Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 06การบำรุงรักษาและการปรับแต่ง

06การบำรุงรักษาและการปรับแต่ง

Published by thongma.55, 2021-08-25 17:41:21

Description: 06การบำรุงรักษาและการปรับแต่ง

Search

Read the Text Version

การบารุงรักษา และการ ปรับแต่ง

การบารุงรักษาประจาสัปดาห์ • การตรวจระดับน้ามนั เคร่ือง ระดบั น้ามนั เครื่องที่ถูกตอ้ ง ควรใหอ้ ยทู่ ี่ F โดยไมต่ ่ากวา่ ระดบั L เติมดว้ ยน้ามนั เครื่อง SAE 40 • การตรวจระดบั นา้ หล่อเยน็ ระดบั น้าหล่อเยน็ ในหมอ้ น้าสารอง ระดบั ที่ ใชไ้ ดต้ อ้ งอยรู่ ะหวา่ ง “FULL” และ “LOW” • ตรวจสภาพนา้ หล่อเยน็ ขอ้ สงั เกต ถา้ มีการรั่วจะมีคราบน้าหลอ่ เยน็ หรือ การผกุ ร่อนใหเ้ ห็นรอบๆ บริเวณท่ีมีการร่ัว

การบารุงรักษาประจาสัปดาห์ • การตรวจระดบั น้ากลนั่ ที่เปลอื กแบตเตอร่ีมขี ดี กาหนดระดบั บน และ ระดบั ลา่ งของการเติมนา้ กลนั่ เติมด้วยให้นา้ กลนั่ เติมแบตเตอร่ีเท่านนั้ • ตรวจค่าความถ่วงจาเพาะของน้ากรด - ถ้า ถ.พ. อยใู่ นชว่ ง สีนา้ เงิน หมายถงึ ไฟเตม็ - ถ้า ถ.พ. อย่ใู นช่วง สขี าว หมายถงึ ไฟปานกลาง - ถ้า ถ.พ. อย่ใู นช่วง สแี ดง หมายถงึ ไมม่ ีไฟ

การบารุงรักษาประจาสัปดาห์ • การตรวจข้วั ต่อสายไฟแบตเตอร่ี ข้วั ต่อสายไฟแบตเตอร่ีจะตอ้ งไม่ หลวมหรือสึกกร่อน และไมม่ ีข้ีเกลือเกิดท่ีข้วั ต่อสายไฟแบตเตอร่ี หากเกิดข้ีเกลือ ใหท้ าความสะอาดข้วั

การบารุงรักษาระบบฉีดเชื้อเพลอิ เิ ลก็ ทรอนิกส์ • หา้ มใหก้ ลอ่ ง ECU ไดร้ ับอุณหภูมิสูงกวา่ 800 ซ. และไมต่ ่อไฟเขา้ กล่อง ECU โดยตรงจากแบตเตอร่ี • หา้ มใชเ้ คร่ืองประจุแบตเตอร่ีต่อพว่ งแบตเตอรี่ • กรองน้ามนั เช้ือเพลิง ใหเ้ ปลี่ยนตามกาหนดระยะเวลา • ไสก้ รองอากาศระบบฉีดเช้ือเพลิงอิเลก็ ทรอนิกส์แบบ D เมื่อครบ กาหนดการใชง้ านจะตอ้ งถอดเปล่ียน • เน่ืองจากปริมาณการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง

ข้อควรระวงั การปรับแต่งเคร่ืองยนต์ทใี่ ช้ระบบฉีดเชื้อเพลงิ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ • ระวงั อยา่ ใหเ้ กิดการกระทบกระแทก • ระวงั อยา่ ใส่แบตเตอรี่สลบั ข้วั • ปิ ดสวติ ชก์ ญุ แจตาแหน่ง OFF และปลดข้วั แบตเตอร่ีออก หมายเหตุ หา้ มถอดข้วั สายไฟแบตเตอรี่ออกก่อนที่จะ ตรวจรหสั การวนิ ิจฉยั ปัญหาขอ้ บกพร่อง เพราะวา่ ถา้ ถอดข้วั สายแบตเตอร่ีออกแลว้ รหสั การวนิ ิจฉยั ปัญหาขอ้ บกพร่องท่ีอยใู่ นหน่วยความจา ของหน่วยควบคุมอิเลก็ ทรอนิกส์ จะถูก ลบทิ้งไป

กาปรับแต่งองศาการจุดระเบดิ ล่วงหน้า • เครื่องยนตจ์ ะทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากที่สุด จงั หวะการจุด ระเบิดจะตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งที่เหมาะสม โดยปกติส่วนผสมของอากาศ กบั น้ามนั เช้ือเพลิงจะถกู จุดระเบิด ในตาแหน่ง ประมาณ 10 องศาก่อน ศูนยต์ ายบน จงั หวะจุดระเบิดน้ีจะถกู ควบคุมใหล้ ว่ งหนา้ หรือลา่ ชา้ โดยไมโครโปรเซสเซอร์ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาวะการทางานของ เคร่ืองยนต์ ไทม่งิ ไลท์ การตรวจสอบองศาการจุดระเบดิ ล่วงหน้าของเคร่ืองยนต์

กราฟแสดงการควบคุมการจุดระเบดิ ล่วงหน้าตามความเร็ว รอบเครื่องยนต์ ัจงหวะการ ุจดระเ ิบด ่ลวงห ้นา อดุ มคติ ระบบควบคุมดว้ ยอิเลก็ ทรอนิกส์ แบบเดิม ความเร็วรอบเครื่องยนต์

สัญญาณจังหวะจุดระเบดิ (IGT) • ขณะที่เครื่องยนตห์ มนุ จานจ่ายจะใหก้ าเนิดสญั ญาณมมุ เพลาขอ้ เหวี่ยง (G) และสญั ญาณความเร็วรอบเคร่ืองยนต(์ NE) ส่งไปยงั ไมโครโปรเซสเซอร์ประมวลผล แลว้ ส่งสญั ญาณใหท้ รานซิสเตอร์ หมายเลข 1 เปิ ด แรงดนั ไฟฟ้าคงที่ 5 โวลท์ ถูกส่งไปเปิ ด ทรานซิสเตอร์หมายเลข 2 ในตวั ช่วยจุดเรียกวา่ สญั ญาณจงั หวะจุด ระเบิด กระแสไฟฟ้าจากสวิตซ์จุดระเบิดไหลผา่ นขดลวดปฐมภมู ิของ คอยลจ์ ุดระเบิดสร้างสนามแมเ่ หลก็

วงจรไฟฟ้าสัญญาณการจุดระเบดิ

สัญญาณการจุดระเบดิ บกพร่อง (IGF) • ในขณะเดียวกนั กจ็ ะเกิดการเหน่ียวนาตวั เองในขดลวดปฐมภูมิ เกิด ไฟฟ้าแรงดนั ประมาณ 300 โวลทข์ ้ึน ทาใหท้ รานซิสเตอร์หมายเลข 3 ในตวั ช่วยจุดระเบิดปิ ดแรงดนั ไฟฟ้าคงที่ 5 โวลทไ์ หลลงกราวดไ์ มไ่ ด้ แรงดนั ไฟฟ้าในวงจรจึงกลายเป็น 5 โวลท์ เรียกวา่ สญั ญาณการจุด ระเบิดบกพร่อง สญั ญาณน้ีทาใหไ้ มโครโปรเซสเซอร์รู้วา่ มีการจุด ระเบิดเกิดข้ึน

สัญญาณการจุดระเบดิ บกพร่อง

การควบคุมการจุดระเบดิ ล่วงหน้า • การควบคุมการจุดระเบิดล่วงหน้าขณะสตาร์ทเคร่ืองยนต์ ในขณะสตาร์ทเครื่องยนต์ ตวั ตรวจจบั ความดนั ในท่อร่วมไอดี หรือมาตรวดั การไหลของอากาศ ทางานไมเ่ ป็นปกติเพราะความเร็วรอบ ของเครื่องยนตต์ ่ามาก อากาศไหลเขา้ เครื่องยนตไ์ มส่ ม่าเสมอ ทาให้ ไมโครโปรเซสเซอร์ไม่สามารถควบคุมการจุดระเบิดล่วงหนา้ ใหเ้ หมาะสม ได้ แบก็ -อพั ไอซีจึงทางานสารองแทน

การควบคุมการจุดระเบดิ ล่วงหน้าขณะสตาร์ทเครื่องยนต์ โดยใช้ข้อมูลจากแบ๊กอพั -ไอซี

การควบคุมการจุดระเบดิ ล่วงหน้าขณะเครื่องยนต์ทางาน • เม่ือเคร่ืองยนตต์ ิดแลว้ ตวั ตรวจจบั ความดนั ในท่อร่วมไอดี หรือมาตร วดั การไหลของอากาศ ทางานตามปกติไมโครโปรเซสเซอร์จะควบคุม จุดระเบิดล่วงหนา้

Thank You


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook