Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัสดุในชีวิตประจำวัน.

วัสดุในชีวิตประจำวัน.

Published by toeysiriwimol2545, 2019-07-30 09:55:40

Description: วัสดุในชีวิตประจำวัน.

Search

Read the Text Version

วสั ดใุ นชีวติ ประจาํ วัน จาํ ทาํ โดย ด.ญ.นันทกิ านต ชางสาร เสนอ คุณครู ภทั ราวรรณ อฑุ ธสงิ ห โรงเรยี นโพธไิ์ ทรพทิ ยาคาร สํานักงานเขตพ้นื ทป่ี ีการศกึ ษา มธยมศกึ ษา อบุ ลราชธานี เขต 29

คาํ นํา หนังสือเลมนี้เป็ นรายวิชาสวนหน่ึง ของวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี ว22103 โดยเน้ือหาภายในเลม นี้วา ดว ย เร่ือง วสั ดใุ นชีวติ ประจําวัน ผจู ัดทําหวงั วาหนังสือเลมนี้จะเป็น ประโยชนตอ ผอู าน หากผดิ พลาด ประการใดตอ งขออภยั ณ ทีน่ ี้ดวย yok

สาบัญ หน า 3 เร่ือง 4 ไมธ รรมชาติ 5 ไมป ระกอบ 6 โลหะกลุมเหลก็ 7 โลหหะนอกกลุมเหล็ก 8 เทอรโ มพลาสติก 9 เทอรโมเซทติง้ พลาสติก 10 ยางธรรมชาติ 11 ยางสงั เคราะห อา งองิ

ไมธรรมชาติ ในสมัยโบราณเม่ือยงั ไมย ังมีปรมิ าณมากและ มรี าคาถูก มนุษยจ ะนําไมจากธรรมชาติมาส รางท่ีอยูอาศัยและเคร่ืองมือเคร่ืองใชตา งๆ ตอ มาเม่อื ประชากรมจี าํ นวนเพิม่ มากข้ึนกย็ ่งิ มกี ารนําไมจากธรรมชาติมาใชประโยชนมาก ข้ึน สงผลใหปาไมถูกทําลายและปริมาณของ ไมจากธรรมชาตลิ ดลงอยา งรวดเรว็ ทาํ ใหไ ม จากธรรมชาติเป็นวัสดทุ ีห่ ายากและมรี าคา แพง มนษุ ยจึงพยายามหาวสั ดอุ ่ืนๆ มาใช แทนไมผานทางกรรมวิธีทางวศิ วกรรม เชน แผนไวนิล กระเบ้ือง แผนลามิเนต ฯลฯ เป็ นตน

ไมป ระกอบ ผลิตภัณฑจ ากไมทยี่ อ ยเป็นชนิ้ ไส เป็นฝอย หรือแยกเป็นเสน ใย แลว นํา มาอดั รวมกันเขาเป็นชิน้ เป็นแผน ทัง้ นี้ โดยจะมีวัตถุเช่อื มประสานดว ย หรือไมก ็ได จัดเป็นอุตสาหกรรมท่ใี ช ไมข นาดเล็ก ตลอดจนเศษไมปลาย ไมใ หเป็นประโยชนอยา งสําคญั ไม ประกอบอาจแบง ออกไดเ ป็น ๓ พวก คือ แผน ชิน้ ไมอดั แผน ใบไมอัด และ แผน ฝอยไมอ ดั

โลหะกลุมเหลก็ เป็นวสั ดุที่มีกาํ ลังรบั การรบั แรงสงู มคี วาม คงทนตลอดอายกุ ารใชง านหากมกี ารบาํ รุง รักษาท่ีดี และมรี ูปทรงมาตราฐานท่ีเมน ยาํ ไมเ ปลีย่ นแปลงงาย จงึ ถกู นํามาใชงานใน ดา นตา ง ๆ เชน ทาํ เป็นเคร่ืองมอื กสกิ รรม เคร่ืองมอื ชา ง ใชใ นงานกอ สราง หรือใชใน งานอตุ สาหกรรมเป็นตน จึงจดั ไดว าโลหะ เหลก็ มคี วามสําคัญตอมนษุ ยม ากเพราะ นอกจากจะสราง ความเจริญใหกับโลกแลว ยงั เป็นสว นประกอบของอาวธุ ยโุ ทปกรณท่ี มนษุ ยน ํามาฆา ฟันกันอกี ดว ย

โลหะนอกกลมุ เหลก็ โลหะทไี่ มมีเหล็กเป็นองคป ระกอบสวน ใหญ เชน ทองแดง, อะลูมิเนียม, แมกนีเซยี ม, สงั กะสี ฯลฯ ในทางวศิ วกรรมและ อตุ สาหกรรมจะใชโ ลหะนอกกลุมเหล็ก ในปริมาณทนี่  อยกวาโลหะในกลมุ เหล็ก ทัง้ นี้เน่ืองเพราะราคาทีส่ งู กวา ของโลหะ นอกกลุมเหลก็ นัน่ เอง ดงั นัน้ จึงมกั ใช งานโลหะนอกกลมุ เหล็กในกรณีท่ี จําเป็น เชน คณุ สมบตั ิทีต่ องการในงาน นัน้ ๆ ไมส ามารถใชโ ลหะในกลมุ เหล็ก ได

เทอรโมพลาสติก หรอื เรซิน เป็นพลาสติกที่ใชกนั แพรห ลาย ท่สี ุด ไดร ับความรอนจะออนตวั และเม่อื เยน็ ลงจะแขง็ ตวั สามารถเปล่ยี นรปู ได พลาสตกิ ประเภทนี้โครงสรา งโมเลกลุ เป็น โซตรงยาว มีการเช่ือมตอ ระหวา งโซพ อลเิ ม อรน อย มาก จึงสามารถหลอมเหลว หรือ เม่อื ผา นการอัดแรงมากจะไมทาํ ลาย โครงสรางเดิม ตวั อยา ง พอลิเอทลิ ีน พอลิ โพรพิลีน พอลิสไตรนี มีสมบัติพเิ ศษคือ เม่ือ หลอมแลวสามารถนํามาข้นึ รปู กลบั มาใช ใหมได ชนิดของพลาสติกใน ตระกลู เทอร โมพลาสติก

เทอรโมเซดตงิ้ พลาสตกิ เป็นพลาสติกทมี่ สี มบตั พิ เิ ศษ คอื ทนทานตอ การเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิและทนปฏิกิริยา เคมีไดด ี เกิดคราบและรอยเป้ือนไดย าก คง รูปหลังการผานความรอนหรือแรงดันเพียง ครงั้ เดียว เม่ือเย็นลงจะแข็งมาก ทนความ รอนและความดนั ไมอ อ นตวั และเปล่ยี นรูป รา งไมได แตถา อุณหภูมิสูงกจ็ ะแตกและ ไหมเป็นขีเ้ ถาสีดาํ พลาสติกประเภทนี้ โมเลกลุ จะเช่อื มโยงกนั เป็นรางแหจบั กนั แนน แรงยึดเหน่ียวระหวางโมเลกุลแข็ง แรงมาก จงึ ไมส ามารถนํามาหลอมเหลวได กลาวคือ เกิดการเช่อื มตอ ขามไปมาระหวา ง สายโซข องโมเลกลุ ของโพลเิ มอ

ยางธรรมชาติ วัสดพุ อลิเมอรท ปี่ ระกอบดวยไฮโดรเจน และคารบ อน ยางเป็นวสั ดุท่ีมคี วาม ยดื หยุนสงู ยางท่ีมตี นกําเนิดจาก ธรรมชาติจะมาจากของเหลวของพืช บางชนิด ซ่ึงมลี กั ษณะเป็นของเหลวสี ขาว คลายน้ํานม มสี มบตั ิเป็น คอลลอยด  อนุภาคเลก็ มตี ัวกลางเป็นน้ํา ยางในสภาพของเหลวเรยี กวา น้ํา ยาง ยางที่เกดิ จากพชื นี้เรียกวา ยาง ธรรมชาต ิ ในขณะเดยี วกนั มนษุ ย สามารถสรา งยางสังเคราะหไดจาก ปิโตรเลยี ม

ยางสังเคราะห ซ่ึงสาเหตทุ ่ที ําใหมกี ารผลติ ยางสังเคราะห ข้ึนในอดตี เน่ืองจากการขาดแคลนยาง ธรรมชาติทีใ่ ชในการผลติ อาวธุ ยุทโธปกรณ และปัญหาในการขนสงจากแหลงผลติ ใน ชวงสงครามโลกครงั้ ที่ 2 จนถึงปัจจบุ นั ไดม ี การพัฒนาการผลติ ยางสงั เคราะหเพ่อื ใหได ยางท่มี ีคุณสมบตั ติ ามตอ งการในการใชง าน ท่ีสภาวะตาง ๆ เชน ทีส่ ภาวะทนตอน้ํามัน ทนความรอน ทนความเย็น เป็นตน

อางองิ https://www.google.com/url? sa=t&source=web&rct=j&url=https://th. m.wikipedia.org/wiki/%25E0%25B9%2 582%25E0%25B8%25A5%25E0%25B 8%25AB%25E0%25B8%25B0&ved=2 ahUKEwiK97jHo9LjAhVMQY8KHUjPB XoQFjABegQIAhAB&usg=AOvVaw1D 5t7-UX81vkX69dW-AKyi https://www.google.com/url? sa=t&source=web&rct=j&url=https://th. m.wikipedia.org/wiki/%25E0%25B9%2 582%25E0%25B8%25A5%25E0%25B 8%25AB%25E0%25B8%25B0&ved=2 ahUKEwiK97jHo9LjAhVMQY8KHUjPB XoQFjABegQIAhAB&usg=AOvVaw1D 5t7-UX81vkX69dW-AKyi