แบบรายงานนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี ชื่อผลงานนวตั กรรม วยั ใสหวั ใจสเี ขยี ว ดว้ ย CARE MODEL ชอ่ื เจ้าของผลงานนวัตกรรม นางนริ ภาดา โพธิบ์ ุบผา โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 50 สงั กัด สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ โทรศัพท์ 043267223 โทรสาร 043267165 โทรศพั ทม์ ือถอื 0615245353 e-mail [email protected] ประเภทผลงาน ด้านการบรหิ าร ดา้ นการเรียนการสอน สอดคลอ้ งกับคุณลักษณะโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ความพอเพียง ความกตัญญู ความซื่อสัตย์สจุ รติ ความรับผิดชอบ อดุ มการณ์คุณธรรม คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ (โปรดระบ)ุ ...........มีวินยั ......................................................... รายละเอยี ดเอกสารการนำเสนอผลงานนวตั กรรม 1. ความสำคญั ของผลงานนวตั กรรมทน่ี ำเสนอ ตามท่ีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมี พระราชดำริบางประการ เกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช \"การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการ อนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรใช้วิธีการปลูกฝัง ให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะ ทำการศึกษาและอนรุ กั ษ์พืชพรรณตอ่ ไป การใชว้ ธิ ีการสอนการอบรมทีใ่ หเ้ กิดความรูส้ กึ กลัวว่า หากไม่อนุรักษ์ แล้วจะเกดิ ผลเสีย เกิดอันตรายแกต่ นเอง จะทำใหเ้ ด็กเกดิ ความเครียด ซ่ึงจะเปน็ ผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว จากพระราโชวาท พระราชดำริ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี “การรักในทรัพยากร คือ การรักชาติรักแผ่นดิน รักสิ่งที่เป็นสมบัติของตัวเรา การที่จะให้เขารัก ประเทศชาติหรือรักษาสมบัติของเขานัน้ ทำได้โดยก่อให้เกิดความรักความเข้าใจ ถ้าใครไม่รู้จักกัน เราก็ไม่มี ความสัมพันธ์ ไม่มีความผูกพันต่อกัน แต่ว่าถ้าให้รู้จักสิ่งนั้นวา่ คืออะไร หรือว่าทำงานก็จะรู้สึกชื่นชม และรัก หวงแหนสิ่งนั้นว่าเป็นของตน และจะทำให้เกิดประโยชน์ได้ ” จะเห็นได้ว่าการรักทรัพยากรนั้นไม่เฉพาะ ทรัพยากรกายภาพและทรัพยากรชีวภาพเท่านั้น ทรัพยากรทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาก็เป็นสมบัติ ที่ต้องรัก เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ได้ “การอนุรักษ์ทรัพยากร ไม่ใช่เฉพาะให้นักเรียนปลูกป่าหรือให้ อนุรักษด์ ิน ปลูกหญ้าแฝกอย่างเดียว ก็พยายามจะให้ออกไปดขู ้างๆโรงเรียน ว่าที่นั่นมีอะไรอยู่ และต้นไม้ชื่อ อะไร เป็นอะไร ” คือการไปสัมพันธ์กับชุมชน ไม่ทำเฉพาะในโรงเรียนเท่านั้น ในการจัดทำฐานทรัพยากร ท้องถนิ่ ท่ีมสี วนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นเป็นกำลังได้พิจารณาแลว้ ว่า การทำความเข้าใจกับองค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น อันได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือเปน็ หนว่ ยบรหิ ารประเทศที่เลก็ ท่สี ุดที่ต้องดแู ลการศึกษา ดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม ดแู ลประโยชน์ สุขของชุมชน และมีภารกิจในการทำแผนพัฒนาเกษตรของชุมชน ซงึ่ องค์การบริหารสว่ นตำบลจะตอ้ งทราบใน เรื่องข้อมูลทางกายภาพ ข้อมูลชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม ศักยภาพชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อนำภูมิ
2 ปัญญานัน้ ไปพฒั นาต่อยอด เป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ทท่ี ำให้เป็นมาตรฐานสากล ซ่ึงองค์การบรหิ ารส่วนตำบลส่วน ใหญ่ไม่มีบุคลากร ดังนั้น จึงจำเป็นต้องประสานกับชุมชนและโรงเรียน เมื่อพิจารณาหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จะเห็นได้ว่าในสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม นักเรียนจะต้องทราบในเรื่องทรัพยากรใน ทอ้ งถิ่นและการใช้ทรพั ยากรในทอ้ งถน่ิ นนั่ คอื จะตอ้ งมีภมู ิปัญญามากำกบั การใช้ประโยชน์ เช่น พชื ผกั พนื้ เมือง พืชสมนุ ไพร และภมู ปิ ญั ญาดา้ นตา่ งๆ ทรพั ยากรธรรมชาติ และยังสามารถบูรณาการไปยังกลมุ่ สาระการเรียนรู้ อนื่ ๆ เชน่ ศิลปะ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ นำส่กู ารจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนอยา่ งต่อเนอื่ ง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จังหวัดขอนแก่น จัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสทาง การศึกษา ๑๑ ประเภท เช่น เด็กกำพร้า เด็กเร่ร่อน เด็กยากจนมาก เด็กชนกลุ่มน้อย และเด็กบกพร่องทาง สติปญั ญา IQ ๕๐-๗๐ เรียนรวมแบบคูข่ นาน ประเภทอยปู่ ระจำ และไป-กลบั ตง้ั แตช่ ้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖4 ตามหลักสูตรสถานศึกษา และเน้นวิชาชีพ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะอาชีพ ทักษะชีวติ สำหรับการดำรงตนเป็นพลเมืองดขี องชาติในอนาคต มเี ขตพื้นท่ีบริการในพืน้ ท่ีจังหวดั ขอนแกน่ และ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ เพ่อื พฒั นาเดก็ และเยาวชนดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ้ ขเพ่มิ เติมฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545 กำหนดจดุ มงุ่ หมายของการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดี คนเก่ง และสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้และคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชวี ติ และนอกจากนี้ในปจั จุบันโรงเรยี น ราชประชานเุ คราะห์ 50 ยังได้พัฒนาเดก็ และเยาวชนตามโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ซึง่ เปน็ การดำเนิน เพือ่ สืบสานพระราชปณธิ าน เดนิ ตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ให้การจัดการศึกษา สำหรบั เยาวชนให้เป็นพลเมืองท่ีดีท่ีมีความสอดคล้องและเปน็ แนวทางเดียวกันกับพระราชบัญญัติการศึกษาที่ กล่าวมา โรงเรียนจึงได้มีการพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ โดยให้ครู นักเรียนและบคุ ลากรทางการศึกษาของโรงเรียนตระหนักรู้ เข้าใจและมีกระบวนการคดิ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีอย่างมเี หตุผล ซึมซับการทำความดี มีหลักคุณธรรมในใจและมีจริยธรรมที่ยั่งยืนใน การดำเนินชีวิตในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งการสรา้ งเครือข่ายความดีงามออกไปสูส่ ังคมที่งดงามและเรียบ ง่าย และพร้อมที่จะแลกเปล่ียนเรียนรู้จากผู้อื่นได้ตลอดเวลา อันจะทำให้ผู้เรียนมีความรูแ้ ละมีคณุ ธรรมเป็น เครื่องกำกับในการใช้ความรู้ไปพัฒนาสังคมและประเทศชาติสืบไป จากแนวความคิดดังกล่าว ส่งเสริมให้ พฤตกิ รรมท่ีไมพ่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียนลดลง และผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์เพ่มิ ข้นึ ซ่ึงนบั ว่าเปน็ การสนอง แนวพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาที่ไดผ้ ลและย่งั ยนื ตลอดไป จากความสำคัญของการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมข้างต้น ข้าพเจ้าในฐานะครูแกนนำโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 จึงได้ตระหนักรู้เข้าใจและเห็นความสำคัญของการ แก้ปญั หาดังกลา่ วโดยการจัดทำนวัตกรรม “วยั ใสหวั ใจสเี ขยี ว ด้วย CARE MODEL ” เพ่ือเปน็ การส่งเสริมให้ ครไู ดม้ แี นวทางในการบรู ณาการหลกั คุณธรรม จริยธรรม สู่กิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเป็นการปลกู ฝังสร้าง จติ สำนกึ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตริ กั ษาวัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย
3 2. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย 2.1 จดุ ประสงค์ 2.1 เพอ่ื ปลกู ฝงั คุณธรรมใหน้ ักเรียนมจี ติ สำนึกในการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื และ ทรัพยากรธรรมชาติรกั ษาวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย 2.2 เพ่ือให้นกั เรียนเข้าใจและเหน็ ความสำคญั ของพนั ธุกรรมพืช 2.3 เพื่อให้ครบู ูรณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สูก่ จิ กรรมการเรยี นการสอน 2.4 เพอ่ื ขบั เคลอื่ นการพัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน (สพฐ.) ในโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 50 และสรา้ งเครอื ขา่ ยการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.2 เปา้ หมาย เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ 1. นกั เรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 50 จำนวน 808 คน 2. ครูผู้สอนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 50 จำนวน 58 คน เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ 1. นักเรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 คุณธรรมจรยิ ธรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของ โรงเรยี น 2. ครูสามารถบรู ณาการคุณธรรม จริยธรรม ส่กู ิจกรรมการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีความสขุ เพ่อื สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั ให้ผูเ้ รยี นมีจติ สำนึกในการอนุรักษ์พนั ธกุ รรมพืชและทรัพยากรในท้องถน่ิ 3. กระบวนการผลติ นวตั กรรม “วยั ใส หวั ใจสเี ขยี ว ดว้ ย CARE Model” “ การรกั ในทรพั ยากร คอื การรกั ชาตริ กั แผน่ ดนิ ”
4 CARE Model มี 4 องคป์ ระกอบ คอื การอนรุ กั ษ์ (Conservation) การปลูกฝังจติ สำนึก (Attitude) ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibitity) การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้คุณธรรมใหเ้ กดิ ความย่งั ยืน (Environment) ซง่ึ ขับเคล่อื นการทำงานด้วยกระบวนการ PDCA ดงั นี้ 1. C : Conservation (การอนรุ กั ษ)์ การอนุรักษ์ทรพั ยากรอย่างยงั่ ยนื เป็นหวั ใจในการวางแผนการดำเนนิ แนวทางการสอนทสี่ อดแทรก จติ สำนกึ ความเป็นพลโลกที่ดลี งในวิชาท่วั ๆ ไปทุกครงั้ ท่ีมโี อกาสโดยอาศยั ความรูเ้ พิม่ เตมิ จากแหล่งความรูต้ ่าง ๆ ในอนิ เตอร์เน็ต หรอื คำปรกึ ษาจากผู้เช่ียวชาญ เพือ่ มาใชใ้ นการวางแผนการดำเนินงานให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ การอนุรักษเ์ พือ่ ใหม้ ีทรัพยากรธรรมชาตใิ ช้อยา่ งยง่ั ยนื ต่อไปในอนาคต 2. A : Attitude (การปลกู ฝงั จติ สำนกึ ) การปลกู จิตสำนึกการเป็นพลโลกท่ีดกี ับนักเรยี นทุกคน ในทุกโอกาสท่อี ยูภ่ ายในโรงเรยี น โดยให้ ความรู้เก่ยี วกับส่งิ แวดลอ้ ม ให้นกั เรยี นรู้จักธรรมชาติทอ่ี ยู่รอบตวั อย่างชดั เจน จนตระหนักและเหน็ คุณค่าของ สง่ิ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ รวมท้งั ผลกระทบจากการกระทำของตนท่ีสง่ ผลตอ่ สงิ่ แวดล้อม 3. R : Responsibitity (ความรบั ผดิ ชอบ) รว่ มสร้างความรู้สึกรบั ผิดชอบ ต่อปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึนในโรงเรยี น ท่บี ้านหรอื ชุมชน ท่เี กยี่ วกับ สงิ่ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ 4. E : Environment (การพฒั นาแหลง่ เรยี นรคู้ ณุ ธรรมใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื ) พัฒนาอาคาร สถานที่ หรือบริเวณในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย สวยงาม มีลักษณะปลอดโปรง่ นักเรียนรู้สึกสบายใจยามใกล้ชิดธรรมชาติ รวมถึงตกแต่งห้องเรียน ให้มีบรรยากาศของการเรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติสร้างอารมณ์ของความรักความหวงแหนให้เด็กนักเรียนผูกพันต่อธรรมชาติมีอยู่ในบริเวณและ โดยรอบโรงเรียน แนะนำให้รจู้ ักประวตั ขิ องสงิ่ ทีเ่ ป็นธรรมชาตใิ นโรงเรียนและกระตนุ้ ใหต้ ้องระวงั รกั ษาให้คงอยู่ ตลอดไป เช่น ต้นไมใ้ หญท่ อี่ ยู่ในโรงเรียน สัตว์นอ้ ยใหญ่ทอ่ี าศัยอยู่ รวมไปถงึ ป่าไม้ สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ใกลเ้ คียงให้เปน็ แหลง่ คุณธรรมทีย่ ัง่ ยืน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 50 ไดด้ ำเนินการขับเคลือ่ นโรงเรียนคุณธรรม ตามกระบวนการ PDCA โดยนวตั กรรม วยั ใสหวั ใจสีเขียว ด้วย CARE MODEL มกี ารดำเนินงาน ดังนี้ 3.๑ ขน้ั เตรยี มการ (PLAN) C = Conservation (การอนรุ ักษ์) นวัตกรรม CARE MODEL นำหลักการ C = Conservation (การอนุรักษ์) มาช่วยในการ วางแผนในการปลูกฝงั จติ สำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และทรัพยากรธรรมชาติรักษาวฒั นธรรมและภูมิ ปัญญาไทยร่วมกันการวางแผนอย่างเป็นระบบเพือ่ การพัฒนาที่ย่ังยืน ด้วยการมีส่วนร่วมในรักษาและกำหนด ขอบเขตการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติให้มีประสทิ ธภิ าพอย่างชดั เจนโดยใหท้ ุกภาคสว่ นมีส่วนรว่ ม 3.๑.๑. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
5 3.๒ ขั้นดำเนนิ การ (DO) A = Attitude (การปลูกจิตสำนกึ ) ครูจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการหลักคุณธรรม จริยธรรม สู่กิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือเป็นการปลูกฝงั สร้างจติ สำนึกการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตริ ักษาวัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทยบูรณาการ โรงเรียนตามแผนทีว่ างไว้เพ่ือให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติรักษาวฒั นธรรมและภูมิ ปัญญาไทย ผา่ นกจิ กรรมที่หลากหลาย - กิจกรรมปลูกฝังคุณธรรมผ่านค่ายงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น เพือ่ ใหน้ กั เรียนได้สัมผัสกับ ทรพั ยากรธรรมชาติเกดิ ความรู้สกึ อนุรักษ์และหวงแหนทรัพยากรในท้องถนิ่ ภาพกิจกรรมการเรยี นรู้
6 3.3 ขนั้ นิเทศ ติดตาม สรุปผล (CHACK) R = Responsibitity (ความรบั ผิดชอบ) ผบู้ ริหาร กล่มุ บริหารงานวิชาการ หัวหน้างานสรา้ งวินัยในตนเองเพอื่ เป็นตัวอยา่ งในการทำ หน้าทแ่ี สดงถึงการมคี วามรับผิดชอบร่วมแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาคุณธรรมด้วยความจริงใจ 3.4 ขั้นพฒั นางาน (ACT) E = Environment (การพัฒนาแหลง่ เรยี นรูใ้ หเ้ กดิ ความย่งั ยืน) พัฒนาอาคาร สถานท่ี หรอื บริเวณในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย สวยงาม มลี ักษณะปลอด โปร่ง นักเรียนรู้สึกสบายใจยามใกล้ชิดธรรมชาติ รวมถึงตกแต่งห้องเรียน ให้มีบรรยากาศของการเรียนรู้ เกี่ยวกับธรรมชาติสร้างอารมณ์ของความรักความหวงแหนให้เด็กนักเรียนผูกพันต่อธรรมชาติมีอยู่ในบริเวณ และโดยรอบโรงเรยี น แนะนำให้รูจ้ กั ประวตั ิของสิ่งที่เปน็ ธรรมชาติในโรงเรยี นและกระตนุ้ ให้ต้องระวังรักษาให้ คงอยู่ตลอดไป เช่น ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในโรงเรยี น สัตว์น้อยใหญ่ที่อาศัยอยู่ รวมไปถึงป่าไม้ สภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติใกล้เคยี งใหเ้ ป็นแหล่งคุณธรรมทีย่ ัง่ ยนื
7 3.๔.๑. จดั ประชมุ สรุปผลการดำเนินการ เพื่อนำข้อมลู สกู่ ารพฒั นาทกุ ปกี ารศกึ ษา เขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการและรว่ มจดั นทิ รรศการฯ 4. ผลการดำเนินงาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ จากการดำเนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียนโดยการใชร้ ปู แบบ วยั ใสหัวใจสีเขยี ว ด้วย CARE MODEL สง่ ผลให้นกั เรียนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 50 มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนได้รับการยอมรับจากหน่วยงานต่างๆ มากมาย ผลการ ดำเนนิ งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ มีผลเป็นท่ีประจกั ษ์ เป็นรูปธรรมชดั เจน ดังนี้ 4.1 ด้านผู้เรียน : การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียน โดยใช้รูปแบบ CARE Model ส่งผลให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เนื่องจากนักเรียนได้นำหลักคุณธรรม ความพอเพียง ความ รับผดิ ชอบ กตญั ญู ไปใช้ในการดำเนินชวี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับคณุ ธรรมอตั ลักษณข์ องโรงเรียน 4.2 ด้านครู : การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้กับนกั เรียน โดยใช้รูปแบบ CARE Model ส่งผล ให้ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ในกลุ่มสาระต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม ดำเนินงานเป็นลำดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบ มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน ในทุกขั้นตอนของ กิจกรรม มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้เพ่ือหาแนวทางในการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม สรา้ งสรรค์คนดี ให้เกิดขึ้น ในโรงเรียน มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม พัฒนา คุณธรรม จริยธรรม มากขึ้น 4.3 โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือด้านคุณธรรมจากบุคคลและหน่วยงานในการส่งเสริม สนับสนุนในดา้ นต่างๆ
8 5. ปจั จยั ความสำเร็จ ความสำเร็จจากการดำเนินงานพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมในโรงเรียนโดยการใช้รปู แบบ วัยใสหัวใจ สีเขียว ด้วย CARE MODEL ส่งผลให้นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 มีคุณธรรม จริยธรรม มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนได้รับการยอมรับจากหน่วยงานต่างๆ มากมาย ผลการดำเนนิ งานบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ มผี ลเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์ เป็นรูปธรรมชดั เจน เกิดจากการมีส่วน รว่ มของทกุ ฝ่าย ดงั นี้ 5.๑ ผบู้ รหิ ารมกี ารนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม การดำเนินงานอยา่ งใกล้ชดิ และต่อเนอ่ื ง 5.๒ ครู มีความกระตือรอื รน้ ในการจะพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ของนักเรียนอยา่ งจรงิ จงั จริงใจ มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ประสานความรว่ มมอื กันในการแก้ไขปญั หา 5.3 นกั เรยี นใหค้ วามร่วมมือในการทำกิจกรรม ทำใหร้ บั รูไ้ ด้ถึงการซึมซบั รับร้มู คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม 5.4 เครอื ขา่ ยผ้ปู กครองและชุมชนใหค้ วามรว่ มมือ สนบั สนุนและสานตอ่ โครงการต่าง ๆ 1) ศนู ยอ์ นุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืช อพ.สธ. คลองไผ่ 2) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตขอนแก่น 3) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลโนนสมบรู ณ์ 4) วัดพมิ ลธรรมมาราม , วัดพฒั นาวราราม ตำบลโนนสมบูรณ์ อำเภอบ้านแฮด ขอนแก่น ชมุ ชนบ้านโนนสมบรู ณ์ อำเภอบา้ นแฮด จังหวัดขอนแกน่ 5) เครอื ขา่ ยผปู้ กครองนกั เรียน ฯลฯ 6. บทเรียนทไ่ี ด้รบั (Lesson Learn) จากการที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 ได้นำนวัตกรรม “วัยใสหัวใจสีเขียว ด้วย CARE MODEL ” เพื่อให้บรรลุคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ความพอเพียง ความรับผิดชอบ ความกตัญญู โดยมี เป้าหมาย คือ ครู นักเรียน มีความตระหนกั รู้เข้าใจ และคิดอย่างมีเหตุผล ซึมซับคณุ ค่าแห่งคุณธรรมความดี ดงั น้ี 6.1 นักเรียนเกดิ การเรียนรูแ้ ละมีคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียนในการความตระหนักและรู้สึก หวงแหนทรัพยากรธรรมชาติรกั ษาวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย
9 6.2 โรงเรยี นมแี หล่งเรียนรูท้ ี่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย มีบรรยากาศ ร่มรื่น สะอาด สวยงามน่าอยู่ เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัย มีแหล่งทรัพยากรป่าไม้ที่มีความอุดม สมบูรณ์ 6.2 ครู มีวินัยในตนเองเพื่อเป็นตัวอย่างในการทำหน้าที่พลเมืองดี เพื่อแสดงถึงการมีความ รับผดิ ชอบ และมีจิตสาธารณะต่อสงั คม โดยเฉพาะการให้ความสำคญั ตอ่ ส่งิ แวดล้อมเปน็ กรณีพิเศษ และคอย ตอกยำ้ ถงึ ปัญหาและผลกระทบทางด้านสิ่งแวดลอ้ มและธรรมชาติทเี่ กิดข้นึ ในโรงเรียนให้นกั เรยี นเห็นเป็นกรณี ๆ พรอ้ มกบั สอ่ื สารให้นกั เรยี นเหน็ ถึงวิธแี กไ้ ข และอาสาทำเป็นตวั อย่างแลว้ จึงชกั จงู นักเรียนใหร้ ว่ มมือชว่ ยกนั 7. การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรับ การเผยแพร่ 1. มกี ารเผยแพรผ่ ลงานผ่านเวบ็ ไซต์โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ http:/ rpk50kk.ac.th และเว็ปไซตง์ านสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน งานฐานทรพั ยากรท้องถิน่ https://drive.google.com/file/d/13CNn8RKPDZLf1GovyWOIWuNIpKJGN9a3/view 2. เผยแพร่ผลงานให้กับกลมุ่ เครอื ข่ายส่งเสริมประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาโรงเรียนการศกึ ษา สงเคราะหภ์ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ การไดร้ บั การยอมรบั 1. โรงเรยี นไดร้ บั เกียรตบิ ตั รเพื่อแสดงว่าเป็นคณะกรรมการดำเนินงานโครงการสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี น ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน พระราชทาน เกยี รตบิ ตั รสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ข้นั ท่ี ๒ จากโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเดจ็ พระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) ณ วนั ท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
10 2. โรงเรยี นได้รับเกยี รตบิ ตั รเพ่ือแสดงว่าเป็นคณะกรรมการดำเนนิ งานโครงการสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี น ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน พระราชทาน เกยี รติบัตรสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ข้นั ที่ ๑ จากโครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดำรสิ มเดจ็ พระเทพรัตนสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี (อพ.สธ.) ณ วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ 3. ได้รับเกียรตบิ ตั รเพ่ือแสดงวา่ เป็นคณะกรรมการดำเนนิ งานโครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พระราชทาน ปา้ ยสวนพฤกษศ์ าสตรโ์ รงเรียนสนองพระราชดำริ จากโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดำรสิ มเดจ็ พระเทพรตั นสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๙ 4. การศึกษาดงู านของคณะบคุ ลากรจากเครือข่ายโรงเรยี น หนว่ ยงานต่างๆ 8. เงื่อนไขความสำเร็จ การดำเนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามโครงการคุณธรรม สพฐ. จะประสบความสำเร็จ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคไ์ ดน้ น้ั จำเปน็ ต้องอาศัยความรว่ มมือ ร่วมแรง รว่ มใจจากผมู้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายในการ ช่วยกันพัฒนาคุณธรรมให้กับนักเรียน เพื่อให้มีกระบวนการคิดอย่างมเี หตุผลซึมซับรับรู้คุณค่าแห่งคุณธรรม ความดีอย่างเป็นธรรมชาติ และชว่ ยกนั สรา้ งคนดใี ห้บา้ นเมือง
11 8.๑ ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุนในการดำเนินโครงการ อย่างต่อเนื่อง มีความตระหนักและเห็น ความสำคัญของครใู นโรงเรียนท่ีตอ้ งมีความมงุ่ มน่ั ในการพัฒนาคุณธรรมให้เกดิ ขนึ้ กบั ผู้เรยี น 8.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนได้รับการพัฒนาให้ความรู้ได้มาตรฐานตามตัวชี้วดั เกดิ ความตระหนัก ความรู้และความเข้าใจร่วมกันมีเป้าหมายเดียวกัน และร่วมมือกันในการดำเนินโครงการ 8.๓ เครือข่ายความร่วมมือ ผู้ปกครองชุมชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนรว่ มในการดำเนนิ อย่างตอ่ เน่อื ง ขา้ พเจ้าขอรับรองวา่ เป็นผู้มีคณุ สมบัติตามหลักเกณฑก์ ำหนด ทุกประการ ลงชอ่ื .....................................................ผ้ขู อรับการพจิ ารณา (นางนริ ภาดา โพธบ์ิ บุ ผา) ตำแหนง่ ครโู รงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 50 วันท่ี 30 เดอื น สิงหาคม พ.ศ.2564
12 ความคดิ เหน็ ของผบู้ งั คบั บญั ชาชนั้ ตน้ เกยี่ วกบั คณุ ลกั ษณะ คณุ สมบตั ิ และผลงานทโ่ี ดดเดน่ เปน็ แบบอยา่ ง ตามหลกั เกณฑ์ รางวลั “นวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นด”ี ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 นางนริ ภาดา โพธบิ์ บุ ผา เปน็ ครทู ส่ี รา้ ง “นวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นด”ี ขา้ พเจา้ ขอรบั รองว่า นางนิรภาดา โพธ์บิ บุ ผา ตำแหนง่ ครู เปน็ ผู้มคี วามเหมาะสมแกก่ ารยกยอ่ งให้ รบั รางวัล “นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี” ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4 “วยั ใสหัวใจสเี ขียว ด้วย CARE MODEL” เปน็ กระบวนการทีส่ ำคัญเพือ่ สรา้ งจติ สำนึกของนกั เรยี นในการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื และทรพั ยากร รจู้ กั หวงแหน รู้จกั การนาํ ไปใช้ประโยชน์อย่างย่ังยนื ซึ่งมีความสาํ คัญตอ่ การจัดการการอนรุ ักษ์และใช้ทรพั ยากร ของประเทศอยา่ งยั่งยืน ใหน้ ักเรียน และเพอ่ื ใหเ้ กิดความรว่ มมอื ระหวา่ งครู นกั เรยี นและผปู้ กครอง และเพื่อ ขบั เคลอ่ื นการพฒั นาโรงเรียนคุณธรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (สพฐ.) ในโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 50 นวัตกรรม “วยั ใสหวั ใจสเี ขียว ดว้ ย CARE MODEL” เกดิ จากการเรียนรู้กิจกรรมที่ บรู ณาการของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ พร้อมสอดแทรกเร่อื งคุณธรรมโดยมีหลกั การจัดการเรยี นการสอน ข้าพเจ้าขอรับรองว่า นิรภาดา โพธิ์บุบผา ตำแหน่ง ครู เป็นผู้มีความเหมาะสมแกก่ ารยกย่องให้รบั รางวลั “นวัตกรรมสร้างสรรค์คนด”ี ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ลงชือ่ ...........................................................ผู้บังคับบัญชา (นางสุวชิ ญา ชนิ ธนาชกู จิ ) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 50 วันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564
13 ภาคผนวก
14 ตวั อยา่ งชน้ิ งานนกั เรยี น
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: