโครงงานจึงมแี นวคิดในการประดิษฐ์ \"เครื่อง บดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\" สามารถนำหอยเชอร่ีที่ได้จากการบดไปทำเป็นปุ๋ยหมัก หรือนำไปเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ได้ และเป็นการลดตันทุนในการผลิตอีกทางหนึ่ง นอกจากนั้นเกษตรกรผู้ใช้ \" เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม \" ยังได้รับได้ประโยชน์ด้านสุขภาพ จากการออก กำลงั กายไปในตัวอีกทางหน่งึ ดว้ ย 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน 1.2.1 เพ่อื นำวสั ดทุ เ่ี หลือใช้ เช่น โมโ่ รงสีขนาดเลก็ รถจักยานเก่า มาดดั แปลงใหม่และลดต้นทนุ การผลติ ของเกษตรกร และเป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อม 1.2.2 เพอ่ื สร้างเสริมความคิดในเชงิ สร้างสรรคแ์ ละพฒั นาการในเชงิ บวก 1.2.3 เพ่ือฝึกทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม 1.2.4 เพอ่ื ต่อยอดโครงงานการประดิษฐ์ จากเครอื่ งบดพลงั งานกล เปน็ โซล่าเซลล์ 1.3 สมมตุ ิฐานของการศึกษาค้นคว้า การประดิษฐ์ \"เครือ่ งบดพลงั งานสะอาดอนรุ ักษ์ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม \" โซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรอื เซลล์แสงอาทิตย์ ในการผลติ กระแสไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทติ ย์ เชื่อมสายพานและเพลาเครื่องบด เพลาตัวเคร่ืองบดใหท้ ำงาน โดยอาศัยโซลา่ เซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลงั งานแสงอาทิตย์เพื่อให้เครอื่ งบดทำงานและพลังงานจากคน 1.4 ตัวแปรที่ใช้ในการศกึ ษา ตวั แปรตน้ : ปรมิ าณ/ น้ำหนักหอยเซอร่ี / กำลังวัตตท์ ี่ใช้การผลติ หอยเซอร่ี /กำลงั คนท่ีใช้ใน

2 การป่ัน เวลา 1 นาที , กำลังวตั ต์ทใ่ี ชโ้ ซล่าเซลล์ ตวั แปรตาม : ปรมิ าณ / นำ้ หนกั หอยเชอรบี่ ด / ปริมาณเป็นกิโลกรัม , ปรมิ าณหอยเชอรคี่ ดิ เป็น กโิ ลกรัม ตวั แปรควบคมุ : จำนวนรอบ / ระยะเวลาของการปน่ั (1 นาที) 1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 1.5.1 โซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ และที่หลายๆคนรู้จักในชื่อ เซลล์โฟโต โวลตาอิก Photovoltaic cell เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีถูกนำมาใช้กันอยา่ งแพร่หลาย ในการผลิต กระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำชนิดพิเศษ ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า (Solar Cell) โดยพลังงานกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซล่า เซลลน์ ั้น เป็นไฟฟ้ากระแสตรง หรือ (DC) ท่สี ามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ได้ทนั ที 1.5.2 วัสดุเหลือใช้ (Waste residues) หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ หรือสินค้าที่ผ่านการใช้งาน แล้วหรอื หมดอายุการใชง้ านแล้วหรือท่เี หลือจากความต้องการและไมเ่ ป็นที่ตอ้ งการจะใช้อีกต่อไป 1.5.3 วัสดุเหลือใช้ทั่วไป หมายความถึง สิ่งของหรือสินค้าที่ไม่ใช้แล้ว แต่ไม่เป็นอันตรายต่อ บุคคลทรพั ยส์ ิน หรือสิ่งแวดล้อม 1.5.4 \" เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม\" หมายถึง อุปกรณ์ปั่นบด หอยเชอรี่ที่ใช้โซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ในการขับเคลื่อนเครื่องบด โดยผ่านการ เชื่อมตอ่ ล้อรถจกั รยานกบั เพลาเครือ่ งบดดว้ ยสายพาน 1.6 ขอบเขตของการศึกษา เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็น การกำจัดศัตรูพืชผลทางการเกษตร คือ หอยเชอร่ี โดยไม่ใช่สารเคมี ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออาหารสตั ว์ โดยใชห้ อยเชอรี่ท่ีได้จากการป่ันบดไปเป็นอาหารสตั ว์ เชน่ เป็ด ไก่ เป็นตน้ ประหยัดพลงั งานไฟฟ้าหรือ นำ้ มันเชือ้ เพลิง ประกอบดว้ ย 1.6.1 แผงโซลา่ เซลล์ 350 W จำนวน 1 แผง 1.6.2 มอเตอร์ 24 V 350 W จำนวน 1 ตวั 1.6.3 ต้เู ชื่อมและอปุ กรณ์เชื่อม จำนวน 1 ชุด 1.6.4 สายพาน ขนาด A-47 (12.7 MM × 8 MM ) จำนวน 1 เส้น 1.6.5 สายพาน ขนาด B -77 (16.7 MM × 10.3 MM ) จำนวน 1 เสน้ 1.6.6 โม่งโรงสีขนาดเลก็ จำนวน 1 เครื่อง 1.6.7 สีสเปรย์ จำนวน 7 กระปอง 1.6.8 รถจักรยานเกา่ จำนวน 1 คัน 1.6.9 ชดุ ใบมดี สำหรับใชใ้ นการบด จำนวน 1 ชุด

3 1.6.10 อินเวอรเ์ ตอร์แปลงไฟ 16.11 ชารจ์ เจอส์โซลา่ เซลล์ 20 A 12 V/24 V 1.6.12 เหล็กกลอ่ งขนาด 1 นิ้ว 1.6.13 แบตเตอรี่ จำนวน 2 เคร่อื ง 1.6.14 มูเลย์ 9 น้ิว 1 ตัว จากรายการวัสดุข้างตัน ส่วนใหญ่เป็นวัสดุเหลือใช้ที่ได้มาจากของเก่าที่ชำรุดหรือไม่มีการใช้ งานแล้ว เคร่ืองบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยมีระยะเวลาในการศึกษาเดือน พฤษภาคม ถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2566 1.7 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั 1.7.1 สามารถนำวัสดเุ หลือใช้ เชน่ รถจักรยานเก่า โมโ่ รงสี มาประยุกต์ใชใ้ ห้เปน็ เคร่ืองมือทาง การเกษตรเพ่ือลด ตน้ ทนุ และประหยดั ต้นทนุ ในการผลติ (เครอ่ื งบดพลังงานสะอาดอนุรักษธ์ รรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม) โซลา่ เซลล์ (Solar Cell) หรอื เซลล์แสงอาทิตย์ 1.7.2 สามารถนำความรู้ ความเขา้ ใจมาใช้ในการศึกษา ออกแบบ และประดษิ ฐ์ชิ้นงาน เพอื่ ใช้ประโยชนท์ างการเกษตร 1.7.3 สามารถใช้งานได้หลากหลายด้วยการบด เชน่ บดหอยเชอรี่ บดหญ้า บดตน้ กล้วย ฯลฯ และสามารถเพมิ่ รายได้ใหเ้ กษตรกร 1.7.4 ประชาชนทั่วไปสามารถใชป้ ระโยชน์โดยการนำหอยเชอร่ี หรือเศษวสั ดุทีเ่ หลือใช้ มาบดด้วยเครื่องบดพลังงานสะดวดอนรุ ักษ์ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ไปทำเป็นปุ๋ยหมกั ไปเปน็ อาหาร สตั ว์ เชน่ เปด็ ไก่ เปน็ ตน้ และประหยัดพลังงานไฟฟา้ หรือน้ำมนั เชื้อเพลิงดว้ ย

4 บทท่ี 2 เอกสารท่เี กี่ยวข้อง 2.1 เอกสารท่เี กย่ี วข้อง โซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ และที่หลายๆคนรู้จักในชื่อ เซลล์โฟโตโวลตาอิก Photovoltaic cell เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย ในการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำชนิดพิเศษ ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ ให้เป็น พลังงานไฟฟ้า (Solar Cell) โดยพลังงานกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซล่าเซลล์นั้น เป็นไฟฟ้ากระแสตรง หรือ (DC) ทีส่ ามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทันที 2.2 หลกั การโซลา่ เซลล์ (Solar Cell) หรอื เซลลแ์ สงอาทติ ย์ โซลา่ เซลล์ มหี ลักการทำงาน ภาพที่ 1 หลักการทำงานโซล่าเซลล์ (Solar Cell) หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ การทำงานของโซล่าเซลล์จะเป็นกระบวนการเปลี่ยนจากพลังงานแสงให้กลายเป็นพลังงาน ไฟฟ้าได้โดยตรง โดยการใชแ้ สงซึ่งเปน็ คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และ มีพลงั งานไปกระทบกบั สารกึง่ ตัวนำ จะทำให้เกิด การถ่ายทอดพลังงานระหว่างกัน โดยพลังงานจากแสงจะทำให้เกิดอิเล็กตรอน หรือ การเคลื่อนที่ของ กระแสไฟฟา้ ขนึ้ ในสารก่ึงตวั นำ จงึ ทำให้เกดิ กระแสไฟฟา้ ดังกลา่ วทาี สามารถนำไปใช้งานได้ ลกั ษณะการใช้งานของโซล่าเซลล์ เมื่อมีแสงอาทิตย์ตกกระทบ กับแผงโซล่าเซลล์แสงจากดวงอาทิตย์จะทำการถ่ายเทพลังงาน ให้กับอิเล็กตรอน และโฮล ซึ่งจะทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขึ้น โดยอิเล็กตรอนจะมีการเคลื่อนไปรวมตัวกันที่ Front Electrode และโฮลก็จะเคลื่อนไหวไปรวมตัวกันที่ Back Electrode จากนั้นเมื่อมีการเชื่อมต่อระบบ วงจรไฟฟา้ จาก Front Electrode และ Back Electrode เขา้ ดว้ ยกันแบบครบวงจร กจ็ ะเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าท่ี สามารถนำไปใชง้ านได้ ประโยชน์ของโซลา่ เซลล์ พลังงานไฟฟ้าจากโซลล่าเซลล์ เป็นพลังงานที่ใช้ได้อย่างไม่จำกัดและไม่มีวันหมด ซึ่งหลังการ ตดิ ตั้งระบบโซลา่ เซลล์เรยี บรอ้ ยแลว้ กส็ ามารถใชไ้ ด้เหมอื นไฟฟา้ แบบปกติท่ัวไป เช่น ใชส้ ำหรบั ใชง้ าน เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆภายในบ้านได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ใช้กับเครื่องปรับอากาศ แอร์ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า ใช้กับ คอมพวิ เตอร์ ชาร์จรถยนต์ เครอื่ งเสยี ง และ อ่นื ๆอกี มากมาย หรือแม้แต่การเปิดไฟเพอื่ ความสว่างภายในบ้าน

5 โซล่าเซลล์ มีขอ้ ดแี ละขอ้ เสีย การติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ เป็นระบบพลังงานไฟฟา้ ทดแทนที่ได้รับความนิยมสงู มากขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบัน เพราะวิถีชีวิต การทำงาน หรือ การใช้ชีวิตท่ีเปลี่ยนไปเชน่ ตอ้ งอยู่บ้านมากขึ้น เป็นเหตุให้ตอ้ งเสียคา่ ไฟที่สูงขึ้นหลายเท่า ทำให้ทุกคนต่างมองหาวิธีการประหยัด และ การลดค่าไฟในระยะยาวด้วยการติดตั้งระบบ โซลล่าเซลล์ ซึ่งต้องบอกอย่างตรงไปตรงมาว่าการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์นั้นมีทั้งข้อดีข้อเสียที่ค วรทราบก่อน ตัดสินใจ ดังน้ี ข้อดีของระบบโซล่าเซลล์ 1. เปน็ พลงั งานสะอาดเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ไมท่ ำให้เกดิ ภาวะโลกรอ้ น 2. เปน็ พลงั งานที่ใช้ได้อย่างไมจ่ ำกัด เพราะแสดจากดวงอาทติ ยไ์ ม่มวี นั หมด 3. เปน็ พลงั งานฟรที ี่ไมต่ ้องเสียเงินซือ้ มา เพียงแค่ติดตงั้ ระบบให้ไดม้ าตรฐานก็สามารถใช้ไปตอนกลางวนั ได้ ฟรี หากให้ไฟเหลือสามารถเข้ารว่ มโครงขายไฟคืนให้กับการไฟฟา้ ได้อีกดว้ ย 4. ชว่ ยประหยดั ค่าไฟได้ 30-70% ขึน้ อยูก่ ับขนาดของการติดต้ัง 5. มอี ายุการใช้งานนาน 20 – 25 ปี ข้ึนอย่กู ับการดแู ลรักษา ข้อเสยี ของระบบโซล่าเซลล์ 1. ต้องทำการตดิ ตั้งโดยทมี ชา่ งผู้ชำนาญ มีประสบการณ์ ภายใตก้ ารควบคุมจากวิศวกร 2. การผลิตไฟฟ้าในแต่ละวันอาจไม่เทา่ กนั ขนึ้ อย่กู ับสภาพอากาศและแสงแดด 3. สามารถผลิตไฟฟ้าได้เฉพาะช่วงเวลากลางวนั หรือชว่ งทีม่ แี สงแดดเท่านั้น ระบบโซลา่ เซลล์ มสี ่วนประกอบสำคญั หลักๆ คอื ตัวแผงโซลาร์เซลล์ ซ่ึงจะทำหน้าท่ีรับแสงอาทิตย์ เพือ่ ใชใ้ นการสร้างไฟฟ้ากระแสตรง อนิ เวอรเ์ ตอรม์ หี นา้ ท่ีเปล่ยี นแปลงไฟฟ้ากระแสตรงทไี่ ดจ้ ากแผงโซล่าเซลล์ให้ เปน็ ไฟฟ้ากระแสสลบั เพ่ือใหใ้ ชก้ บั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในครัวเรอื นได้ แผงโซล่าเซลล์ (Solar Panel) ภาพที่ 2 โซลา่ เซลล์ (Solar Cell) หรอื เซลล์แสงอาทติ ย์ แผงโซล่าเซลล์ เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าที่ใช้งานได้ มีหลาย ประเภท ซึ่งประเภทที่นิยมกัน คือ แบบใช้สารกึ่งตัวนำซิลิคอน (Silicon Semiconductor) มีหน้าที่เป็นตัวดูด ซบั พลงั งานจากแสงอาทติ ย์แล้วเปล่ยี นพลังงานเป็นกระแสไฟฟ้าแบบ DC แบง่ ออกเปน็ อีก 3 ชนดิ คอื • โมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Silicon Solar Cells) • โพลีครสิ ตลั ไลน์ (Polycrystalline Silicon Solar Cells)

6 • แผงโซล่าเซลล์ชนดิ ฟลิ ม์ บาง (Thin Film Solar Cells) ซึง่ สามารถใช้งานไดเ้ หมือนกันแต่มคี วามสามารถในการผลิตกระแสไฟฟา้ ท่ีต่างกันซงึ่ ในประเทศไทยมนั นยิ มใช้ แผงโซลา่ เซลลช์ นิด โมโนคริสตัลไลน์ เพราะเปน็ ชนดิ ท่ีสามารถผลติ กระแสไฟฟา้ ไดด้ ีทีส่ ดุ และ มีอายุการใชง้ าน นานท่สี ดุ ถงึ 25 ปี

6 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ 3.1 วิธีการดำเนนิ การ การจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตรด์ ้านการใชแ้ ละการอนุรกั ษ์พลังงานไฟฟา้ เพอ่ื ชีวติ และสังคม \"เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรกั ษ์ธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อม” มีวิธีการดำเนนิ การ ดังนี้ 3.1.1 ประชุมทีม/ปรึกษาหารือครูท่ปี รึกษา ผูจ้ ดั ทำโครงงานประชมุ ทมี /ปรกึ ษาหารือครทู ป่ี รึกษาเพ่ือเตรยี มข้อมูล อุปกรณ์ และ ผรู้ ับผิดชอบงาน 3.1.2 เขียนแนวปฏิบัตใิ นการเตรียมโครงงาน และวางแผนดำเนินงาน ดงั นี้ 1) นำเสนอแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านใหก้ บั ครูทป่ี รกึ ษาเพอ่ื ขอคำแนะนำในการปฏบิ ัติงาน 2) ประชุมทีมเพื่อวางแผนการปฏิบตั งิ านในการจัดทำโครงงาน 3) แบง่ หนา้ ท่ีในการทำงานให้กบั สมาชกิ แตล่ ะคนในทมี 3.1.3 ปรกึ ษาครูทป่ี รึกษาโครงงานเพ่ือรับฟังข้อเสนอแนะเพิม่ เติม 3.1.4 ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางที่ได้ข้อสรปุ ผลการดำเนินงานร่วมกันดังน้ี 3.2 วัสดอุ ปุ กรณ์ที่ใช้ในการดำเนนิ โครงงาน 2) เหลก็ กล่องขนาด 1 น้วิ 3.2.1 วสั ดุ - อปุ กรณ์ ประกอบด้วย 1) รถจกั รยานเก่า จำนวน 1 คัน ภาพที่ 3 รถจกั รยานเกา่ 1 คัน ภาพท่ี 4 เหล็กกล่องขนาด 1 น้วิ 3) ตเู้ ชอ่ื มและอุปกรณ์ในการเช่ือม จำนวน 1 ชุด รปู ภาพท่ี 5 ตู้เชื่อม และอปุ กรณ์ในการเช่ือม จำนวน 1 ชดุ

7 4) สายพานขนาด B77 และ A47 5) โมโ่ รงสีขนาดเลก็ จำนวน 1 เคร่ือง ภาพท่ี 6 สายพาน ภาพที่ 7 โมโ่ รงสีขนาดเล็ก จำนวน 1 เคร่อื ง 6) สีสเปรย์ จำนวน 7 กระป๋อง 7) แผงโซล่าเซลล์ จำนวน 1 แผง ภาพท่ี 8 สีสเปรย์ ภาพที่ 9 แผงโซลา่ เซลล์ 9) มอเตอร์ 8) สายไฟ ภาพท่ี 10 สายไฟ ภาพท่ี 11 มอเตอร์ DC บสั เลส 10)โซล่าชาร์เจอร์ ขนาด 20 mppt 11) เบรกเกอร์ DC

8 ภาพที่ 12 โซลา่ ชารเ์ จอร์ ขนาด 20 mppt ภาพที่ 13 เบรกเกอร์ DC 12) ใบมดี ตดั หญ้า 13) ตัวแปลงไฟ 13) ชดุ ใบมีดสำหรับใชใ้ นการบด จำนวน 1 ชุด 14) อนิ เวอรเ์ ตอรแ์ ปลงไฟ ภาพที่ 14 ชุดใบมีดสำหรบั ใชใ้ นการบด จำนวน 1 ชดุ ภาพท่ี 15 อนิ เวอรเ์ ตอร์แปลงไฟ 15) โซร่ ถจกยานยนต์ จำนวน 1 เส้น 16) ปุ่มเรง่ ความ ชา้ – เรว็ ภาพที่ 16 โซร่ ถจักยานยนต์ 1 เส้น ภาพท่ี 17 ปุ่มเรง่ ความชา้ -เร็ว 3.2.2 วิธีการลงมือปฏิบัติ ดังน้ี 1) นำมอเตอร์ DC บัสเลส และกล่องควบคมุ มอเตอร์หรอื กล่องคอนโทรล เชอ่ื มต่อกบั โม่บด

9 ภาพท่ี 18 นำมอเตอร์ DC บัสเลส และกล่องควบคุมมอเตอร์หรือกล่องคอนโทรลเชื่อมต่อกับโมบ่ ด 2) นำเหล็กกลอ่ งขนาด 1 น้ิว สี่เหล่ียมเช่ือมประกอบกับโมง่ เพ่อื ทำเป็นฐานจกั รยาน ภาพที่ 19 นำเหล็กกล่องขนาด 1 นว้ิ ส่เี หล่ียมเช่ือมประกอบกับโมเ่ พื่อทำเปน็ ฐานจักรยาน 3) ประกอบรถจักยานเข้ากบั โม่บด 4) ตดิ ต้งั กล่องควบคุมมอเตอรห์ รอื กลอ่ งคอนโทรล ภาพท่ี 20ประกอบรถจักยานเข้ากับโม่บด ภาพท่ี 21 การติดต้ังกล่องควบคุมมอเตอร์หรือกล่องคอนโทรล 5) ตดิ ตง้ั มอเตอร์ DC บสั เลส 6) พ่นสีตามต้องการ ภาพที่ 22 การตดิ ตงั้ มอเตอร์ DC บัสเลส ภาพที่ 23 พน่ สีสีสเปรย์

10 7) นำไปใชป้ ระโยชน์ ภาพที่ 24 นำไปใช้งานโดยการใหป้ ระชาชนไดใ้ ชป้ ระโยชน์ 3.3 แผนการปฏบิ ัตงิ าน การจดั ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ด้านการใช้และการอนุรกั ษ์พลังงานไฟฟา้ เพอื่ ชีวติ และสงั คม \"เครื่องบดพลังงานสะอาดอนรุ ักษธ์ รรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อม” ท่ี งานทปี่ ฏบิ ัติ ระยะเวลาการดำเนินงาน ผูร้ บั ผิดชอบ 1 ขัน้ เตรียมการและการวางแผน (P) 16 พฤษภาคม 2566 คณะผ้จู ดั ทำและครูท่ี ประชมุ ทมี ปรึกษาครทู ี่ปรึกษา เพ่ือ ปรึกษา เตรียมข้อมลู อุปกรณ์ และผู้รับผิดชอบงาน 2 ขั้นดำเนนิ การตามแผน (D) -นำเสนอแนวทางในการปฏบิ ตั ิงาน 21 พฤษภาคม 2566 คณะผู้จัดทำ ใหก้ ับครทู ีป่ รึกษาเพ่ือขอคำแนะนำในการ และครทู ีป่ รึกษา ปฏิบัติงาน - ประชุมทมี เพือ่ วางแผนการปฏิบัติงาน 22 พฤษภาคม 2566 ในการจำทำโครงงาน -แบง่ หน้าท่ใี นการทำงานให้กบั สมาชิก 23 พฤษภาคม 2566 แตล่ ะคนในทมี 3 ข้ันประเมินผล ( C ) สอบถามความคิดเห็นจาก 27 พฤษภาคม 2566 คณะผู้จัดทำ คณะกรรมการสถานศึกษา/ผู้บริหาร/ครู และครทู ป่ี รึกษา ศูนยส์ ง่ เสริมการเรียนรู้อำเภอบัวเชด 4 ขัน้ ทบทวนและปรบั ปรงุ ( A ) - นำปัญหาทเ่ี กิดจากการปฏิบตั ิการ 16 มิถนุ ายน 2566 คณะผู้จดั ทำ จดั ทำโครงงาน และทดลองใช้งาน มา และครทู ี่ปรึกษา

11 ที่ งานทปี่ ฏบิ ัติ ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ผูร้ ับผดิ ชอบ วิเคราะหห์ าสาเหตแุ ละแนวทางแก้ไขปญั หา นัน้ โดยการประชุมทีม -ขอคำแนะนำจากครูทีป่ รึกษา เพื่อ 20 มิถุนายน 2566 นำไปแก้ไขปัญหาเพิ่มเตมิ -แกไ้ ขปญั หาทเี่ กดิ ข้ึนและสรุปผลการ 3 กรกฎาคม 2566 ดำเนนิ งานร่วมกนั

11 บทที่ 4 ผลการดำเนินการ 4.1 จุดมุ่งหมายของโครงงาน การจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิตและสังคม \"เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรกั ษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม” มีแนวคิดมาจากการบดย่อยพืชอาหารสัตว์และ หอยเชอรี่ ซึ่งเป็นศัตรูพืชผลทางการเกษตร ก่อให้เกิดปัญหาต่อผลผลิตทางการเกษตรและส่ิงแวดล้อมเป็นอย่าง มาก รวมทั้งจัดการกับวัสดุท่ีเหลือใช้ หากทิ้งไปจะเกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เช่นรถจักรยานเก่าที่ชำรุด โรงสี เก่าที่ชำรุด มาประดิษฐ์เป็นเครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และผู้จัดทำได้พัฒนา นวัตกรรมต่อยอดความรู้เดิมพัฒนาเครื่องบดพลังงานกลสุขภาพ มาเป็นเครื่องบดพลังงานสะอาด อนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้พลังงานทดทนจากเซลล์แสงอาทติ ย์ เพื่อสะดวกและประหยัดไฟฟ้า ประหยัด พลังงานคน ทางคณะผู้จัดทำโครงงานได้นำเสนอ ชั้นตอนการทำงานของ\" เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม\" การทดลองใช้ ซึ่งสามารถตอบโจทย์ในการประหยัดพลังงาน การกำจัดศัตรูพืชผล ทางการเกษตร และการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร เช่น พลังงานไฟฟ้า พลังงานเชื้อเพลิง น้ำมัน เป็นตัน นอกจากน้นั ยังช่วยในเรอ่ื งการดแู ลและเสริมสรา้ งสมรรถนะทางร่างกายใหส้ มบูรณ์ แข็งแรง โดยการป่ัน 4.2 ผลการใช้งาน \" เครอื่ งบดพลังงานสะอาดอนรุ กั ษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดล้อม\" กับชุมชน รูปภาพท่ี 25

12 คณะผ้จู ัดทำไดน้ ำเครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษธ์ รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ไปใช้กบั ชมุ ชน ทำให้ ประชาชนมคี วามพึงพอใจ สามารถตอบโจทย์ในการประหยัดพลงั งาน การกำจัดศัตรูพืชผลทางการเกษตร และ การลดต้นทนุ การผลติ ทางการเกษตร

12 ภาพผลการใชง้ าน รูปภาพท่ี 26 เทหอยเชอรีล่ งปากกรวย “เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรกั ษธ์ รรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม” รูปภาพท่ี 27 เปิดเบรกเกอร์ DC ปรบั ปุ่มความชา้ -เรว็ รปู ภาพที่ 28 หอยเชอร่ีท่ผี า่ นการบด รปู ภาพที่ 29 “เครอื่ งบดพลงั งานสะอาดอนรุ ักษ์ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม”

13 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดำเนินโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ ดา้ นการใชแ้ ละอนรุ ักษ์พลังงานไฟฟ้าเพอ่ื ชวี ิตและสังคม “เรื่องเครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม” ระยะเวลาตั้งแต่ เดือน พฤษภาคม ถึง เดือนมิถุนายน 2566 โดยนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับการทำโครงงาน ทำให้นักศึกษาได้รู้ กระบวนการทำโครงงาน \"เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม \" สำหรับการสร้าง สิง่ ประดษิ ฐ์นี้ ไดน้ ำความรู้ทางฟิสิกส์มาประยุกต์ใช้เพื่อลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ หรือน้ำมนั ดเี ซล มีเคลอ่ื นสายพาน และใช้พลังงานคนในการปั่นใช้ในกรณีที่ไม่มีแสงแดด \" เครื่องบดพลังงานสะอาดอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม\" นอกจากจะสามารถประหยัดพลังงานแล้ว ยงั ทำใหผ้ ู้ใช้ไดป้ ระโยชน์จากการออกกำลังกายเพื่อสร้าง เสรมิ สขุ ภาพให้สมบรู ณ์ แขง็ แรงด้วย 5.2 อภปิ รายผล “เครือ่ งบดพลงั งานสะอาดอนรุ ักษธ์ รรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ ม\" เป็นการกำจัดศัตรพู ืชผลทาง การเกษตร คือ หอยเชอรี่ โดยไม่ใชส่ ารเคมี ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการซือ้ อาหารสตั ว์โดยใชห้ อยเชอรที่ ่ีได้จากการบดไป เป็นอาหารสตั ว์ เชน่ เป็ด ไก่ เปน็ ต้น ประหยดั พลังงานไฟฟ้าหรือนำ้ มันเช้ือเพลงิ และเสรมิ สรา้ งสุขภาพรา่ งกาย ให้สมบรู ณ์ แข็งแรงด้วยกำลังกาย (ป่นั บด) ไดอ้ ีกทางหนึ่งด้วย 5.3 ข้อเสนอแนะ 1) ควรเพิ่มแบตเตอรีใ่ ช้ในกรณีทไ่ี ม่มีแสงแดด 2) กำลังมอเตอร์ต้องสมั พันธก์ บั แผงโซลาเซลล์ 3) ระวังเร่อื งความร้อนของกล่องควบคุม

จ บรรณานุกรม วที ิต วรรณเลิศลกั ษณ์ 2560. กลุ่มสาระวชิ าฟสิ กิ ส์ เร่อื งฟิสกิ สร์ อบตัว, พลังงานจลน์, จักรยาน : สถาบนั ส่งเสริมการอนวิทยาศาสตแ์ ละทคโนโลยี (สสวท., สบื คน้ จากวป็ ไซต์ https://www.scimath. hysics/item/7289-2017-06-14-14-15-28, 20 พฤษภาคม 2566 ภาควิชาฟิสิกส.์ คณะวทิ ยาศาสตร.์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล, สืบคน้ จากเวป็ ไซต์ http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/physcis-for-everyday/physics-for- evcontent/ 1-20/indexcontent9.htm, 20 พฤษภาคม 2566 วกิ พิ เี ดีย สารานุกรมเสรี 2560. การเคลอ่ื นท่ี (ฟิสกิ ส์) , สบื ค้นจากเว็ปไซต์ https://th.wikipedia.org/wiki/8E086B888186E0968886B28F08B8%A38E04B9%680650%B8 %84%E0%B8%A5% E08 B88B78 E00B98688% E00B8%6ADน E00B886998F08B8897%F0%B8%B5%50%B2%88 (% E0%B8%9F% E0%888B45 F0% B8%AA% E0%B8%B48 E0%B89681950%B8%AA%50%B9%) , 20 พฤษภาคม 2566 ฟสิ ิกส์ของจกั รยาน 2557. ศนู ย์ความเปน็ เลศิ ด้านฟสิ กิ ส์ Thailand Center of Excellence in Physics(ThEP),สบื ค้นจากเวป็ ไซต์ http://thep-center.org/src2/views/daily-life.phpZarticle id=8, 20 พฤษภาคม 2566 การปัน่ จกั รยาน (Cycling) กบั ปริมาณการเผาผลาญแคลอรี่, สืบคนั จากเว็ปไชต์ https://bit.ly/314cFWD, 20พฤษภาคม 2566 , สืบคนั จากเว็ปไชต์ https://www.nksolargroup.com/solar-cell/ 20 พฤษภาคม 2566


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook