๑
๒
๓ (ลอบ, ไซ)
๔ แบบ มภ. ๒ แบบจดั ทาํ รายการเบืองตน้ มรดกภมู ิปัญยาทางวฒั นธรรม ส่วนที ๑ ลกั ษณะมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม ๑.๑ ชือรายการ ๑.๑ บูบูหนุย ๑.๒ บูบูอกี ดั ๑.๒ ลกั ษณะมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม วรรณกรรมพืนบา้ นและภาษา ศิลปะการแสดง แนวปฏิบตั ิทางสังคม พธิ ีกรรม ประเพณี และงานเทศกาล ความรู้และการปฏิบตั ิเกียวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล งานช่างฝี มือดงั เดิม การเล่นพืนบา้ น กีฬาพืนบา้ นและศิลปะการต่อสู้ป้องกนั ตวั ๑.๓ พืนทปี ฏบิ ตั ิ ชาวเลสร้างบูบูทุกหมู่บา้ น คือ ในอาํ เภอเมืองกระบี มีทีหมู่บา้ นแหลมตง เกาะพีพี ต. อา่ วนาง อาํ เภอเมือง จงั หวดั กระบี ในอาํ เภอเหนือคลอง ชาวเลอยู่ในตาํ บลศรีบอยา ทีหมู่บา้ นติงไหร, หมู่บา้ นมูตู, หมู่บา้ นกลาง, หมู่บา้ นกลาโหม และหมู่บา้ นโต๊ะบุหรง ในอาํ เภอเกาะลนั ตา มีหมู่บา้ นโต๊ะ บาหลิว, หมู่บา้ นในไร่, หมูบ่ า้ นคลองดาว, หมู่บา้ นหวั แหลม และหมบู่ า้ นสังกาอู้ ๑.๔ สาระสําคัญของมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมโดยสังเขป ชาวเลมีอาชีพเป็ นชาวประมง การได้ทรัพยากรจากการประมงมายงั ชีพด้วยวิธี ดงั เดิม ชาวเลสามารถกระทาํ ไดด้ ว้ ยเครืองมือพะโต๊ะ(เหล็ก ๒ ปลาย) ญาโตะ๊ (เหล็กปลายเดียว) หยอง ดกั ปู อวนกงุ้ อวนปลา การไดห้ มึกและการไดป้ ลาจาํ นวนมากพอทีจะให้ครอบครัวมีรายไดเ้ พิมนนั ชาวเลมี ความสามารถสูงในการสร้างเครืองมือดกั หมึกและดกั ปลาในนาํ ลึกดว้ ยเครืองมือประมงทีเรียกว่าบูบู อนั เป็ นภูมิปัญญาของชาวเลทีสืบเนืองตดิ ตอ่ หลายชวั อายุ
๕ ๑.๕ ประวตั คิ วามเป็ นมา เครืองมือประมงของชาวเลในการดกั หมึกและดกั ปลาในทะเลนาํ ลึก ชาวเลเรียกวา่ บูบู (ลอบ, ไซ) ชาวเลไดก้ ระทาํ ติดต่อกนั มาหลายชวั อายุ กระทาํ สืบมาจนถึงปัจจุบนั (พ.ศ.๒๕๖๔) ไม่มี หลกั ฐานลายลกั ษณ์ใดระบุไดว้ า่ บูบูมีมาเมือใด ผสู้ ูงอายทุ ีเคยไดย้ นิ บรรพชนกล่าวไวว้ า่ บูบูมีมาตงั แต่ โต๊ะทวด ก่อนนีประมาณ ๕๐ ปี ชาวเลเคยสร้างตาข่ายบูบูดว้ ยไมไ้ ผ่ จกั สานลวดลายเป็น “ตานก เปลา้ ” เหมือนชนเผา่ ในประเทศฟิ ลิปปิ นส์และอินโดนีเซีย ภาพจาก \"บูบูตานกเปล้า\" สมหมาย ปิ นพทุ ธศิลป์ คน้ ควา้ จาก https://batang-mangyan.blogspot.com/2013/07/bamboo-fish-trap-bubu- bubo.html?m=1&fbclid=IwAR27D4EZrq1lOEoJ7OKUcJJgi6YuZJDYYwmiKZ36IqXk7xsMs0P1Uv3Wj0o เมือ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๔ ๑.๖ ลกั ษณะเฉพาะทีแสดงถงึ อตั ลกั ษณ์ของมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม โดยมรี ายละเอยี ดครอบคลุมสาระ ดังต่อไปนี เครืองมือประมงของชาวเลทีเป็ นตาข่ายใยสังเคราะห์ขนาดยาวกวา่ ๕๐ เมตร ทีเรียกว่า “อวน” ไวด้ กั กงุ้ และปลา ชาวเลมกั จะกระทาํ กนั ไมห่ ่างจากชายฝังทะเลทีไม่มีหินโสโครกกีดขวาง การ จดั สร้างตาขา่ ยใหเ้ ป็ นอวน ชาวเลกระทาํ ได้ แต่ไม่สามารถถกั ทอใยสงั เคราะห์ให้เป็ นตาข่ายได้ เพราะ ไม่มีด้ายทีผลิตขึนได้ดว้ ยชุมชนของตน แต่เครืองมือประมงทีชาวเลเรียกว่าบูบู (ลอบ, ไซ) ชาวเล สามารถสร้างไดด้ ว้ ยฝี มือของชาวเล ส่วนประกอบบูบูไดม้ าจากทรัพยากรชายฝังทะเล มีฐานไมเ้ ป็ น
๖ โครงสร้างผูกดว้ ยเถาวลั ย์ มีไมไ้ ผจ่ กั สานเป็นลวดลายตานกเปลา้ ทงั ทีเป็นอูรัยจ มานางา (ประตูทางปลา เขา้ ) และรอบบูบู บูบู (ลอบ, ไซ) เป็นเครืองมือประมง มี ๒ ขนาด ขนาดเล็กเป็น “บูบูหนุย” ไวด้ กั หมึก กบั บูบเู กอตบั ไวด้ กั ปู และขนาดใหญเ่ ป็น “บูบอู ีกดั ” ไวด้ กั ปลาขนาดกลางในนาํ ลึก บูบอู ีกดั มี ๓ ขนาด สังเกตจากโก๊ะ (ไมโ้ คง้ ) บูบูอีกดั มีโก๊ะ ๓ อนั ส่วนสูงประมาณ ๑ – ๑.๕ เมตร ชาวเลใชเ้ ป็ นบูบูคราด หากมโี กะ๊ ๔ – ๕ อนั ส่วนสูง ๑.๕ – ๒ เมตร เป็ นบูบูดาํ บูบูหนุย มีโครงไมเ้ ส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ๑ - ๑.๕ ซม. ประกอบเป็ นทรงรูปสีเหลียมผนื ผา้ ขนาด ๑ ลูกบาศก์เมตร ดา้ นบนบูบูหนุยเป็ นทรงโคง้ แบบหลงั เต่า ด้านแคบ ๒ ดา้ น ดา้ นหนึงเป็ น ประตู เรียกวา่ อูรัยจ มานางา ใชเ้ ส้นลวดถกั เป็ นตาข่ายลึกเขา้ ไปกลางบูบู สอบเขา้ เกือบใกลก้ นั ห่าง ประมาณ ๔ - ๖ ซม. มีปลายเส้นลวดเรียงเป็ นแนว กนั ไมใ่ ห้หมึกเคลือนออกยอ้ นประตทู างเขา้ ก่อนลาํ เลียงลงเรือไปวางในแหล่งบาฆดั ชาวเลจะใช้ใบเต่าร้างคลุมตลอดหลงั เต่าบบู ู เพือให้พนื ทีในบบู เู สมือนโพรงหลบภยั ทีมีเหยอื กลินคาวปลาหรือไข่หมึกผกู ติดไวใ้ นภายใน บูบูเกอตบั มีรูปทรงเป็ นสีเหลียมลูกบาศก์ กวา้ งประมาณครึงเมตร ยาวประมาณ ๑ เมตร ทรงสูง ๑.๕ เมตร โครงสร้างบูบูเกอตบั เป็ นไมจ้ ริงขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ๑ นิว หุม้ ดว้ ยเส้นลวด ถกั เป็นตาข่าย หรือหุม้ ดว้ ยตาข่ายในสังเคราะห์ มีเหยอื สดกลินคาวไวล้ ่อปูเขา้ บูบู บูบูอีกดั ก็มีโครงไมข้ นาด ๔-๖ ซม. วางบนฐานบูบูซึงเป็ นไมข้ นาด ๕ - ๗ ซม. ประกอบ เป็ นทรงสีเหลียมผืนผา้ ดา้ นบนสอบเขา้ เป็นทรงหลงั เต่า หนา้ แคบ ๒ ดา้ น ดา้ นประตูและส่วนทา้ ย กวา้ งประมาณ ๒ เมตร สูงประมาณ ๑.๕ เมตร ดา้ นประตูเรียกวา่ อูรัยจ มานางา ถกั ดว้ ยเส้นลวดเป็ นตา ข่าย ลวดลายตานกเปลา้ สอบเขา้ หาเกือนติดกนั ห่างประมาณ ๒ - ๓ นิว แตม่ ีปลายลวดยาวออกไปดงั หนามแหลม กนั ไม่ให้ปลายอ้ นออกไปทางประตูทางเขา้ ทรงดา้ นยาว ยาวประมาณ ๓ - ๔ เมตร ไม้ โครงสร้างเป็ น “โก๊ะ” ไมโ้ คง้ จึงทาํ ใหด้ า้ นบนบูบูเป็ นทรงโคง้ หลงั เต่า ตรงดา้ นหน้าแคบตรงขา้ มกบั อู รัยจ มานางา มีโกะ๊ ไมโ้ คง้ เป็ นโครงสร้าง จงึ ทาํ ให้ดา้ นทา้ ยบูบูเป็นทรงโคง้ มน หุ้มดว้ ยเส้นลวดถกั เป็ น “ตานกเปลา้ ” ตลอดทงั หลงั แตช่ ่างเห็นธรรมชาติของปลาปากคม เช่นปลาปักเป้า จะไม่กดั กินตะไคร่ นาํ ทีเกาะตดิ กบั ตาข่ายในส่วนดา้ นบนเสมือนหนึงหลงั คาบูบูนนั ช่างจึงใชต้ าข่ายใยสังเคราะห์สาํ เร็จรูป มาปิ ดแทนเสน้ ลวดตาขา่ ย
๗ ชือเรียกชินส่วนบูบู การเตรียมไม้ประกอบบูบู ช่างชาวเลตอ้ งตระเตรียมไมโ้ ครงสร้าง ไมป้ ระกอบ หวายหรือเถาวลั ย์ ไมไ้ ผซ่ ีก และไมไ้ ผท่ งั ปลอ้ ง ซึงเป็นทรัพยากรชายฝังทะเลทีหามาไดด้ ว้ ยตนเองในพนื ทีสาธารณะ ลาํ เลียงมาสะสมไวใ้ น บริเวณลานกวา้ งประมาณ ๓ x ๕ เมตร เป็ นอยา่ งนอ้ ย อุปกรณ์ช่างสร้างบูบูก็ไดม้ าจากทรัพยากรชายฝังทะเล เช่น หินหยาบแทนกระดาษทราย หนงั ปลากระเบนมว้ นแทนกระดาษทราย ไฟจากการขดั สีของไมเ้ นือแขง็ ยกเวน้ มดี เหล็กทีตอ้ งพงึ สงั คม อืน ในปัจจุบนั (พ.ศ.๒๕๖๔) ช่างบูบูใชอ้ ุปกรณ์เลือยคนั ธนู มีดพร้า คมี เส้นลวด เชือกใยสังเคราะห์ แทนเถาวลั ย์ ขวดนาํ พลาสติกแทนไมไ้ ผท่ งั ขอ้ ตะปแู ทนเชือกหรือสลกั ไมเ้ นือแขง็ เมือเปลียน โครงสร้างบูบูจากไมไ้ ผม่ าเป็นหวาย ไมจ้ ริง เชือกหรือเถาวลั ยม์ าเป็นตะปู อุปกรณ์ก็มีคอ้ นแทนกอ้ น หินหรือคอ้ นไมเ้ นือแขง็ ช่างบูบูใชไ้ มป้ ระกอบโครงสร้างบูบู ใชไ้ มข้ นาดประมาณ ๒ - ๓ นิวเป็ นโครงสร้างของบูบูอี กดั ส่วนบูบหู นุยใชไ้ มโ้ ครงสร้างขนาดประมาณ ๑ นิว ๑. เปอฮา เป็นไมข้ าบูบู ใชไ้ มเ้ สมด็ แดง เสมด็ ชุน ๒. ปล๊อย เป็นไมร้ อดวางบนเปอฮา ใชไ้ มเ้ สมด็ แดง เสมด็ ขาว เป้ง
๘ ๓. เหร้หมา้ ด เป็ นไมร้ าวขา้ ง ขา้ งซา้ ย ขา้ งขวา ขา้ งบน ใชไ้ มเ้ สมด็ แดง เสมด็ ขาว เป้ง ๔. โก๊ะ เป็ นไมโ้ คง้ จาํ นวน ๓ – ๕ ท่อน โกะหนา้ โกะกลาง โก๊ะหลงั ใชเ้ ถาวลั ยเ์ นือเหนียว จาก เถาวไ์ มม้ ูสัง ไมย้ บั หยวี เล็บเหยยี ว ไมส้ ้ม หรือหวายพวน เถาว์ไม้มสู ัง ใช้เป็ นโก๊ะ หวายพวน ใชป้ ็ นโกะ๊
๙ หวายพวนไว้เป็ นโก๊ะ ไม้เสม็ดแดง ไม้เสม็ดขาว
๑๐ ๕. โก๊ะสิกู (ไมโ้ คง้ หนา้ ) ๖. โก๊ะลีเกอ (ไมโ้ คง้ สุดทา้ ย) ๗. ยหี ยะ้ (ไมค้ าํ ) กอต้นเป้ง ไม้เป้ง ใช้เป็ นยหี ย้ะ ๘. อรู ัยจ มานางา (ประตบู ูบู) เป็ นทางปลาวา่ ยเขา้ บบู ู
๑๑ ลาํ ดับการสร้างบูบูอกี ดั ช่างบูบูวางเปอฮาเป็ นฐานโครงสร้าง จาํ นวน ๓ ท่อนขนานกนั ห่างประมาณ ๑ เมตร วางปล๊อย ๔ ท่อนทบั เปอฮา เดิมใชห้ วายหรือเถาวลั ยเ์ หนียวมดั ปล๊อยติดกบั เปอฮา พ.ศ.๒๕๖๔ ช่างใชต้ ะปูตีปล๊อย ยดึ ติดกบั ฐานเปอฮา ภาพการให้ปล๊อยยดึ ตดิ กบั เปอฮา ภาพ : สํานักงานวฒั นธรรมจังหวดั กระบี ช่างใช้หวายหรือเถาวลั ยเ์ ป็ นโก๊ะโคง้ ปลายโก๊ะตรึงติดเปอฮาและปล๊อย จาํ นวน ๔ เส้น มีเสา ยีหยะ้ ๒ ท่อนตรงตาํ แหน่งอรู ัยจ มานางา เป็ นประตูบูบู ไมเ้ หร้หมา้ ด ๓ – ๕ ทอ่ น บนสุด ขา้ งซา้ ย ขา้ งขวา วางตรึงทบั โก๊ะ ช่วยใหโ้ ก๊ะอยคู่ งทีมนั คง - สร้างอูรัยจ มานางา ตรงยีหยะ้ ลึกไปกลางบูบู เดิมใช้ไม้ไผ่จักสานเป็ นอูรัยจ มานามา พ.ศ.๒๕๖๔ ใชเ้ ส้นลวดถกั ลวดลายตานกเปลา้ แทนไมไ้ ผ่ - ดา้ นทา้ ยบูบู มีโก๊ะลีเกอ ๒ เส้นเป็ นโครงยดึ ติดกบั โก๊ะเส้นสุดทา้ ย และปลายเปอฮา - เมือช่างสร้างไมโ้ ครงสร้างมนั คงแข็งแรงแลว้ ช่างใช้เส้นลวดถกั ลวดลายตานกเปลา้ รอบบูบู ส่วนบนบูบูใชต้ าข่ายอวนขึงติดคลุมหลงั เต่าบูบูแทนการถกั เส้นลวด ดว้ ยรู้ธรรมชาติของปลา ปักเป้าปากคมจะไม่กดั แทะตาข่ายอวน
๑๒ ส่วนที ๒ คณุ ค่าและบทบาทของวถิ ีชุมชนทีมตี ่อมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม ๒.๑ คุณค่าของมรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมทสี ําคัญ วิถีชีวิตของชาวเลมีอาชีพหลักคือการประมง (ตารางประชากรชาวเลจังหวัดกระบี ๒๕๖๔) บริเวณชายฝัง สังคมชาวเลมอบหมายให้เป็ นภาระของหญิง ใช้เครืองมือพะโตะ๊ ญาโต๊ะมี ราฆาเป็นทีใส่กุง้ ปูหอยและสาหร่าย แต่การประมงในนาํ ลึกเป็ นภาระของชาย บูบูเป็นเครืองมือประมง นาํ ลึกทีไดป้ ลา ปแู ละหมึกมากกวา่ การบริโภคในครัวเรือน ปลาและหมึกทีไดจ้ ากบบู ูจึงเป็ นรายไดห้ ลกั ของครอบครัว ๒.๒ บทบาทของชุมชนทีมตี ่อมรดก ภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม การสร้างบูบูเป็ นงานในหนา้ ทีประจาํ ของของครอบครัว ทุกครัวเรือนในอาชีพประมงตอ้ ง สร้างบูบู บูบูขนาดเล็กและขนาดกลางเป็ น “บูบูคราด” คนในครอบครัวสามารถแบกหามบูบู คราด ได้ แตบ่ ูบูขนาดใหญ่ซึงเป็น “บูบูดาํ ” จาํ เป็นตอ้ งใชก้ าํ ลงั คนอยา่ งน้อย ๔ คนขึนไปในการแบกหามบูบู บรรทุกเรือ และตอ้ งอาศยั ชาวเลผมู้ ีประสบการณ์ในการดาํ นาํ เพือกูบ้ ูบูดาํ การทีตอ้ งมีคนช่วยเป็ น หน้าทีของเจ้าของบูบูทีจะร้องขอเพือนบา้ นในชุมชนมาช่วยเคลือนยา้ ยบูบูจากแหล่งผลิตไปบรรทุก เรือ และร้องขอชาวเลผมู้ ีประสบการณ์ดาํ นาํ ไปกูบ้ ูบูดาํ คนทงั หมดทีช่วยบูบูดาํ ส่วนใหญ่จะร่วมเป็ น เจา้ ของบูบูนนั ขอ้ ตกลงดว้ ยวาจาทีจะร่วมเป็ นหุ้นส่วนดว้ ยกนั ช่วยกนั ตดั ไมล้ าํ เลียงมาร่วมสร้างบูบู ตามความถนดั เมือไดท้ รัพยจ์ ากบูบูกแ็ บ่งตามแรงงานทีแตล่ ะคนร่วมมือกนั อยา่ งเป็นธรรม ด้วยไม้ทีใช้สร้างบูบูมีอยู่ในเขตเอกสารสิทธิ บางแห่งให้สิทธิตดั ไม้ได้เท่าทีคน ๑ คนจะ สามารถแบกหามเคลือนยา้ ยดว้ ยกาํ ลงั ของตนไดเ้ ท่านนั ซึงคน ๆ เดียวไม่สามารถจะไดไ้ มม้ าสร้างเป็ น บูบ้ ูเพยี งลาํ พงั ได้ จึงตอ้ งอาศยั หุ้นส่วนในกลุ่มนนั ตดั ไมล้ าํ เลียงมาสร้างบูบู สภาพการณ์ในปี พ.ศ.๒๕๖๔ การแบ่งหน้าทีทางสังคม ผูส้ ร้างบูบูก็อาศยั กลไกทางสังคม วา่ จา้ งตดั ไมแ้ ละลาํ เลียงเคลือนยา้ ยมาแหล่งทีสร้าง และกาํ หนดนดั วนั เคลือนยา้ ยลงเรือบรรทุกไปแหล่ง บาฆดั ภูมิปัญญาของชาวเลในการค้นหาทีวางบูบู การกาํ หนดรู้หมายจาํ สถานที ชาวเลเรียกวา่ “เปอหนานา” จะใชต้ ่างกนั เล็กนอ้ ยกบั คาํ “หมกั ” ทงั ๒ คาํ เลือกใชค้ าํ ใดกไ็ ด้
๑๓ หมกั คือ การดูภูมิประเทศแวดลอ้ ม ส่วนใหญ่ใชเ้ หลียมเกาะ จาํ นวน ๓ แห่ง ใหต้ ามองเห็น สภาพนนั ณ ตาํ แหน่งตรงนนั กาํ หนดภาพรู้หมายจาํ เมือเดินทางมากูบ้ ูบู ก็เลือนเคลือนทีไปให้เห็น เหลียมเกาะ ๓ แห่งในทีทีเรือลอยลาํ เพียงเฉพาะในส่วนนี ผไู้ มม่ ีทกั ษะในการกาํ หนดรู้หมายจาํ จะยาก ทีจะคน้ หาบูบูใตน้ าํ ได้ แตก่ ารทีชาวเลมีความสามารถใชก้ ารสังเกตสถานทีจาํ นวน ๓ แห่งต่างทิศทาง เป็ นจุดกาํ หนดรู้หมายจาํ จึงสามารถกบู้ ูบูไดใ้ กลจ้ ุดวาง อนั เป็ นภมู ิปัญญาของชาวเล ส่วนที ๓ มาตรการในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๓.๑ โครงการ กิจกรรมทีมีการดาํ เนินงานของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมในปี พ.ศ.๒๕๖๓ ช่วง วกิ ฤตการณ์โควิด สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั กระบีไดช้ ่วยให้ผมู้ ีประสบการณ์การสร้างบูบูแนะนาํ ปฏิบัติการให้ชาวเลในชุมชนเกาะลันตาร่วมสร้างบูบู ผูม้ ีประสบการณ์สร้างบูบูทาํ บูบูได้ด้วย ตนเอง เมือตอ้ งมีผมู้ าร่วมสร้างร่วมทาํ ดงั การเรียนการสอน จกั ทาํ หนา้ ที “ครู” สาธิตการสร้างบูบู จึง ตอ้ งรําลึกถึงคาํ ศพั ทท์ ีเคยเรียกกนั มาแตก่ าลก่อนนาํ มาใชเ้ รียกอกี ครัง ภาษาอรู ักลาโวย้ ทีเกือบลืมก็ไดร้ ับ การรือฟื นขึนมา การช่วยเหลือเกือกลู จากทีต่างครอบครัวต่างทาํ มาเป็นร่วมมือการสร้างบูบูดว้ ยกนั เป็น กิจกรรมทีมีผลได้บูบูมาใช้ประโยชน์ร่วมกนั ยงั ไดค้ ุณธรรมในการเป็ นมนุษยม์ าเพิมมาเติมเต็มไดอ้ ีก ทางหนึง เหล่านีลว้ นเป็ นภมู ิปัญญาของชาวเลทีจกั มอี ยตู่ อ่ ไป ๓.๒ ข้อมูลการส่งเสริม สนบั สนุนจากหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนหรือภาคประชาสังคม (ถา้ มี) ๓.๓ มาตรการ ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมอืน ๆ ทีคาดวา่ จะดาํ เนินการในอนาคต ส่วนที ๔ สถานภาพปัจจุบัน ๔.๑ สถานการณ์คงอย่ขู องมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม มีการปฏิบตั อิ ยา่ งแพร่หลาย เสียงต่อการสูญหาย ตอ้ งไดร้ ับการส่งเสริมและรักษาอยา่ งเร่งด่วน ไมม่ ีการปฏิบตั ิอยแู่ ลว้ แตม่ ีความสําคญั ต่อวถิ ีชุมชนทีตอ้ งไดร้ ับการฟื นฟู
๑๔ ๔.๒ สถานภาพปัจจุบันของการถ่ายทอดความรู้และปัจจัยคุกคาม การทีบูบูเป็นเครืองมือประมงทีมีศกั ยภาพในการการประกอบอาชีพการประมง ผอู้ าวโุ สชาย ทุกครอบครัวทีมีอาชีพประมง ไดถ้ ่ายทอดการสร้างบูบูให้ทายาทสืบตอ่ ๆ กนั มาอยา่ งไม่ขาดสาย และ มีอยูค่ ูก่ บั กลุ่มชาติพนั ธุ์อูรักลาโวย้ สืบไป ภัยคุกคาม คือ พืนทีให้ไม้อันเป็ นโครงสร้างหลักของบูบูมาจากแหล่งทีมีเอกสาร สิทธิ หน่วยงานทีไดส้ ิทธิครอบครองเพียงผอ่ นผนั ให้ชาวเลตดั ไมเ้ พียงเท่ากาํ ลงั การแบกหามดว้ ยตนเอง เพือเห็นแก่มนุษยธรรมเท่านนั ซึงเป็นหลกั ประกนั ใหเ้ กิดความยงั ยืนไมไ่ ด้ ๔.๓ รายชือผ้สู ืบทอดหลกั (แนบหมายเลข ๑ หนา้ ๒๓) ส่วนที ๕ การยนิ ยอมของชุมชนในการจัดทํารายการเบืองต้นมรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ส่วนที ๖ ภาคผนวก ๖.๑ เอกสารอ้างองิ นฤมล อรุณโนทยั และคนอืน (๒๕๕๗) ทกั ษะวฒั นธรรมชาวเล ร้อยเรืองราวชาวเล – มอแกน มอแกลน และอูรักลาโวย้ ผูก้ ล้าแห่งอนั ดามนั กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ มานุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน) ๒๕๓ หนา้ \"บูบูกลม\" สมหมาย ปิ นพุทธศิลป์ คน้ ควา้ จาก บูบูกลม เมือกนั ยายน ๒๕๖๔ สมหมาย ปิ นพุทธศิลป์ (๒๕๖๔) ยงั ชีพกบั ทะเล ภูเก็ต : สถาบนั ภาษาไทย (สภท.) ๒๗๓ หนา้ ๖.๒ บคุ คลอ้างองิ ทศั ธนา ชา้ งนาํ เพศชาย เกิด พ.ศ. ๒๕๒๒ ภมู ิลาํ เนาจงั หวดั กระบี อยทู่ ี ๒๙๙ ม.๓ ต.ศาลาดา่ น อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นนทวฒั น์ ชา้ งนาํ เพศชาย เกิด พ.ศ.๒๕๓๙ ภูมิลาํ เนาบา้ นเกาะจาํ อยทู่ ี ๑๘๓ ม.๓ บา้ นเกาะจาํ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นารี วงศาชล เพศหญิง เกิด พ.ศ.๒๕๓๐ ภมู ิลาํ เนาจงั หวดั กระบี อยทู่ ี ๑ ม. ๕ บา้ นติงไหร ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี
๑๕ พรสุดา ประโมงกิจ เพศหญงิ เกิด พ.ศ.๒๕๓๑ ภูมิลาํ เนาบา้ นแหลมตง เกาะพีพี จงั หวดั กระบี อยทู่ ี ๗๗ หมู่ ๘ บา้ นแหลมตง ตาํ บลอา่ วนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี ภานุวฒั น์ เกม ชา้ งนาํ เพศชาย เกิด พ.ศ. ๒๕๔๒ อยทู่ ี ๑๔๔/๒ ม.๓ คลองดาว ต.ศาลาดา่ น อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี เกาะลนั ตา กระบี โทร.๐๖๒๖๘๕๕๕๔๘ โทร.๐๖๑๑๙๖๑๒๖๖ สมจิตร ทะเลลึก เพศชาย เกิด พ.ศ.๒๕๑๖ ภูมิลาํ เนาจงั หวดั กระบี อยทู่ ี ๖๖ หมู่ ๗ บา้ นหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี ๖.๓ รูปภาพ พร้อมคําอธิบายภาพ คําอธบิ าย ภาพ ชือเรียกชินส่วนบบู ู เถาว์ไม้มสู ัง ใช้เป็ นโก๊ะ
๑๖ คาํ อธิบาย ๖.๓ รูปภาพ พร้อมคาํ อธิบายภาพ (ต่อ) เถาว์มูสังใช้เป็ นโก๊ะ ภาพ ไม้เสมด็ แดง ใช้เป็ นเปอฮา, ปล๊อย หยหี ย้ะ, หราหม้าด ไม้เสม็ดขาว ใช้เป็ นเปอฮา, ปล๊อย ยหี ย้ะ, หราหม้าด ไม้เป้ง ใช้ต้นเป็ นยีหย้ะ
๑๗ คาํ อธิบาย ๖.๓ รูปภาพ พร้อมคาํ อธิบายภาพ (ต่อ) ภาพ เครืองมือช่างบบู ู เลือย มีดเลก็ มดี พร้า ค้อน ตะปู คีม เส้นลวด เชือก ฐานของบูบู ใช้ไม้เสมด็ แดงหรือเสม็ดขาว ๓ ท่อน เป็ นเปอฮา ปล๊อยวางทบั เปอฮา ช่วยให้ฐานบูบมู ังคงแขง็ แรง ไม้โค้งทเี ป็ นโก๊ะ ใช้หวายพวน
๑๘ คาํ อธิบาย ๖.๓ รูปภาพ พร้อมคาํ อธิบายภาพ (ต่อ) ภาพ ใช้หวายพวน เถาว์มูสัง เถาว์ส้ม หรือเถาว์หยบั หยีว ใช้หวายพวนหรือเถาว์ไม้เหนียว เป็ นโก๊ะอนั ที ๒ อนั ที ๓ จะเป็ นบบู คู ราด มโี ก๊ะอนั ที ๔ และโก๊ะ หากมคี วามสูง ๒ เมตร จะเป็ นบบู ดู ํา คราด ชาวเลใช้เป็ นเครืองมือหย่อนลงนํา ผกู เชือกลากคราดให้เกียวกบั สายเชือกบูบคู ราด เพือกู้บูบู
๑๙ คาํ อธบิ าย ๖.๓ รูปภาพ พร้อมคาํ อธิบายภาพ (ต่อ) ภาพ วางไม้เหรหร้าดทบั โก๊ะ เพือตรึงให้โก๊ะทัง ๓-๕ อันแข็งแรง ด้านข้างบูบู จะมีเหรหม้าด ข้างละ ๒ ท่อน ตรึงติดโก๊ะให้แขง็ แรงมันคง ช่างใช้ไม้เป้งเป็ นเสาตังไว้ ๒ คู่ ค่แู รกตรงโก๊ะสิกู ค่หู ลงั ตรงโก๊ะอนั ที ๒ เพือสร้างอรู ัยจ มานางา ไว้เป็ นประตูให้ปลาเข้าบูบู ตังเหรหร้าดเป็ นเสาคู่แรกทีโกะสิกู ยหี ย้ะ คู่ที ๒ ตังไว้ทโี ก๊ะอนั ที ๒ เพือสร้างอูรัยจ มานางา ให้ปลาเข้าบูบู
๒๐ ๖.๔ ข้อมูลภาพถ่าย ข้อมูลภาพเคลือนไหว หรือข้อมูลเสียง (ระบุประเภทของสือทีแนบมา พร้อมคําอธิบาย) ข้อมูลภาพถ่าย ได้แก่ ภาพบูบูจากชุมชนโต๊ะบาหลิว, บา้ นในไร่, บา้ นคลองดาว, บา้ นหวั แหลม, บา้ นสังกาอู,้ โต๊ะบุหรง, ชุมชนมูตู, ชุมชนกลาโหม, ชุมชนบา้ นกลาง, ชุมชนบา้ นติงไหร และบา้ นแหลมตง ข้อมูลภาพเคลือนไหว ได้แก่ วดี ีทศั นก์ ารทาํ บูบูหนุย, บูบอู กี ดั ข้อมูลเสียง (รวมอยใู่ นขอ้ มูลภาพเคลือนไหวในการทาํ บูบูหนุย, บูบูอกี ดั ) ๖.๕ ข้อมูลผ้เู สนอ ชือ-สกุล ดร.อรุณรัตน์ สรรเพช็ ร เลขที ๕๕/๑๔๓ หมู่บา้ นการเคหะแห่งชาตภิ ูเก็ต ๒ หมู่ที ๑ ตาํ บลศรีสุนทร อาํ เภอถลาง จงั หวดั ภูเก็ต รหสั ไปรษณีย์ ๘๓๑๑๐ มือถือ ๐ ๙๘๐๑ ๕๗๙๕ ๘ อเี มล์ [email protected] ๖.๖ ข้อมูลผู้ประสานงาน ชือ-สกุล นายโกมาต แป้นเกิด โทรศัพท์ ๐ ๗๕๖๒ ๓๙๖๖ โทรสาร ๐ ๗๕๖๒ ๓๙๖๗ มือถือ ๐ ๘๑๘๗ ๔๐๕๖ ๐ อเี มล์ [email protected]
๒๑ มภ. 1
๒๒
๒๓ แบบ มภ. ๑ หมายเลข ๑ บูบูอกี ดั กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ชาวเลมีวถิ ีชีวติ บนพืนทีผนื แผน่ ดินชายทะเลและทะเล ชายฝังทะเลและทะเลเป็ น ทรัพยากรของชาวเล การใชท้ รัพยากรทีมีตามชายฝังทะเลและทะเลเพือการยงั ชีพในอดีตนนั เป็นภาระ แห่งชีวติ ของชาวเล ทีชาวเลเป็นชาวประมงทางทะเล การหาทรัพยาการตามบริเวณชายฝัง เป็ นภารกิจหลกั ของหญิงชาวเล มีเครืองมือประมง เช่น พะโตะ๊ ไวห้ าหอยติเตบ๊ ญาโตะ๊ หาหอยในทรายในโคลน หวายใชค้ น้ หาหอยหรือเพรียง ส่วนการไดท้ รัพยากรในทอ้ งทะเล เป็นภารกิจของชายชาวเล ไดส้ ร้างเครืองมือประมงดกั หมึก เรียก บูบูหนุย ไวด้ กั ปู คือ บูบูเกอตบั และบูบูอีกดั เป็ นเครืองมือประมงขนาดใหญ่เทา่ กระท่อมขนาด ยอ่ ม มีนาํ หนกั ทีตอ้ งใชช้ ายชาวเล ๔ คนขึนไปเคลือนยา้ ยขึนเรือไปวางแหล่งบาฆดั ใชภ้ ูมิปัญญาชาวเล กาํ หนดวนั กูบ้ ูบูอีกดั บคุ คลทยี งั คงสร้างและใช้บูบอู กี ดั รายชือผ้สู ืบทอดหลกั ช่างบูบูอกี ดั (และบบู ูเกอตับ-บบู ูหนุย) . ช่างบูบชู าวเลในจังหวดั กระบี (ช่างบูบู รวมทงั จังหวดั ) นายไกรศร ช้างนํา ๑๔๔/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายครี ี สุวรรณกลุ ๕๑/๖ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายเจตรินทร์ ช้างนํา ๓๓๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายเจษฎา ช้างนํา ๓๓๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายฉันท์ ประโมงกจิ ๘๓ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายชัย ช้างนํา ๑๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายชาญชัย ทะเลลกึ ๔๗ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายชาญชัย ทะเลลกึ ๔๗ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายชาติชัย ช้างนํา ๗๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายชานน ทะเลลึก ๑๘๓ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายโชคชัย ช้างนํา ๑๒๔/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายไชยยณั ห์ เวชโกสิทธิ ๘๒ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายเซ่งลี แซ่อ๋ยุ ๖๕ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายณฐั นนท์ ทะเลลกึ ๑๒๓ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายดวงจติ ช้างนํา ๓๐๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี
๒๔ นายดงั แหม๊ะ ช้างนาํ ๗๙ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายดาํ รง ช้างนํา ๑๘ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายทนง ช้างนํา ๑๖ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายทรรศชัย ช้างนํา ๙๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายทศั ธยา ช้างนํา ๒๙๙ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายทัศนัย ช้างนํา ๑๔๘ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายธวชั อ่อนแอ ๔๗/๒ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายธรี วฒั น์ ช้างนํา ๒๗/๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายนพรัตน์ ประมงกจิ ๗๖ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายนพฤทธิ จนั ทร์จาํ รัส ๑๙๑ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายนราวชิ ญ์ จันทร์จาํ รัส ๑๒๘ ม.๑ เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายนริน ประโมงกจิ ๑๔๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายนริน ประโมงกจิ ๑๔๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายนวิ ฒั น์ ช้างนํา ๙๓ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญช่วย คบคน ๓๔๖ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายบุญเทียบ หลกั เกาะ ๑๓๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญมี ช้างนํา ๒๖๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายบุญรอด ประโมงกจิ ๖๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญลือ ช้างนํา ๒๗/๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญเลศิ ช้างนํา ๙๕ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายบุญเลศิ ประโมงกจิ ๖๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายประกอบ ประมงกจิ ๗๖ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายประจบ ประมงกจิ ๘๕ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายประยุทธ ประโมงกจิ ๑๕๐ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายประสาน ช้างนํา ๒๓๕ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายปัน ช้างนํา ๒๘ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายพนอม ชาวนํา ๘๑ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายพชิ ิตชัย ช้างนํา ๖๐ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายพษิ ณุ ช้างนํา ๓๒๓ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายไพโรจน์ ทะเลลกึ ๒๘๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายมนิน ทะเลลกึ ๒๘๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายมะนัน ช้างนํา ๑๔๗ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายละเหว ช้างนํา ๑๑๔ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายลเิ ปิ น ประโมงกจิ ๒๔ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายวรชัย ช้างนํา ๓๓ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายวรพงศ์ ทะเลลกึ ๕๖ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายวชิ ู ช้างนํา ๗๕/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายวฑิ ูรย์ ประมงกจิ ๑๙๑ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี
๒๕ นายวริ ัตน์ ช้างนํา ๓๓๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสนิท หาดวารี ๗๗ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมจิตร ทะเลลกึ ๖๖ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมปอง ทะเลลกึ ๗๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมพงษ์ เกตุเนตร ๔๗/๑ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมศักดิ ทะเลลกึ ๗๒ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมศักดิ ทะเลลกึ ๗๘ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายส้าหริน ช้างนํา ๗๘/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสาหัน ช้างนํา ๑๑๙ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสินชัย ทะเลลกึ ๑๒๓ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสุทธิ ทะเลลกึ ๒๔๑ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสุรินทร์ ทะเลลกึ ๑๑๕ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสุเอน็ ช้างนํา ๒๗/๓ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายหมดั ประมงกจิ ๒๖ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายหริน ทะเลลกึ ๓ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายหล้ง แซ่อ๋ยุ ๖๕ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอนนั ต์ ช้างนํา ๔๗๒ ม.๑ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอนุชา ทะเลลกึ ๒๕๑ ม.๑ ต.เกาะลันตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายอาํ นวย ช้างนํา ๑๔๔/๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอาํ นาจ ช้างนํา ๑๑๗ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอทิ ธชิ ัย ช้างนํา ๓๗ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอทิ ธโิ ชค ช้างนํา ๑๓๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอเี ก้ง ช้างนํา ๑๔๘ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอแี ทน ช้างนํา ๑๓๐ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอนี ้อม ช้างนํา ๑๔๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอหี นอม ช้างนํา ๗๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอทุ ิศ ช้างนาํ ๒๒๓/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอลุ นิ ทะเลลึก ๗๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายอเุ ส็น ประมงกจิ ๗๙ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายอเุ สาร์ ทะเลลกึ ๓๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายแอถัง ทะเลลกึ ๖๙ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี หมายเลข ๒ บูบูหนุย เครืองมือประมงในการดกั หมึก มีโครงสร้างดว้ ยไมข้ นาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ๑ - ๑.๕ นิว เป็ น ทรงสีเหลียมผืนผา้ ดา้ นบนโคง้ แบบหลงั เต่าดว้ ยหวายเป็ นโก๊ะ ใชเ้ ถาวม์ ูสัง เถาวย์ บั หยีว เถาวส์ ้ม เป็ น
๒๖ โก๊ะก็มี จาํ นวน ๓ แถว มีประตูทางหมึกเข้าเรียกว่า อูรัยจ มานางา ใช้ตาข่ายใยสังเคราะห์คลุมทงั หลงั ขนาดประมาณ ๑ - ๑.๕ ลูกบาศก์เมตร เมือวางในแหล่งบาฆดั เดิมใช้ใบมะพร้าวคลุม หลงั บบู ู พ.ศ.๒๕๖๔ ใชใ้ บเตา่ ร้างคลุมหลงั บูบูเพือใหห้ มึกปลอดภยั เหมือนอยใู่ นซอกหิน . รายชือผ้สู ืบทอดหลกั ช่างบูบูหนุย (และบบู ูเกอตับ-บบู ูอกี ดั ) . ช่างบูบูชาวเลในจังหวัดกระบี (ช่างบบู ู รวมทังจังหวดั ) นายไกรศร ช้างนํา ๑๔๔/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายครี ี สุวรรณกลุ ๕๑/๖ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายเจตรินทร์ ช้างนาํ ๓๓๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายเจษฎา ช้างนํา ๓๓๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายฉันท์ ประโมงกจิ ๘๓ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายชัย ช้างนํา ๑๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายชาญชัย ทะเลลกึ ๔๗ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายชาญชัย ทะเลลกึ ๔๗ ม.๑ ต.เกาะลันตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายชาติชัย ช้างนํา ๗๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายชานน ทะเลลึก ๑๘๓ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายโชคชัย ช้างนํา ๑๒๔/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายไชยยณั ห์ เวชโกสิทธิ ๘๒ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายเซ่งลี แซ่อ๋ยุ ๖๕ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายณฐั นนท์ ทะเลลกึ ๑๒๓ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายดวงจิต ช้างนํา ๓๐๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายดงั แหม๊ะ ช้างนํา ๗๙ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายดาํ รง ช้างนํา ๑๘ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายทนง ช้างนํา ๑๖ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายทรรศชัย ช้างนํา ๙๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายทัศธยา ช้างนํา ๒๙๙ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายทศั นยั ช้างนํา ๑๔๘ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายธวชั อ่อนแอ ๔๗/๒ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายธรี วฒั น์ ช้างนํา ๒๗/๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายนพรัตน์ ประมงกจิ ๗๖ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายนพฤทธิ จนั ทร์จาํ รัส ๑๙๑ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายนราวชิ ญ์ จันทร์จาํ รัส ๑๒๘ ม.๑ เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายนริน ประโมงกจิ ๑๔๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี
๒๗ นายนริน ประโมงกจิ ๑๔๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายนิวฒั น์ ช้างนํา ๙๓ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญช่วย คบคน ๓๔๖ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายบุญเทียบ หลกั เกาะ ๑๓๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญมี ช้างนํา ๒๖๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายบุญรอด ประโมงกจิ ๖๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญลือ ช้างนํา ๒๗/๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายบุญเลศิ ช้างนํา ๙๕ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายบุญเลศิ ประโมงกจิ ๖๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายประกอบ ประมงกจิ ๗๖ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายประจบ ประมงกจิ ๘๕ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายประยุทธ ประโมงกจิ ๑๕๐ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายประสาน ช้างนํา ๒๓๕ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลันตา จ.กระบี นายปัน ช้างนํา ๒๘ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายพนอม ชาวนํา ๘๑ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายพชิ ิตชัย ช้างนํา ๖๐ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายพษิ ณุ ช้างนํา ๓๒๓ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายไพโรจน์ ทะเลลกึ ๒๘๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายมนิน ทะเลลกึ ๒๘๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายมะนัน ช้างนํา ๑๔๗ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายละเหว ช้างนํา ๑๑๔ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายลเิ ปิ น ประโมงกจิ ๒๔ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายวรชัย ช้างนํา ๓๓ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายวรพงศ์ ทะเลลกึ ๕๖ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายวชิ ู ช้างนํา ๗๕/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายวฑิ ูรย์ ประมงกจิ ๑๙๑ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายวริ ัตน์ ช้างนํา ๓๓๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสนิท หาดวารี ๗๗ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมจติ ร ทะเลลกึ ๖๖ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมปอง ทะเลลกึ ๗๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมพงษ์ เกตุเนตร ๔๗/๑ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมศักดิ ทะเลลกึ ๗๒ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายสมศักดิ ทะเลลกึ ๗๘ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายส้าหริน ช้างนํา ๗๘/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสาหัน ช้างนํา ๑๑๙ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสินชัย ทะเลลกึ ๑๒๓ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสุทธิ ทะเลลกึ ๒๔๑ บ้านหวั แหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายสุรินทร์ ทะเลลกึ ๑๑๕ บ้านหัวแหลม ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี
๒๘ นายสุเอน็ ช้างนํา ๒๗/๓ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายหมดั ประมงกจิ ๒๖ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายหริน ทะเลลกึ ๓ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายหล้ง แซ่อ๋ยุ ๖๕ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอนนั ต์ ช้างนํา ๔๗๒ ม.๑ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอนุชา ทะเลลกึ ๒๕๑ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายอาํ นวย ช้างนํา ๑๔๔/๒ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอาํ นาจ ช้างนํา ๑๑๗ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอทิ ธชิ ัย ช้างนํา ๓๗ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอทิ ธโิ ชค ช้างนํา ๑๓๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอเี ก้ง ช้างนํา ๑๔๘ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอแี ทน ช้างนํา ๑๓๐ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอนี ้อม ช้างนํา ๑๔๙ ม.๓ ต.เกาะศรีบอยา อ.เหนือคลอง จ.กระบี นายอหี นอม ช้างนํา ๗๕ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอทุ ศิ ช้างนาํ ๒๒๓/๑ ม.๓ ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลนั ตา จ.กระบี นายอลุ นิ ทะเลลึก ๗๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายอเุ ส็น ประมงกจิ ๗๙ ม.๘ ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายอเุ สาร์ ทะเลลกึ ๓๙ ม.๑ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี นายแอถงั ทะเลลกึ ๖๙ ม.๗ ต.เกาะลนั ตาใหญ่ อ.เมืองกระบี จ.กระบี หมายเลข ๓ จากมุงหลงั คา ชาวเลใชใ้ บไมห้ ลายชนิดมามงุ หลงั คา เช่นใบจาก ใบหวายพวน ใบหวายจาํ ใบมะพร้าว ใบเตย โดง แต่ละชือใบไม้ มีวิธีการเยบ็ ให้เป็ นตบั หรือผืนต่างกนั ใบเตยโดงเยบ็ ดว้ ยหวายเหมีย เรียกวา่ แชง ใช้กนั แดดในเรือและกนั แดดทีเพิงพกั ทีเยบ็ เป็ นตบั มีใบจาก ใบหวายพวนและใบมะพร้าว ใบไมท้ ุก ชนิดทีนาํ มาเยบ็ เพือมุงเป็นหลงั คา จะมีอายุใชง้ านไดเ้ พียง ๑ หนา้ ฝน แต่ชาวเลไดน้ าํ ใบไมไ้ ปแช่นาํ จน เปรียว เพอื ให้แป้งในใบไมอ้ อกจากใบ มอดจะไมม่ ากดั กิน นีคือภูมิปัญญาของชาวเล
๒๙ หมายเลข ๔ ราฆา ราฆา ตะกร้าหวายทรงครึงวงกลม ปากตะกร้ากวา้ งประมาณ ๒ ฟุต เป็ นภาชนะใส่กุง้ หอยปู ปลา ส่วนใหญ่ชาวเลหญิงมกั เป็ นผใู้ ช้ พร้อมดว้ ยเครืองมือประมงขนาดเล็ก เช่นพะโต๊ะ ญาโตะ๊ หวาย เหล็กคราด
๓๐
๓๑ หมายเลข ๕ ญาโต๊ะ เครืองมือประมงชินนี มีปลายเหล็กเป็ นจงอยคล้ายปากนก ไว้ขุดหาปูหาหอยใน ทราย-โคลน ชาวเลไม่ได้สร้างเอง แต่ได้มาเพราะแลกทรัพยากรในทะเลกบั ญาโต๊ะในโรงกลึง เหมืองแร่
๓๒ หมายเลข ๖ พะโต๊ะ เครืองมือประมงขนาดเล็กทีมีลักษณะคล้ายญาโต๊ะ ต่างกันเพราะพะโต๊ะมีปลาย เหลก็ ๒ ด้าน ด้านแหลมเหมือนญาโต๊ะ อกี ด้านแบนแบบสิว ชาวเลใช้งัดแงะหอยติเต๊บออก จากหนิ ชาวเลไม่ได้สร้างเองเพราะมีปลายเป็ นเหลก็ ชาวเลสร้างได้เพยี งด้ามไม้ บางชินใช้ ด้ามเป็ นเหลก็ กม็ ี .
๓๓ หมายเลข ๗ แว่นกนั นํา ชาวเลบ้านแหลมตงประดิษฐ์ด้วยเครืองมือมีดและคีม วาดเส้นวงกลมขนาดแว่นตาบน กระจก ใช้คีมตัดลวดเป็ นคีบหักริมกระจกออกไป จนกระจกเป็ นทรงวงกลมแว่นตา นําไปติดกับ กรอบไม้ทใี ช้มดี ขดู เหลาเกลากลงึ ให้ได้ขนาดแว่นตา การใช้แว่นกนั นํา เมือลงไปใต้ทะเล จะปรับสายตาให้มองเหน็ สภาพใต้นําได้ชัดเจน
๓๔ หมายเลข ๘ บูบูเกอตบั การดักปู นอกจากจะใชห้ ยองแล้ว มีเครืองมือดกั ปูทีชาวเลเรียกว่า บูบูเกอตบั อีกอย่างหนึง สร้างดว้ ยไม้ หุม้ ดว้ ยตาขา่ ยใยสังคราะห์ มีเหยือของคาวแขวนไวล้ ่อปูภายในบูบูเกอตบั โครงสร้างหลกั เป็ นไมป้ ระกอบเป็ นรูปทรงลูกบาศกส์ ีเหลียมทรงสูง กวา้ งและยาว ๑ เมตร สูง ๒ เมตร ใช้ไมข้ นาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางราว ๑ นิว ท่อนยาว ๒ เมตร ๔ ท่อน ท่อนสันยาว ๑ เมตร ๑๖ ท่อน ปลายไมท้ ่อน ๑ เมตร ตีตะปูติดกบั ปลายไมย้ าว ๒ เมตร ทงั ๒ ดา้ น อีก ๔ ท่อน ตีตะปูติดตรง กลางบูบู หุม้ ดว้ ยตาขา่ ยใยสังเคราะห์ทีซือสาํ เร็จรูปมาตดั คลุมบูบู หมายเลข ๙ สมุก ชาวเลเรียกวา่ กะหมุ ไวใ้ ส่สิงของแหง้ ในอดีต จะใส่ของแหง้ ทีกินกบั หมากพลู เช่นหมิด ยา เส้น หมากแหง้ สมุกมี ๒ ชิน เป็นฝาปิ ด ๑ ชิน ชินขวามือเป็ นฝาปิ ด ทงั ใบทาํ ดว้ ยใบเตยจากหลายชนิด ใบเตย โดง ใบเตยลาํ เจียก ใบเตยปาหนนั ใบเตยเล และใบเตยแกะหนู
๓๕ หมายเลข ๑๐ ฝาไมไ้ ผข่ ดั แตะ ไมไ้ ผข่ นาดปลอ้ งเล็ก ผา่ ซีก ๒ – ๓ ซีก มาสานเป็ นลายสอง ถา้ ไมไ้ ผป่ ลอ้ งใหญ่ ผา่ ซีกปลอ้ ง ละ ๒ ซีก ทบุ ซีกไผใ่ ห้แตกแบนราบ นาํ มาจกั สานเป็ นลวดลายลายสอง มีลายอืนเช่นลายคดกริช ลาย สาม ลายสามทแยง ลวดลายทีสานยากขึนแตม่ ีความสวยงามเป็นทีนิยมมากวา่ ร้อยปี คอื ลายลูกแกว้ ชน เผา่ ในฟิ ลิปปิ นส์ อนิ โดนีเซีย และมาเลเซีย กน็ ิยมกนั ฝาดว้ ยไมไ้ ผข่ ดั แตะเป็ นลวดลายลูกแกว้ ฝาไมไ้ ผข่ ดั แตะลายลูกแกว้
๓๖
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: