Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม แม่รองจิ

นวัตกรรม แม่รองจิ

Published by s-u-p-e-r_human, 2021-09-12 13:46:52

Description: นวัตกรรม แม่รองจิ

Search

Read the Text Version

แบบรายงานนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี ชอื่ นวตั กรรม : คณุ ธรรมนาเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 ดว้ ย STAR STEMS MODEL โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. เพ่ือส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละคา่ นิยมของชาติ ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 นางจิรชั ยา ศิลปชยั ตำแหน่ง รองผูอ้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 50 จังหวัดขอนแกน่ สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ เอกสารแบบรายงานนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี ดา้ นการบรหิ ารฉบบั บน้ี เป็นการรายงานผล การนำ “คณุ ธรรมนำเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21 ดว้ ย STAR STEMS MODEL” มาใช้ในการดำเนนิ งาน โรงเรยี นคณุ ธรรม ของโรงเรียนราชประชานเุ คราะ ๕๐ จงั หวดั ขอนแก่น เพอ่ื พัฒนาผ้บู ริหาร ครู และผ้เู รยี น ให้ เป็น คนดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ผ่านกระบวนการเรยี นรู้ในแตล่ ะรายวชิ าที่สอดแทรกคณุ ธรรม โครงการ กิจกรรมของโรงเรยี นทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาขา้ พเจา้ ได้จัดทำขน้ึ ภายในเอกสารประกอบด้วย 1) ความสำคญั ของผลงานนวตั กรรมทีน่ ำเสนอ ๒) จุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย ๓) กระบวนการผลิตนวตั กรรม ๔) ผลการ ดำเนินงาน /ผลสัมฤทธ/ิ์ ประโยชนท์ ี่ได้รับ ๕) ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ๖) บทเรยี นทีไ่ ดร้ ับ ๗) การเผยแพร่ 8) เงอื่ นไข ความสำเรจ็ หวงั เป็นอยา่ งย่งิ วา่ รายงานนวตั กรรม “คุณธรรมนำเด็กไทยในศตวรรษท่ี 21 ดว้ ย STAR STEMS MODEL” ฉบับน้จี ะเปน็ ประโยชน์หรือเป็นแนวทางใหผ้ ้บู ริหารสถานศึกษา นำไปใช้ในการบรหิ าร จัดการโรงเรียน หรอื ครูนำไปพฒั นาให้นักเรียนเป็นคนดี มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ ขอขอบคุณ คณะผู้บรหิ าร คณะครู บคุ ลากรทุกท่านท่ีใหค้ ำแนะนำ ในการจัดทำเอกสารเล่ม น้ใี หส้ ำเร็จเรียบร้อยดว้ ยดี จิรัชยา ศิลปชัย รองผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ

สารบัญ หนา้ เรือ่ ง 1 ๓ คำนำ ๓ สารบญั ๑๒ ๑.ความสำคัญของผลงานนวตั กรรมทน่ี ำเสนอ 14 ๒.จุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย ๑๔ ๓.กระบวนการผลติ นวัตกรรม 15 ๔. ผลการดำเนนิ งาน/ผลสมั ฤทธิ/์ ประโยชนท์ ่ีได้รับ 15 ๕.ปัจจัยความสำเร็จ 1๖ ๖.บทเรยี นที่ไดร้ บั ๗.การเผยแพร่/การได้รับการยอมรัย ๘.เง่อื นไขความสำเรจ็ ภาคผนวก

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ แบบรายงาน นวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี ้ ช่อื ผลงานนวตั กรรม คุณธรรมนำเด็กไทยในศตวรรษท่ี 21 ดว้ ย STAR STEMS MODEL า ชื่อเจา้ ของผลงานนวัตกรรม นางจิรัชยา ศิลปะชัย ท ี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 5๐ จังหวดั ขอนแก่น สังกัด สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ ่ โทรศพั ท์ ๐๔๓-267223 โทรสาร ๐๔๓-267165 โทรศัพท์มือถอื ๐๙๐-๕๘๗๙๐๒๐ e-mail : krujirat2502@gmail.com | ประเภทผลงาน  ดา้ นการบรหิ าร  ด้านการเรียนกรสอน สอดคลอ้ งกบั คณุ ลกั ษณะโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. PAGE \\* MERGEFORMAT ๑  ความพอเพยี ง  ความกตัญญู  ความซอ่ื สัตย์สุจริต  ความรบั ผิดชอบ  อดุ มการณ์คุณธรรม  คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรยี น ความพอเพยี ง ความกตัญญู ความซื่อสตั ย์สุจริต ความรบั ผิดชอบ วินยั และจิตอาสา รายละเอยี ดเอกสารการนำเสนอผลงานนวตั กรรม ๑. ความสำคญั ของผลงานนวตั กรรมทนี่ ำเสนอ ๑.๑ ความเปน็ มา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จังหวัดขอนแก่น เป็นสถานศึกษาประเภทประจำ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และให้ความชว่ ยเหลือทางการศกึ ษาเปน็ กรณีพิเศษแกเ่ ดก็ ดอ้ ยโอกาส ซงึ่ เปน็ เด็กทป่ี ระสบกบั ปัญหาต่างๆ หรอื ตกอยใู่ น สภาวะแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม หรอื อยู่ในสถานภาพท่ดี ้อยกวา่ เด็กทั่วไป และต้องการความช่วยเหลือจากสงั คมเป็นกรณี พเิ ศษ เพอื่ ใหม้ ชี วี ติ และความเป็นอยู่ทดี่ ีขน้ึ มพี ฒั นาการท่ถี กู ต้องกบั วยั และบรรลุถงึ ศกั ยภาพสงู สุด โดยโรงเรียนมีการ จัดการศึกษาด้านวิชาการและทักษะชีวิต ๘ ประการ ไปพร้อมๆกัน ประกอบไปด้วย ๑.กิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย ๒. กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางร่างกาย ๓.กิจกรรมหลักโภชนา ๔.กิจกรรมหลักไตรรงค์ ๕.กิจกรรมเสริมสร้างภาวะ ผนู้ ำ ๖.กจิ กรรมอนรุ กั ษพ์ ลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม ๗.กจิ กรรมส่งเสรมิ อาชพี ท้องถน่ิ และ ๘.กิจกรรมพัฒนาสนุ ทรียภาพ ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้กำหนดกิจกรรมให้นักเรียนทุกคน ได้ปฏิบัติตามกิจกรรมตามตารางตั้งแต่เวลา ๐๕.๒๐- ๒๑.๐๐ น. เป็นประจำทุกวนั เพ่อื ส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ ขอ้ ท่ี ๖. กิจกรรมอนุรกั ษ์พลงั งานและสิง่ แวดล้อม โดยไดด้ ำเนนิ การ แบ่งพนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบใหแ้ ต่ละเรอื นนอนชว่ ยกนั ดูแลรักษาความสะอาดและรักษาสิง่ แวดลอ้ มให้ดอี ยู่เสมอ โดยใชเ้ วลาช่วง หลงั เรียนช่ัวโมงสดุ ท้าย ต้ังแต่เวลา ๑๖.๓๐ น. จนถึงเวลา ๑๗.๐๐ น. นบั เป็นเวลา ๓๐ นาทขี องทกุ วนั แต่ปัญหาที่พบ คอื นกั เรยี นขาดวินยั ในการดแู ลรกั ษาความสะอาดและรักษาสงิ่ แวดลอ้ มตามพ้ืนที่ท่ีรบั ผิดชอบ อีกท้งั คณะครยู ังขาดการ กำกับดูแลนักเรียนในความดูแลอย่างใกล้ชิด จึงทำให้ได้ดำเนินโครงงานโรงเรียนคุณธรรม และคิดค้น STAR STEMS Model ขึ้นเพื่อนำไปใช้ประกอบด้วยอุดมการณ์สร้างคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีวินัย รักและภูมิใจในชาติ มี ความสามารถเช่ียวชาญตามความถนัด รับผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ โดยการนำ STAR STEMS Model มาใช้ในการแก้ไขปัญหา นั้นได้มีกระบวนการเรยี นรู้ที่ปรับให้เข้ากับสภาพ ภมู ิสงั คมของโรงเรียนและมขี น้ั ตอนในการทำงาน โดยมีการวางแผนร่วมกันใชห้ ลกั คิดวิทยาศาสตร์บนพื้นฐานความเป็น คนไทย โดยใชก้ ารเรยี นรแู้ บบการแก้ไขปญั หาด้วยสถานการณ์จรงิ มาบูรณาการในการจัดงานอาชพี เพื่อการมีงานทำใน ศตวรรษที่ ๒๑ สร้างสรรค์แนวทาง สอดแทรกคุณธรรมโรงเรียนตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม โดยให้ จัดทำ โครงงานคณุ ธรรมของผู้บริหาร โครงงานคณุ ธรรมของคณะครู โครงงานคุณธรรมในช้นั เรียน โครงงานคณุ ธรรมของหอ นอน และโครงงานคุณธรรมของงานอาชีพ แล้วลงมือปฏิบัติ กำกบั ตดิ ตาม และการประเมนิ ทำให้นักเรยี นมีวินัย และ ความรบั ผิดชอบในการทำกิจกรรมตา่ งๆ ของสถานศึกษา และดแู ลรกั ษาความสะอาด รักษาสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่ ของตนเอง คณะครูเข้าไปควบคุมดูแลนักเรียนในความดแู ลของตนเองให้เกิดความเรียบร้อย และผู้บริหารคอยกับกบั นิเทศ ติดตาม และประเมินผลท่เี กดิ ขนึ้ ในการนำ STAR STEMS Model มาใช้ ๑.๒ หลกั การและเหตผุ ลของวธิ ีหรอื แนวทางปฏิบัติท่เี ปน็ เลิศ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชกระแสรบั สงั่ “ชว่ ยสรา้ งคนดี ใหบ้ ้านเมอื ง” และพระราชทานหลกั ๓ ประการ ในเร่อื งครูและนักเรียนว่า “ให้ครูรกั เดก็ และเดก็ รกั ครู ให้ครูสอนใหเ้ ดก็ มนี ำ้ ใจต่อ เพอื่ น ไม่ใหแ้ ข่งขนั กนั แต่ให้แขง่ ขนั กบั ตัวเอง และใหเ้ ดก็ ท่ีเรียนเก่งช่วยสอนเพื่อนทเี่ รียนช้ากวา่ ให้ครูจัดกิจกรรมให้ นกั เรยี นทำรว่ มกนั เพ่ือใหเ้ ห็นคณุ ค่าของความสามัคคี” อกี ท้ังกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายในการขับเคลอื่ นโรงเรยี น คุณธรรมในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ซึง่ เปน็ โครงการเพ่อื สืบสานพระราชปณิธาน เดินตามรอย เบื้องพระยุคลบาท ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพล อดุลยเดชแลตามพระราชประสงคข์ องสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๑๐ ในการเสรมิ สรา้ งระบบคุณธรรมจริยธรรม ในรอบรัว้ สถานศกึ ษา การกา้ วทนั ยุคโลกาภิวัตน์ การใช้ภาษาตา่ งประเทศทีม่ ีความไพเราะถูกต้อง การสง่ เสริมความกตญั ญูกตเวทิตา และความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ซึง่ ศนู ย์ โรงเรียน คุณธรรม มลู นิธิยุวสถิรคุณ ได้อัญเชญิ พระราชกระแสรบั ส่ังของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช ทีว่ า่ “ช่วยกนั สรา้ งคนดีให้บ้านเมอื ง” มาเป็นวิสัยทศั น์ในแผนดำเนนิ งาน โดยมุ่งเน้นการพฒั นาศกั ยภาพครูให้มี ความสามารถในการออกแบบ และจัดการเรียนรูเ้ ชิงบูรณาการความรคู้ ู่ความดี และสามารถพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม นักเรียนแบบองคร์ วมได้ ที่ผ่านมาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จังหวัดขอนแก่น ได้ส่งคณะครูเข้าร่วมอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนา วิทยากรครูแกนนำโรงเรียนคุณธรรม และจัดอบรมเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับครูแกนนำและนักเรียนแกนนำ มี ศึกษานิเทศก์ โรงเรียนเครือข่ายจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๒ มาร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้กระบวนการทำโครงงานคุณธรรม ดังนั้นเพื่อให้การขยายผลการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จงั หวัดขอนแกน่ จึงไดจ้ ัดทำโครงการโรงเรียนคุณธรรมขน้ึ มาในคร้งั นี้

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ๒. จุดประสงค์และเปา้ หมาย จดุ ประสงค์ 1) มกี ระบวนการพฒั นาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ท่ชี ัดเจน 2) มกี ลไกและใช้โครงงานคณุ ธรรมเป็นเครอื่ งมอื ที่ทกุ คนมีส่วนร่วมสามารถนำสู่การปฏิบัติ เพ่ือพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. 3) ครู บุคลากรและนักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๔) เกดิ กระบวนการมสี ่วนร่วมในการพฒั นา คุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียน ๕) มีองคค์ วามรู้ ในการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการบรู ณาการกับการจัดการเรียนรู้ ทักษะอาชพี เพื่อการมีงานทำ เปา้ หมาย ๑) เชงิ ปรมิ าณ - ผูบ้ ริหารโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ จำนวน ๕ คน - คณะครูโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ จำนวน ๕๘ คน - นักเรยี นโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จำนวน ๘๐๘ คน ๒) เชงิ คณุ ภาพ ผบู้ ริหาร ครู และนักเรยี น ตระหนกั รู้ เขา้ ใจ และมีกระบวนการคิดอยา่ งมเี หตุผลบนพืน้ ฐาน ของคุณธรรม มองเหน็ คณุ ค่าแห่งการทำความดี และภมู ใิ จในการทำความดี ๓. กระบวนการผลติ นวตั กรรม กระบวนการผลิตนวตั กรรมคณุ ธรรมนำเด็กไทยในศตวรรษที ๒๑ ดว้ ย STAR STEMS MODEL มขี ั้นตอนดงั นี้ ๓.๑ การออกแบบนวตั กรรม การบริหารโรงเรยี นคณุ ธรรมนำเดก็ ไทยในศตวรรษที ๒๑ ด้วย STAR STEMS MODEL เปน็ นวัตกรรมที่ มุ่งเนน้ ใหโ้ รงเรียนจดั การศกึ ษาโดยยดึ ผ้เู รียนเป็นสำคญั สนับสนนุ ให้มีการศึกษาจากแหลง่ เรียนรู้ท้ังภายในและภายนอก โรงเรียนเพ่ือปลูกฝังใหน้ กั เรยี น เป็นพลเมอื งดี มีวนิ ยี ภมู ิใจในชาติ มคี วามรบั ผิดชอบต่อครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และ ระเทศชาติด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ “STAR STEMS” โดยการเรยี นรู้แบบการแก้ไขปัญหาดว้ ยสถานการณ์ จรงิ มีการสอดแทรกคุณธรรมอตั ลักษณ์ในการจัดการเรยี นรู้ เพื่อมงุ่ พฒั นาผู้เรยี นตามกรอบแนวคดิ คณุ ธรรม ข้ันท่ี ๑ กำหนดลำดบั ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานกจิ กรรมการพฒั นา FLOW CHART (แผนภมู )ิ STAR STEMS MODEL

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๓ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ การดำเนินงานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ จงั หวัดขอนแกน่ มีวธิ ีดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบ โดยมีกระบวนการทำงานตามรปู แบบวงจรคุณภาพเดมมงิ่ (PDCA) ประกอบด้วย ๑) P (PLAN) คอื การจัดเตรียมและวางแผนการดำเนินงาน มกี ารประชุมคณะครู เพ่ือชแ้ี จงนโยบายโรงเรียน คณุ ธรรม มีการวเิ คราะห์หลักสูตร วเิ คราะห์ผเู้ รยี น บูรณาการ STAR STEMS กบั รายวิชาทส่ี อนสอดแทรกคุณธรรม บูรณาการโครงงานคณุ ธรรมนำอาชพี บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒) D (DO) คือการปฏิบัติตามแผน ดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ เชน่ จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ บรู ณาการ STAR STEMS ที่สอดแทรกคณุ ธรรม บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงการจดั ทำโครงงาน คุณธรรมระดับชั้นเรยี น โครงงานคณุ ธรรมของหอนอน และโครงงานคุณธรรมนำอาชีพ ๓) C (CHECK) คอื การตรวจสอบ มกี ารกำกับ นเิ ทศ ติดตามการดำเนินงานของครปู ระจำวชิ า ครูประจำชน้ั ครูหอนอน ครทู ่ปี รึกษาชมุ นมุ และครูที่ปรึกษางานอาชีพ ๔) A (ACT) คือ การปรบั ปรุง เมอ่ื สน้ิ ปกี ารศกึ ษา เพ่ือตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงาน นำผลมาแก้ไขพฒั นาต่อไป

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๔ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ขนั้ ท่ี ๒ กำหนดกรอบแนวคดิ ดงั น้ี S : Student (คนดี มีวินยั ภูมใิ จในชาติ) ผู้บริหาร ครู ประชุม วางแผนร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน บริบทชุมชน เพื่อส่งเสริมการจัด การศึกษาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย มีความ รับผิดชอบในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมในโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ อย่างชัดเจน T : Teacher (ครูกระตนุ้ ความคดิ กระตนุ้ จินตนาการ แนะนา กากับ) คุณครูกระตุ้นความคิด แนะนำโดยใช้หลักคิด วิทยาศาสตร์บนพื้นฐานความเป็นคนไทย โดยใช้การเรียนรู้ แบบการแก้ปัญหาด้วยสถานการณ์จริงเป็นเคร่ืองมือการบูร ณาการ หลักคิดเชิงวิทยาศาสตรด์ ้วยกรอบแนวคิดคุณธรรม โรงเรยี นตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. A :Academic (บูรณาการสาระวชิ า ความดี วนิ ยั ภูมใิ จใน ชาติ รับผิดชอบ) คณะครูจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทบ่ี ูรณาการกบั รายวชิ า ในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ บรู ณาการในการจดั งานอาชพี เพอ่ื การมีงานทำในศตวรรษที่ ๒๑ ตามคุณธรรมอัตลักษณ์ ของโรงเรียนส่งผลให้นกั เรียน เป็นคนดี มวี ินัย ภูมใิ จในชาติ มีความรบั ผิดชอบ R : Revolution (ทกุ อยา่ งตอ้ งปรบั เปลีย่ นพลกิ ผันทนั ที) โรงเรียนจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่บี ูรณาการกบั รายวิชาท่ีสอนโดยใช้การเรียนร้แู บบการแก้ปัญหาด้วย สถานการณ์จรงิ โดยมีคุณครูเป็นผูค้ อยชแ้ี นะเพื่อสรา้ ง การเรียนรู้และเตรียมนักเรยี นใหม้ ีความพร้อมมีการปรบั ปรบั เปลย่ี นตามสถานการณป์ ัจจุบนั ในภาวการณร์ ะบาด ของเช้ือไวรัส COVID-๑๙

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๕ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ S : Scientific thinking (หลกั เหต-ุ ผล) ครูผู้สอนอธิบายการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิด ด้วยเหตุด้วยผลแบบวิทยาศาสตร์ในรายวิชาที่สอน สอดแทรกคุณธรรมท่ีเป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียน T : Thai Technology (หลกั ภมู ปิ ัญญาไทย) มีการน้อมนำศาสตรพ์ ระราชามาประยกุ ต์ใช้ความรสู้ คู่ วาม เป็นจรงิ ตามแบบภูมปิ ัญญาไทยเพอื่ บูรณาการเข้ากับงาน อาชีพเพอ่ื การมีงานทำ E : English Engineering (หลักประสทิ ธภิ าพและการสอื่ สาร ภาษาองั กฤษ) เรียนรู้คำศัพท์ในการสื่อสารภาษาอังกฤษ และ ขั้นตอนการดำเนินการ การคำนวณต้นทุน(กำไร) ราคา ขาย การจัดทำโลโก้ การออกแบบชิ้นงาน สามารถนำ เทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช้ M : Moral Mathematics (หลักตรรกะและคณุ ธรรม) มีการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นกระบวนการคิดวเิ คราะห์ การคำนวณ ควบคกู่ ับคุณธรรม ม่งุ ใหน้ ักเรียนเปน็ คนดี มีความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ มีความรบั ผดิ ชอบเพอ่ื นำไปใชใ้ นการ แกไ้ ขปัญหาร่วมกัน S : Socio Geology (หลกั ภมู สิ งั คม) ผลงานที่นกั เรยี นออกแบบ และลงมือปฏบิ ัติ เพอ่ื ให้ได้ ชน้ิ งานทม่ี ีคุณภาพ นา่ สนใจ เพมิ่ มูลค่าโดยมีการนำภูมิ ปญั ญาชาวบา้ น วัฒนธรรมในท้องถิ่นมาประยกุ ตใ์ ช้

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๖ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ขนั้ ที่ ๓ การนำนวตั กรรมไปใช้ เมื่อได้รปู แบบนวัตกรรมการพัฒนาเพอ่ื สร้างสรรค์คนดีตามคุณธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรยี นแล้ว จึงนำไปใช้ จรงิ ในการบริหารจดั การสถานศึกษาตามขน้ั ตอน ดังน้ี ๑) จดั ประชมุ ชีแ้ จงผู้มสี ว่ นร่วมทง้ั โรงเรียน มกี ารแตง่ ตง้ั และมอบหมายงานใหร้ ับผิดชอบในการขับเคลื่อน โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ๒) ผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร ศกึ ษาดงู าน การสร้างหลกั สตู ร STAR STEMS กบั การจัดงานอาชพี เพ่อื การมี งานทำในศตวรรษท่ี ๒๑ ที่สอดแทรกคณุ ธรรม ระหวา่ งวันที่ ๓ – ๔ เมษายน ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนปากคาดพิทยาคม จงั หวดั บงึ กาฬ

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๗ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ๓) โรงเรียนมีการจดั การเรียนการสอนที่บูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตามแนวคดิ STAR STEMS ท่สี อดแทรกคณุ ธรรม ๔) จัดอบรมวทิ ยากรครูแกนนำสกู่ ารพัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม จรยิ ธรรมได้ดว้ ยตนเอง และสามารถสร้างครู แกนนำและนกั เรียนแกนนำ สง่ ตอ่ ร่นุ สรู่ ุน่ ได้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง รวมทง้ั สามารถช่วยขยายผลใหโ้ รงเรียนเครอื ข่ายได้ ๕) ทุกคนในโรงเรยี นดำเนนิ งานตามโครงงานคณุ ธรรมตามลำดับที่ได้จัดทำไวใ้ นโครงรา่ ง ทั้งในระดบั โครงงานคณุ ธรรมท่ีเปน็ กรอบแนวคดิ อตั ลักษณ์ของโรงเรียนไดแ้ ก่ โครงในระดับห้องเรียน โครงงานหอนอน และ โครงงานอาชพี โดยเน้นการดำเนินงานอยา่ งมีความสุข ภายใต้บรรยากาศการทำงานแบบกัลยาณมิตร ๖)ผ้บู ริหารนิเทศกำกบั ตดิ ตาม ทำการนิเทศกำกับติดตามใหค้ ำปรึกษาแก่นกั เรยี นและคณะครู

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๘ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ๓.2 โครงงาน/กจิ กรรมดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกบั คณุ ธรรมเปา้ หมายของโรงเรยี นดงั น้ี - โครงงานผบู้ รหิ าร ผงั โครงงานคณุ ธรรมผบู้ รหิ ารโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ คุณธรรมเปา้ หมายของ โครงงาน/กจิ กรรมท่ี วธิ กี าร/กระบวนการของ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ โรงเรยี น ขอ้ มลู /ทดสอบ สอดคลอ้ ง โครงงาน ความรบั ผิดชอบ - แบบตรวจนบั การเข้า ผูบ้ ริหารคอยนิเทศ -- กจิ กรรมตระหนักร่วมกัน นเิ ทศครูและนกั เรยี น - แบบประเมนิ ความพงึ สรา้ งสรรค์งานอาชพี เพอ่ื การมี - กจิ กรรมมุง่ วางแผน พอใจของผูร้ บั การนิเทศ งานทำ - กจิ กรรมทำคะแนนภาคสนาม - กจิ กรรมติดตามงานท่ีทำ - กจิ กรรมสรปุ ความสำเร็จ

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๙ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ - โครงงานครู (ทงั้ โรงเรยี น) ผงั โครงงานคณุ ธรรมครโู รงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ คุณธรรมเปา้ หมายของ โครงงาน/กจิ กรรมท่ี วธิ กี าร/กระบวนการของ เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ โรงเรยี น สอดคลอ้ ง โครงงาน ขอ้ มลู /ทดสอบ ความรับผดิ ชอบ ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีเพ่มิ -- กจิ กรรมตระหนกั รู้ร่วมกัน - แบบสงั เกตการปฏิบตั ิ ศักดิ์ศรคี วามเป็นครู - กจิ กรรมคำม่ันสัญญา หนา้ ของครู - กจิ กรรมหนา้ ท่ขี องครู - แบบบนั ทกึ และรายงาน - กจิ กรรมตามดูผลงาน ผลการปฏบิ ัตหิ น้าที่ของครู - กจิ กรรมผลิบานความดี

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๐ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ - โครงงานนกั เรยี น ผงั โครงงานคณุ ธรรมนกั เรยี นโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ คุณธรรมเป้าหมายของ โครงงาน/กจิ กรรมท่ี วธิ กี าร/กระบวนการของโครงงาน เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บ ขอ้ มลู /ทดสอบ โรงเรยี น สอดคลอ้ ง - กจิ กรรมวางแผนการจัดหาวสั ดุ - กิจกรรมข้นั ตอนการออกแบบ - แบบประเมนิ การลงมอื ความรับผดิ ชอบ ทอดมันเหด็ เข็มทอง และลงมอื ปฏบิ ัติ ปฏิบัติชว่ ยกนั ในกลมุ่ - กจิ กรรมการออกแบบบรรจุ อาชพี สำหรบั ใหน้ ักเรียนนำไปจำหนา่ ย - แบบบันทึกและรายงาน - กิจกรรมการนำไปจำหน่ายเป็น สรุปบัญชรี ายรบั -รายจ่าย การหารายไดใ้ หก้ ลมุ่ งานอาชพี

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๑ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ๓.๓ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบ (แบบสอบถาม แบบสงั เกต แบบตรวจผลงาน ดชั นชี ว้ี ดั ฯลฯ) ๑) ประเมนิ จากจำนวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ๒) ประเมนิ จากจำนวนโครงงานคณุ ธรรมในโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จังหวดั ขอนแกน่ ๓) การประเมินผลงาน/ผลิตภัณฑท์ นี่ ักเรยี นจดั ทำ ๔. ผลการดำเนนิ การ/ผลสมั ฤทธ/ิ์ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั ๔.1 ผลการดำเนนิ งาน - ผู้บริหาร ครู และนกั เรียน ตระหนกั รู้ เข้าใจ และมกี ระบวนการคิดอยา่ งมเี หตุผลบนพน้ื ฐานของ คณุ ธรรม มองเห็นคณุ ค่าแห่งการทำความดี และภูมใิ จในการทำความดี เม่ือดำเนินการตามขนั้ ตอนของ นวัตกรรมแลว้ ส่งผลต่อโรงเรยี นคอื - คณะครู และนักเรยี นให้ความรว่ มมือการบูรณาการกับการจดั การเรียนรู้ ทกั ษะอาชพี เพอ่ื การมงี านทำ มสี ว่ นรว่ มในการทำโครงงานคุณธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรียน และสังเกตไดเ้ ห็นถึงพฤติกรรมท่เี ปล่ียนไปของทั้งครู และนกั เรยี น ท่มี คี วามรับผดิ ชอบมากยิง่ ขน้ึ มีระเบียบวินัยมากขึน้ และมีความสามัคครี ว่ มมอื กนั ทำงานเปน็ ทีม ผลการดำเนินงานของผู้บรหิ าร และครู ผลการดาเนนิ งานของผบู้ รหิ าร และครู 98% 98% 1 ผู้บรหิ ารและคณะครมู คี วามสนใจและพรอ้ ม 96% 98% ท่จี ะเรยี นรูก้ ารทาโครงงานคณุ ธรรม 92% 95% 2 ผู้บริหารและคณะครมู ีส่วนร่วมในการดาเนิน โครงงานคณุ ธรรม 3 ผู้บริหารและคณะครมู คี วามสุขท่ไี ด้ ดาเนนิ งานโครงงานคณุ ธรรม 4 ผู้บริหารและคณะครูมีการเปลยี่ นแปลง พฤตกิ รรมทีด่ ีขน้ึ 5 ผู้บริหารและคณะครูคิดว่าโครงงานคุณธรรม สง่ ผลทีด่ ีต่อตัวนกั เรียน 6 ผู้บริหารและคณะครคู ิดวา่ เปน็ การดีทจ่ี ะมี การดาเนนิ งานโครงงานคุณธรรมอยา่ งต่อเนื่อง

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ผลการดำเนินงานของนกั เรียน ผลการดาเนนิ งานของนกั เรยี น 90% 85% 1 นกั เรียนมคี วามสนใจและพรอ้ มทจ่ี ะเรยี นรู้ 95% 90% การทาโครงงานคุณธรรม 2 นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการดาเนินโครงงาน 80% 86% คุณธรรม 3 นักเรยี นมีความสุขทไ่ี ด้ดาเนนิ งานโครงงาน คณุ ธรรม 4 นักเรยี นมกี ารเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมที่ดีข้ึน 5 นักเรียนคิดว่าโครงงานคณุ ธรรมส่งผลที่ดตี ่อ ตวั นักเรยี น 6 นักเรยี นคิดว่าเป็นการดีท่จี ะมีการดาเนนิ งาน โครงงานคณุ ธรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง ๔.๒ ผลสมั ฤทธ์ิ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั นกั เรยี น นกั เรยี นมีการพฒั นาตนเองมีความตงั้ ใจ ใฝเ่ รยี นรูแ้ ละกระตือรือรน้ ในการเรยี นรู้แต่ละรายวิชา และเขา้ ร่วมกจิ กรรมตา่ งๆของโรงเรยี น มีความรับผิดชอบต่องานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย มีผลงานทนี่ ักเรยี นออกแบบ และลง มือปฏบิ ัติ ทีม่ ีคณุ ภาพ น่าสนใจโดยมกี ารนำภูมิปัญญาชาวบา้ น วัฒนธรรมในท้องถนิ่ มาประยุกตใ์ ช้ ในการพฒั นาตนเอง มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มีพฤตกิ รรมบ่งชี้เชิงบวกตามคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ที่ดีขึ้น ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ครู ครมู กี ารพฒั นาตนเองตามคณุ ธรรมอัตลกั ษณข์ องโรงเรียนและมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาการจัดการเรียน การสอนท่ีเน้นกระบวนการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ควบคู่กบั คุณธรรม มุง่ ใหน้ ักเรยี นเป็นคนดี มคี วามซ่ือสัตยส์ จุ ริต มีวินัย มีความรบั ผดิ ชอบ มอี ดุ มการณ์คณุ ธรรม ตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ผลทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ผบู้ รหิ าร ผู้บรหิ ารให้ความสำคญั ตอ่ การพฒั นาโรงเรยี นตามคุณธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี นเป็นผ้นู ำในการ ขับเคล่ือนโรงเรยี นภายใตก้ ารบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม การทำงานเปน็ ทีม มีภาวะผู้นำ มีสมรรถนะในการบรหิ ารงาน มี ความโปรง่ ใสเปน็ ธรรม ปฏบิ ัติตนใหเ้ ป็นแบบอยา่ งทด่ี แี กผ่ ู้ใต้บังคบั บัญชาและไดร้ ับการยกย่องเชิดชูเกียรติ

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๑๓ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ผลทเี่ กดิ ขนึ้ กบั โรงเรยี น มผี ลการดำเนินงานโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.ท่ีได้รับรางวลั ระดบั 2 ดาวสามารถเป็น แบบอยา่ งใหก้ ับโรงเรียนอืน่ ได้ จนได้รับการยอมรบั ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตจิ ากบคุ คล ชมุ ชน หนว่ ยงาน องคก์ รภายใน องค์กรภายนอก สง่ ผลให้โรงเรยี นได้รับรางวลั ต่างๆมากมาย ผลทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ชมุ ชน ชมุ ชนและสังคมเลง็ เห็นความสำคญั ในการพฒั นาส่งเสรมิ คุณธรรมอัตลักษณ์ตามโครงการโรงเรียน คณุ ธรรม สพฐ. มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั กิจกรรมต่างๆทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ๔.3 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั ๑) ผู้บริหารมีนวัตกรรมในการบริหารงานด้านคุณธรรม สร้างสรรค์คนดี ในการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และการบูรณาการกับการจัดการเรยี นรู้ ทักษะอาชพี เพ่ือการมีงานทำ ๒) ครู บุคลากรและนักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๓) ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีองค์ความรู้การทำโครงงานคุณธรรมเป็นเครื่องมือที่ทุกคนมีส่วนร่วม สามารถนำสู่การปฏิบตั เิ พ่ือพฒั นาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕. ปจั จยั ความสำเรจ็ ๑) มกี ารวางแผนระบบการบริหารจดั การท่มี รี ูปแบบท่ชี ัดเจน เน่อื งจากเป็นโรงเรยี นประจำจัดการศกึ ษาใหก้ บั นักเรยี นดอ้ ยโอกาส ๑๐ ประเภท ดแู ลนักเรียนตลอด ๒๔ ช่วั โมง จึงต้องมกี ารวางแผน มีการกำหนดเปา้ หมายที่ชัดเจน การบรหิ ารจดั การบุคลากร การบรหิ ารจัดการลงสู่การปฏิบตั ิ มีการขับเคลือ่ นการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ๒) การกำหนดบทบาทหนา้ ที่ของแตล่ ะฝา่ ยงานให้เกิดความชัดเจน เพ่อื ให้เกิดการทำงานที่มีประสทิ ธิภาพและ เกิดประสิทธิผล ๓) ผบู้ รหิ าร คณะครบู ุคลากรมกี ารทำงานเปน็ ทีมรว่ มกนั เพ่ือขับเคล่ือนองคก์ รให้มกี ารพัฒนา กา้ วสู่ ความสำเร็จเพอ่ื บรรลุเป้าหมายตามท่ตี งั้ ใจไว้ ๔) ผบู้ ริหารมีภาวะผนู้ ำ มีทัศนคติทดี่ ี และมคี วามร้คู วามเข้าใจในการขบั เคลอ่ื นโครงการคณุ ธรรมของโรงเรียน และเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีในการใช้ชีวิต ทงั้ ในดา้ นชวี ิตครอบครัวและการทำงาน ๕) ผูบ้ ริหาร สนับสนุนส่งเสริมงบประมาณในการดำเนนิ งาน และขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม ให้ ประสบผลสำเร็จเพ่อื คณะครู นกั เรียนเกดิ องคค์ วามรู้ในการจัดทำโครงงานคณุ ธรรมลงสชู่ ั้นเรียน ๖. บทเรยี นทไ่ี ดร้ บั ความคดิ เหน็ จากบทเรียนที่ได้รับของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ “ทำให้โรงเรยี นสะอาดข้นึ นักเรยี นมีความสามคั คี รจู้ กั เอื้อเฟอื้ เผอ่ื แผ่ซง่ึ กนั และกนั พร้อมเสียสละ และอยใู่ น จติ ใต้สำนกึ ของตนเอง” “ไดร้ ู้จกั มีความรบั ผดิ ชอบมากขน้ึ รจู้ กั อดทน ชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั แลกเปลีย่ นความรู้ และคุณธรรม ทำให้ เรามีชวี ิตท่ีดี รูใ้ นการตรงตอ่ เวลา” “ความรว่ มมอื ร่วมใจกัน ความสามัคคี ความดีในการทำโครงงานคุณธรรม ความคิดใหมๆ่ ความดที ี่เราทำสง่ ผล ต่อโรงเรียนและตวั เอง”

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๔ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ “ได้รู้จักความมีระเบียบวินัย ความมีความรบั ผดิ ชอบ ความตรงต่อเวลา มคี วามรู้ในดา้ นของเวลา แลกเปล่ยี น ความรกู้ ันในห้องเรยี น ถา้ เรามีสงิ่ น้ีติดตัวทำให้เรามชี วี ิตที่ดีข้ึนกวา่ เดมิ ” “ได้เรียนรู้การนำศาสตรพ์ ระราชามาประยกุ ต์ใช้ความรู้ส่คู วามเปน็ จรงิ ตามแบบภมู ิปัญญาไทยเพื่อบูรณาการ เข้ากับงานอาชพี เพอ่ื การมงี านทำ” ๗. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรบั โรงเรยี นมีการเผยแพร่รูปแบบการบริหาร คุณธรรมนำเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 ด้วย STAR STEMS MODEL ผูป้ กครอง ชุมชน องคก์ รทีเ่ กยี่ วขอ้ งไดท้ ราบเพ่ือให้เกดิ ความรว่ มมอื ในการพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. เพื่อส่งเสรมิ ใหก้ ับนกั เรียน ครู บุคลากร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๐ จังหวัดขอนแก่น ด้วยรปู แบบทหี่ ลากหลาย เชน่ การจัดทำแผ่นพบั วารสาร Facebook และ Website ของโรงเรียนเป็นต้น มกี ารการจดั แสดงนทิ รรศการ โครงงานคณุ ธรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งโรงเรียนเพอื่ สร้างเครือข่ายโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. 1. ไดร้ ับรางวัล ๑๐,๐๐๐ ครุ ุชน คนคุณธรรม สำหรับผู้บริหาร ระดบั ดีเยีย่ ม จากสำนกั งานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต ๒ ประจำปี ๒๕๖๔ 2. เป็นผวู้ ิจัยและพฒั นาท่ีเข้าร่วมการส่งนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ท่ีผ่านเกณฑก์ ารพิจารณา ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ด้านการบริหาร ประจำปี ๒๕๖๔ ๓. เป็นวทิ ยากรครแู กนนำ การฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัติการทบทวน และสรา้ งความเข้าใจครแู กนนำและนักเรยี น แกนนำเพ่ือพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ประจำปี ๒๕๖๔ ๔. ได้รับรางวัลผบู้ ริหารสถานศกึ ษาดีของแผ่นดินขน้ั พืน้ ฐาน โครงการเครือข่ายครดู ีของแผ่นดิน เจริญรอย ตามเบอ้ื งพระยคุ ลบาท ประจำปี ๒๕๖๔ ๘. เงอ่ื นไขความสำเรจ็ ๑) การเสริมสร้างภาวะผู้นำ เพอื่ ใหเ้ กดิ แรงหนนุ ในการขับเคลือ่ นโครงการโรงเรียนคุณธรรมอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ๒) การพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบการแก้ปัญหาด้วยสถานการณ์จริงเป็น เครื่องมือการบูรณาการ หลักคิดเชิงวิทยาศาสตร์ด้วยกรอบแนวคิดคุณธรรมโรงเรียนตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๓) การนำเทคโนโลยมี าใช้ในการสนบั สนนุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อสง่ เสริมพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ ของนักเรยี น ๔) การกระบวนการนิเทศ กำกับ ติดตาม การประเมิน และรายงานการดำเนินงานเปน็ ฐานในการพฒั นา คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี นตามโครงการคณุ ธรรม สพฐ.

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๕ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ภาคผนวก

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๖ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ จงั หวดั ขอนแกน่ โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมบรรจไุ วใ้ นแผนประจำปสี ถานศกึ ษา

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๑๗ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ การขับเคลอื่ นโรงเรยี นคณุ ธรรม โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ คณุ ธรรมอตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี นหรอื กรอบแนวคดิ คณุ ธรรมโรงเรยี นคณุ ธรรมสพฐ. ประกาศคุณธรรมอตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา คณุ ธรรมเปา้ หมาย ผบู้ รหิ าร พฤตกิ รรมบง่ ชเี้ ชงิ บวก นกั เรยี น ๑. ความพอเพยี ง ๑. บรหิ ารงบประมาณตาม ครู ๑. ใช้สมดุ หรืออปุ กรณก์ ารเรียน แผนงานของโรงเรยี น ๑. ประหยดั การใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์ อย่างประหยดั รู้คณุ ค่า ๒. ใชท้ รพั ยากรของโรงเรยี นให้ ของโรงเรยี น ๒. มีเงินออมในบญั ชีธนาคาร คุ้มค่า ๒. มเี งินออมในบัญชีธนาคาร ๓. มกี ารปลูกพืชผักสวนครัวไว้ ๓. มีเงินออมในบญั ชธี นาคารโรง โรงเรยี น รับประทานในครัวเรือน เรียน ๓. มกี ารปลกู พชื ผกั สวนครวั ๔. ประหยดั ไฟและนำ้ ด้วยการปดิ ๔. มนี โยบายการประหยดั ไฟและ ไว้รับประทานในครัวเรอื น ไฟ ปิดนำ้ ทกุ ครัง้ หลังใชง้ าน น้ำ ๔.รณรงค์การประหยดั ไฟและน้ำ ๕. ใช้จา่ ยอย่างประหยดั ๕. เปน็ แบบอยา่ งความพอเพียง ๕. เป็นแบบอยา่ งความ พอเพยี ง ๒. ความกตญั ญู ๑. สง่ เสริมกิจกรรมดา้ นความ ๑. ประหยัดการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ ๑.ตง้ั ใจศกึ ษาเล่าเรยี น กตัญญ เช่น วันแม่ , ไหวค้ รเู ป็น ของโรงเรียน ๒. เชื่อฟังคำสัง่ สอน แนะนำ ของครู ต้น ๒. มเี งนิ ออมในบญั ชีธนาคาร และผู้ปกครอง ๒. จัดกจิ กรรมผ้าปา่ ศิษย์เก่า โรงเรยี น ๓. ใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั เพ่ือลดภาระ ๓. เป็นแบบอยา่ งทีด่ ใี นด้านความ ๓. มกี ารปลูกพืชผกั สวนครวั ผู้ปกครอง กตญั ญู ไวร้ ับประทานในครวั เรือน ๔. ปฏบิ ตั ติ นตามระเบียบวินยั ของ ๔.รณรงค์การประหยดั ไฟและนำ้ โรงเรียน ๕. เป็นแบบอย่างความ ๕. ช่วยกันดแู ลรกั ษาความสะอาด พอเพียง รกั ษาสง่ิ ของของโรงเรยี นไมใ่ หเ้ กิด ความเสียหาย ๓. ความซอื่ สตั ย์ ๑. ปฏิบตั ิงานตามระเบยี บของ ๑. มาปฏิบัติหนา้ ที่และเขา้ สอน ๑. ทำการบ้านด้วยตนเอง สจุ รติ ๒. พูดจาสุภาพ และเป็นความจริง ทางราชการอย่างเคร่งครดั ตรงเวลา ๓. ทำข้อสอบด้วยตนเอง ๔. เกบ็ ของได้สง่ คืนเจา้ ของ ๒. การจัดซ้อื จัดจา้ งโปรง่ ใส ๒. ไม่เอาเวลาราชการไปทำ ๕. ขออนุญาตก่อนหยบิ ของผอู้ ่ืน ตรวจสอบได้ ประโยชน์ส่วนตวั ๓. พิจารณาความดีความชอบ ๓. ปฏบิ ัติหน้าที่เตม็ กำลงั อย่างถูกตอ้ งเปน็ ธรรม ความสามารถ ๔. ไมแ่ สวงหาประโยชน์จากหนา้ ที่ ๔. ไม่แสวงหาประโยชน์จาก ราชการ หน้าท่รี าชการ

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๑๘ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ คณุ ธรรมเป้าหมาย ผบู้ รหิ าร พฤตกิ รรมบง่ ชเ้ี ชงิ บวก นกั เรยี น ๔. ความรบั ผดิ ชอบ ๑. ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความมงุ่ ม่นั ครู ๑. เขา้ เรียนตรงเตามวลา และเข้า ต้งั ใจ เสยี สละเวลาและเป็น เรยี นทุกชัว่ โมง อดุ มการณ์คณุ ธรรม ๑. จดั การเรยี นการสอนด้วย ๒. ทำการบ้านหรอื งานท่คี รู วนิ ยั แบบอย่างท่ดี ี วธิ ีการที่หลากหลาย ใชส้ ื่อ มอบหมายดว้ ยความขยัน และสง่ ๒. ทำหน้าทอี่ ำนวยความสะดวก เทคโนโลยีในการสอน งานตรงตามเวลา จติ อาสา สนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน ๒. ดูแลนกั เรยี นในช้นั เรียนตม ๓. ดูแลความสะอาดของรา่ งกาย ของครใู ห้นกั เรยี นเกิดการเรียนรู้ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน เส้อื ผ้า ของตนเอง ๓. สง่ เสริม สนับสนนุ ใหน้ ักเรียนกนิ ๓. ดูแลนกั เรียนท่ีหอนอนเหมือน ๔. รับผิดชอบหนา้ ที่ท่ไี ด้รับ ดี นอนอุ่น มีความสุขในการใชช้ วี ติ พ่อแม่ดูแลลูก มอบหมายจากหอนอนให้เปน็ อย่าง ของนักเรียนประจำ ๔. ทำหน้าทีท่ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย ดี ๔. สง่ เสริมการปฏิบัตงิ าน ๔ กลุ่ม พิเศษครบถว้ น ๕. ดูแลความสะอาดบริเวณทไี่ ดร้ ับ งานให้มีประสทิ ธภิ าพ มอบหมาย ๖. ดูแล รกั ษา สมบัติของโรงเรียน ๑.สง่ เสรมิ ใหค้ รู บคุ ลากร รกั ษาวินัย ๑. มาปฏบิ ตั ิหน้าที่หรือเข้า ๑. เดินแถวอย่างเป้นระเบียบ ๒. ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี ประชมุ ก่อนเวลา ๒. วางรองเท้าอยา่ งเปน็ ระเบยี บ ๓. ใหค้ วามรเู้ รอื่ งวนิ ัยกบั ครูในการ ๒. ร่วมกิจกรรมหลกั ไตรรงค์เพื่อ ๓. เข้าแถวต่อคิวในการรับประ ประชุมประจำเดือน ดนู กั เรียนทกุ เชา้ ทานอาหารอย่างเปน็ ระเบยี บ ๔. แตง่ กายถกู ต้องตามระเบยี บ ๓. ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บของโรง ราชการ เรยี น หรอื ของราชการ ๔. ทำกิจกรรมดอกไมบ้ าน ๕. มนี โยบายการจดั การขยะอย่าง ๔. แตง่ กายถูกต้องตามระเบยี น ดว้ ยอาการสงบเปน็ สมาธิ ยั่งยนื ราชการ ๕. มมี ารยาทในการฟังในทป่ี ระชุม ๕.การรณรงคก์ ารลดปรมิ าณขยะ ๖. ลดปรมิ าณขยะ คดั แยกขยะ ท้งิ ขยะลงในถังขยะ คัดแยกขยะ ท้งิ ขยะลงในถังขยะ ๗. ปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บของหอ นอน ๑. รว่ มกจิ กรรมจิตอาสาช่วยเหลือ ๑.ร่วมกจิ กรรมจิตอาสาชว่ ยเหลือ ๑. รว่ มกิจกรรมจิตอาสาชว่ ยเหลอื ชมุ ชน ชมุ ชน ชุมชน ๒. ร่วมบรจิ าคโลหติ ทกุ ๓ เดือน ๒. รว่ มบรจิ าคโลหิตทุก ๓ เดอื น ๒. ร่วมบรจิ าคโลหิตทกุ ๓ เดอื น ๓. บริจาคส่งิ ของ และทนุ ทรัพย์ใน ๓. บริจาคสิง่ ของ และทนุ ทรัพย์ ๓. บรจิ าคสงิ่ ของ และทนุ ทรัพย์ใน การช่วยเหลอื ผู้อ่นื ในการช่วยเหลือผูอ้ น่ื การช่วยเหลอื ผู้อน่ื ๔. อาสาชว่ ยงานกลุ่มโรงเรยี นอย่าง ๔. อาสาช่วยงานกลุ่มโรงเรยี น ๔. อาสาชว่ ยงานกลุม่ โรงเรยี นอยา่ ง เต็มใจ อย่างเตม็ ใจ เตม็ ใจ ๕. เปน็ แบบอย่างทด่ี ใี นการทำจิต ๕. เปน็ แบบอยา่ งท่ีดใี นการทำจติ ๕. เปน็ แบบอย่างทดี่ ีในการทำจติ อาสาชว่ ยงานของโรงเรนี ชมุ ชน อาสาช่วยงานของโรงเรนี ชุมชน อาสาช่วยงานของโรงเรีน ชุมชน ๖. สมคั รเป็นสมาชกิ จิตอาสา ๖. สมัครเปน็ สมาชิก จติ อาสา ๖. สมัครเป็นสมาชกิ จิตอาสา พระราชทาน พระราชทาน. พระราชทาน

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๑๙ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ กจิ กรรมโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ กจิ กรรมดอกไม้บานหน้าเสาธงทุกวัน สวดมนต์ไหว้พระ และการฝึกนัง่ สมาธิ ในชัว่ โมง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในวนั ศุกร์ การฝกึ อบรมภาวะผนู้ ำ สคู่ รูมืออาชพี ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือให้คณะครูมภี าวะผูน้ ำ และนำส่กู ารพัฒนาผูเ้ รยี น ฝกึ อบรมระเบียบวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม ของนกั เรยี นโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 50 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ คณุ ธรรมเปา้ หมาย วนิ ยั : การเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆของผ้บู รหิ าร ครู และนกั เรียนให้มแี นว ปฏบิ ัติแบบเหมอื นกันเพ่อื ฝึกใหน้ ักเรียนมีระเบยี บวนิ ยั ในการอยรู่ ่วมกนั

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๐ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ กจิ กรรมโครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ซื่อสตั ย์ ตวั อยา่ ง โครงงานคณุ ธรรมระดบั ชน้ั เรยี น พอเพยี ง ความรับผดิ ชอบ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ความรับผดิ ชอบ จิตอาสา ท่ี ชอื่ โครงงานคณุ ธรรม ป.๑ ความรับผิดชอบ ป.๒ ความรับผดิ ชอบ 1 ของหายได้คืน ป.๓ ความรบั ผดิ ชอบ 2 ออมดี มเี งนิ เก็บ ป.๔ ความรับผดิ ชอบ 3 ภารกจิ พิชิตเหา ป.๕ พอเพียง 4 หอ้ งเรยี นสะอาดด้วยมอื เรา ป.6 จิตอาสา 5 คดิ กอ่ นใช้ ประหยัดไฟเพือ่ ชาติ ม.๑/๑ จิตอาสา 6 เข้าครบจบแน่ ม.๑/๒ ความรับผดิ ชอบ 7 หอ้ งเรียนสะอาด ปราศจาก covid 19 ม.๑/๓ วนิ ยั 8 อยู่ครบพบสขุ ม.๑/๔ ความรบั ผิดชอบ 9 ปลูกฝงั จิตอาสาพฒั นาคณุ ธรรม ม.๒/๑ ความรับผิดชอบ 10 เมือ่ พอเพียง หนูก็เพยี งพอ ม.๒/๒ ซ่อื สตั ย์สจุ ริต 11 2/1 ร่วมใจ พิชิตภัย “ขยะ” ม.๒/๓ จิตอาสา 12 จติ อาสา เพอ่ื นสอนเพ่ือน พฒั นาการเรียนรู้ ม.๒/๔ ความรบั ผิดชอบ 13 หยุด bully เพ่อื นขอร้อง ม.๓/๑ กตญั ญู 14 เรียนไม่โดด อยใู่ นโหมดนา่ รกั ม.๓/๒ ความรบั ผดิ ชอบ 15 ส่งการบา้ นสักนิด พิชติ 0,ร ม.๓/๓ วนิ ัย 16 ร้คู ุณท่าน หมัน่ พากเพียร ต้ังใจเรยี น ชาติเจริญ ม.๓/๔ ความรบั ผิดชอบ 17 พดู ได้ พดู ดี เป็นศรแี กป่ าก ม.๓/๕ วนิ ัย 18 เยาวชนรุน่ ใหม่ ใสใ่ จสาธารณสมบตั ิ ม.๔/๑ กตัญญู 19 หนตู ง้ั ใจดี สอบกี่ทีไมม่ ตี ก ม.๔/๒ 20 สำนกึ รกั ราช50 ม.๕/๑ 21 โต๊ะเรยี นสะอาดใส ใสใ่ จรบั ผิดชอบ ม.๕/๒ 22 ปลูกฝังวินยั ใสใ่ จกิจกรรมหลกั ไตรรงค์ ม.๖/๑ 23 บดั ด้คี ู่คดิ พิชิตใจ ใฝก่ ารเรียน ม.๖/๒ 24 วัยใส วินัยเกินรอ้ ย 25 ไปลา มาไหว้

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๑ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ การทำเวรกจิ กรรม 5 ส. ของทกุ วนั เสาร์ และการพฒั นาบรเิ วณพน้ื ทส่ี ว่ นกลาง การฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ในชวั่ โมงงานอาชพี เพอื่ การมงี านทำของนกั เรยี น ผลผลติ ของนกั เรยี นกลมุ่ งานอาชพี สามารถสรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คณุ ธรรมเปา้ หมาย รบั ผดิ ชอบ : นกั เรยี นทำเวรพัฒนา ๕ ส. ทกุ วันเสาร์ เขตพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบ มีครูกำกบั ดูแลอย่างใกลช้ ิด และครูทปี่ รึกษากล่มุ งานอาชพี พานักเรยี นลงปฏบิ ัตจิ รงิ เพอื่ หารายได้ระหวา่ งเรยี น

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๒๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ ตวั อยา่ ง โครงงานคณุ ธรรมของหอนอน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ท่ี ช่อื โครงงานคณุ ธรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ 1 รหู้ น้าที่ หออนิ เปรมปรี ทำดดี ว้ ยหัวใจ หอนอนอินทนิล ความรบั ผิดชอบ พอเพยี ง 2 ประหยัดนำ้ ไฟวนั ละนดิ ตามแนวคดิ ความพอเพยี ง หอนอนชงโค กตญั ญู ความรบั ผดิ ชอบ 3 ประหยัดวนั นเ้ี ปน็ เศรษฐใี นวนั หน้า หอนอนลีลาวดี จติ อาสา กตญั ญู 4 กล่นิ ไม่อบั พบั แล้วเก็บ หอนอนเฟ่ืองฟ้า จติ อาสา วนิ ยั 5 สะอาดสมวยั ใส่ใจไร้ขยะ หอนอนราชพฤกษ์ ซือ่ สตั ย์สุจริต จติ อาสา 6 สักทอง สานสายใยใสใ่ จรกั หอนอนสกั ทอง ความมรี ะเบยี บวนิ ัย วนิ ัย,พอเพยี ง ๗ นอ้ งพีร่ ว่ มใจ ผ้าสะอาดฉับไว สุขใจจังเลย หอนอนโยทะกา ซ่ือสตั ย์สจุ รติ ๘ รวงผึ้ง แถวตรง คงวนิ ยั หอนอนรวงผึ้ง ๙ พดู ได้ พดู ดี หอนอนราชาวดี ๑๐ สุขา สขุ งั เข้าแลว้ สุขจงั หอนอนนนทรี ๑๑ บคุ ลิกดมี ชี ัยไปกวา่ ครึ่ง หอนอนปาริชาติ ๑๒ ใชส้ อ่ื ดี มีวินัย ใสใ่ จพอเพยี ง หอนอนพุทธรกั ษา ๑๓ เวลาไมเ่ คยคอยใคร ถา้ ใสใ่ จให้มากข้ึน หอนอนจามจรุ ี โครงงานคณุ ธรรมของงานอาชพี ท่ี ชื่อโครงงานคณุ ธรรม/งานอาชพี ผรู้ บั ผดิ ชอบ คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ 1 เลยี้ งปูนา นายสิทธิพงษ์ คำพรม ความรบั ผดิ ชอบ 2 เล้ยี งจิง้ หรดี และแปรรูป 3 เลี้ยงปลาดกุ ในบอ่ นายธรี วฒั น์ อุดม ความรบั ผิดชอบ 4 ปลูกเหด็ นางฟา้ ๕ ปลกู บตั เตอร์นทั นายศริ วิ ฒั น์ ขานไธสง ความรบั ผิดชอบ ๖ เพาะกล้าไมป้ ระดบั /ฟอกอากาศ นายกิตติชนม์ ทองสุข ความรับผิดชอบ ๗ เพาะชำกลา้ ไม้ น.ส.ชฎาภา บัณฑติ วงษ์ ความรับผดิ ชอบ ๘ ปลูกพรกิ ในตะกรา้ น.ส.ศิริวิมล จนั ทสวุ รรณ์ ๙ ปลกู มะเขือเทศ นางนิรภาดา โพธ์บิ ุบผา ความรบั ผิดชอบ น.ส.คทั ลียา ยารังสี นางจรี าภา เกษม ความพอเพยี ง น.ส.ทิพยภ์ าพร โปธา นางพัฒนาพร แพงโสดา ความรบั ผิดชอบ น.ส.ปองขวญั วงษา น.ส. กานต์ธรี า ยศอินทร์ มีวนิ ัย

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๒๓ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ โครงงานคณุ ธรรมของงานอาชพี ท่ี ชือ่ โครงงานคณุ ธรรม/งานอาชพี ผรู้ บั ผดิ ชอบ คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ ๑๐ เพาะถั่วงอก นายศิริศกั ด์ิ บุตรดาวัน ความรับผดิ ชอบ ๑๑ ปลกู มะนาว นายพงษ์เลิศ นามทับ วนิ ัย ๑๒ ปา่ ไผ่ 1 นางนริ มล หติ ายะโส วนิ ัย ๑๓ ป่าไผ่ 2 นายวรากร นิลคณุ ความรบั ผดิ ชอบ ๑๔ ผักปลอดสารพษิ น.ส. ลลนา สิงหนกิ ร ความรับผดิ ชอบ ๑๕ ปลูกผกั แปลงยกสูง นายวณั ณุวรรฐน์ ศรไี สว ความรับผิดชอบ ๑๖ ปลกู มะละกอ น.ส. นฤมล นาชัยสนิ ธุ์ ความรบั ผิดชอบ ๑๗ ปลกู มะเขือเทศราชินีในเขง่ นายมนตรี ประรติ ะวา ความรบั ผิดชอบ ๑๘ ปลกู สวนฝรัง่ นายพิษณุ จารีต ความรบั ผิดชอบ ๑๙ ปลูกผักเขง่ นายธนพงศ์ หวานหอม ความรบั ผิดชอบ ๒๐ ชา่ งเช่อื ม นายธนาวัฒน์ สิมศรี ความรับผิดชอบ นายภธู นกิ แก้วลอย ๒๑ นำ้ ดมื่ สะอาด น.ส. อจั ฉรา นาพิมพ์ ความรบั ผดิ ชอบ ๒๒ ธนาคารขยะ น.ส.ภักจริ า จะหลาบหลอง ความรับผดิ ชอบ ๒๓ ผลิตภณั ฑจ์ ากพลาสตกิ นางณฏั ฐณชิ า พลดงนอก ความรบั ผดิ ชอบ ๒๔ ผลติ ภัณฑ์จากต้นกก นางพนาพรรณ ราชเสนา พอเพยี ง น.ส. วรญั ญา นันทา ๒๕ ช่างภาพ นายสทิ ธเิ ดช ใจเย็น ความรับผดิ ชอบ ๒๖ เพน็ ท์แกว้ /เสื้อ นายปริญญา เทวโรจน์ ความรบั ผดิ ชอบ ๒๗ เคร่อื งประดับศริ าภรณ์ นายภกั ดีพร วชิ าราช ความรับผดิ ชอบ ๒๘ ดอกไม้ผ้าทำก๊บิ ติดผม นางธญั ลกั ษณ์ เทวโรจน์ วนิ ยั ๒๙ ช่างตัดผมชาย นายธนพฒั น์ ผาพันธ์ุ ความรับผดิ ชอบ ๓๐ น้ำยาลา้ งจาน นางอมรรักษ์ มะลาด ความรับผิดชอบ ๓๑ ซักรดี เส้อื ผา้ น.ส.อารยี า วิโรจน์ ความรับผิดชอบ ๓๒ นวดแผนไทย น.ส. ปานชนก บุญเอนก วินัย ๓๓ ล้างรถ (คารแ์ คร์) นายกร เหมลา ความรับผดิ ชอบ ๓๔ ทอผ้าฝ้ายด้วยกพ่ี ืน้ เมืองการแปรรูปผลิตภัณฑ์ นางสาวจฑุ ามาศ รัตนทพิ ย์ กตญั ญู ๓๕ ขนมไทย นายวชั รพงษ์ บุตรสุวรรณ์ ซ่ือสตั ย์สุจริต ๓๖ โรงเรยี นธนาคาร น.ส. กณั ฐกิ า ทรายคำ พอเพียง

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๔ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ การประชมุ วางแผน ชแี้ จงผมู้ สี ว่ นรว่ ม เพอื่ ขบั เคลอ่ื นโครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรมนำสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นชนั้ เรยี น หอนอน และงานอาชพี

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๕ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ นกั เรยี นให้ความรว่ มมกี ารจดั ทำโครงรา่ ง โครงงานคุณธรรมในชนั้ เรยี นตามคณุ ธรรมอตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๖ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ การฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ครูแกนนำและนกั เรยี นแกนนำเพอ่ื พฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรมตามโครงการ โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. โดยฝกึ ใหน้ กั เรยี นทำโครงงานคณุ ธรรมระดบั ชน้ั เรยี น และโครงงานคณุ ธรรมของหอนอน

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๗ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ รางวลั /เกยี รตบิ ตั ร ของตนเอง ไดร้ บั รางวลั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาดขี องแผน่ ดนิ ขน้ั พน้ื ฐาน โครงการเครอื ข่ายครดู ีของแผน่ ดนิ เจรญิ รอยตามเบอ้ื งพระยคุ ลบาท ไดร้ บั รางวลั เปน็ บุคลากรทางการศกึ ษาทมี่ ศี ลิ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณดเี ดน่ เนอ่ื งในวนั ครู

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๒๘ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ รางวลั /เกยี รตบิ ตั รของโรงเรยี น รบั เกียรตบิ ตั รงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นขน้ั ที่ 2 เกยี รตบิ ตั รแหง่ การเข้าสสู่ ถานภาพ สถานศกึ ษาอบรมสงั่ สอนเบด็ เสรจ็ บนฐานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ประจำปี 2562 รางวลั สถานศกึ ษาปลอดภัย เปน็ ระยะเวลา 5 ปตี ดิ ตอ่ กนั

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ที่ | ๒๙ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐ รางวลั บณั ณาสสมโภช(Princess Jubilee Award) การจดั การเรยี นการสอนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตรด์ เี ดน่ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ จากสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ณ สวนจติ รลดา รางวลั ศนู ยก์ ารเรยี นรตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ประจำปี 2560

โครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม ห น้ า ท่ี | ๓๐ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๐