Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมีนวิทยาของปลา

เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมีนวิทยาของปลา

Published by aquarium2550fish, 2021-06-16 02:56:57

Description: เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมีนวิทยาของปลา

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี นรอู้ อนไลน์ เรอื่ ง ความรเู้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกบั มีนวิทยาของปลา ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษานครพนม สานกั งาน กศน./สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/กระทรวงศึกษาธกิ าร

1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ “มนี วทิ ยาของปลา” (Ichthyology) มนี วิทยา (Ichthyology) มีน แปลวา่ ปลา วิทยา แปลวา่ วิชาความรู้ ดังนั้น คาว่า มีนวิทยา คือ วิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับปลา รวมถึงลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบ ต่างๆ ภายในตัวปลา การจัดจาแนกปลาออกเป็นกลุ่มหรือประเภทต่างๆ และเร่ืองอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับปลา เป็นต้น โดยท่วั ไปการจดั อนั ดบั ของสตั ว์ตา่ งๆ โดยวธิ แี บง่ ตามธรรมชาติ(Natural classification) นนั้ แบง่ สัตว์ในโลกออกเปน็ 2 เหล่าใหญ่ๆ คอื 1. โปรโตซัว (Protozoa) ได้แก่สัตว์ที่รา่ งกายประกอบด้วยเซลล์เพยี งเซลล์เดียวมีขนาคเล็กมองด้วย ตาเปล่าไมเ่ หน็ เช่น ยูกลนี า (Euglena) 2. เมตาซัว (Metazoa) ได้แก่สัตว์ท่ีมีร่างกายประกอบด้วย เซลล์จานวนมาก มีแขนขาและมีระบบ อวยั วะตา่ ง ๆ มโี ครงกระดูกค้าจุน ซ่ึงสตั วใ์ นพวกน้ีแบ่งออกเป็นพวกใหญ่ ๆ 2 พวก คือ พวกมีกระดูก สันหลัง (Vertebrata) และพวกไม่มกี ระดูกสนั หลงั (Inveitebrata) ความร้เู บือ้ งตน้ “มนี วทิ ยาของปลา” By ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษานครพนม

2 ความรูเ้ บ้อื งต้น “มนี วิทยาของปลา” (Ichthyology) พวกไมม่ กี ระดูกสันหลงั ไดแ้ ก่ 1. Phylum Porifera เปน็ สตั วท์ ่ีมีรพู รุนรอบตวั เร่มิ มีเซลล์ประกอบกนั เขา้ เป็นเนือ้ เยื่อ 2 ชน้ั เชน่ ฟองน้า 2. Phylum Coelenterata มีเยื่อ 2 ชั้นน่ิมเป็นวุ้น รูปร่างคล้ายถ้วยลอยคว้า เช่น แมงกะพรุนบางชนิด อยกู่ บั ท่ี และมีโครงกระดูกเปน็ ปนู แข็ง เช่น ปะการัง กัลปงั หา 3. Phylum Platyhelminthes เป็นหนอนตวั แบน เช่น ตวั ตืด 4. Phylum Nemathelminthes หนอนตวั กลม ตวั ไม่แบง่ เป็นปล้อง เชน่ พยาธปิ ากขอ 5. Phylum Annelida หนอนตวั กลม เป็นปลอ้ งเรยี งตอ่ กนั เช่น ไสเ้ ดือน ปลิง 6. Phylum Arthropoda มเี ปลอื กหมุ้ ทั้งตวั ขาเป็นปล้อง หรอื ข้อ เช่น กงุ้ ปู แมลง ความรเู้ บือ้ งต้น “มีนวิทยาของปลา” By ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษานครพนม

3 ความรู้เบ้อื งต้น “มีนวิทยาของปลา” (Ichthyology) 7. Phylum Mollusca มีเปลอื กหรอื ฝา เชน่ หอย ปลาหมกึ 8. Phylum Echinodermata ปลาดาว ปลิงทะเล เมน่ ทะเล จาพวกมีกระดกู สนั หลัง มี Phylum เดียว คอื Phylum Chordata พวกนอี้ าจมีทอ่ นสันหลัง (notochord) ใส ๆ คลา้ ยวนุ้ อันเป็นตน้ กาเนดิ ของกระดูกสันหลังหรือเปน็ กระดกู สันหลงั (vertebral column) เลยก็ได้ Phylum น้แี บ่งออกเป็น 4 พวกยอ่ ย คอื 1. Entero newsta หรือ Hemichorda เปน็ พวกตวั เลก็ ๆ คลา้ ยหนอน หรอื ไสเ้ ดือน เชน่ ตัว Balanoglossus มที อ่ นสนั หลังอยู่แคท่ ่อนหวั ขุดรอู ยูต่ ามชายทะเลยังไมพ่ บในเมอื งไทย 2. Tunicata ลักษณะคลา้ ยหัวหอม เช่น เพรียงหวั หอม หรอื Tunicates มที อ่ นสนั หลงั อย่แู คท่ ่อนหาง มีประมาณ 1,000 ชนดิ ขณะเปน็ ตัวออ่ นจะว่ายนา้ ไปมา เมื่อโตขึ้นจะ เกาะกับหลกั หรอื วัสดุ ความรเู้ บ้อื งตน้ “มีนวิทยาของปลา” By ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม

4 ความรู้เบื้องตน้ “มีนวิทยาของปลา” (Ichthyology) 3. Cephalochordata หรอื Acraniata รูปรา่ งคล้ายปลา ตวั ยาวหัวท้ายแหลม ตวั ใสไม่มีกะโหลกศีรษะ เช่น Amphioxus มที ่อนสันหลงั ยาวตัง้ แต่หวั ไปตลอดลาตัว ตวั ยาวบระมาณ 2 นิ้ว ชอบหมกตวั อยูต่ าม พื้นทรายชายฝง่ั ทะเล 4. Vertebrata หรือ Craniata เปน็ พวกมีกระโหลกศีรษะ มีมันสมองมสี นั หลงั สตั วพ์ วกนีป้ ระกอบดว้ ย ปลาตา่ ง ๆ กบ คางคก เตา่ งู นก และสตั วท์ ีเ่ ลย้ี งลูกด้วยนม สตั วม์ กี ระดูกสันหลงั เรยี ก Vertebrates แบ่งออกได้ 6 หมู่ หรือ 6 Class คอื 1. Class Cyclostomata ไดแ้ กพ่ วกปลาปากกลม ( Lamprey ) มเี ลอื ดเยน็ ไม่มีกระดกู ขากรรไกร ไม่มคี รบี หู 2. Class Pisces ได้แก่ ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลาโบราณและ ปลาธรรมดาทั่วไป เป็นสตั วเ์ ลอื ดเย็น มีครีบ หายใจทางเหงอื ก ปลาฉลามและปลาโบราณ มีรปู รา่ งเปน็ ปลายิ่งขนึ้ เร่มิ มีขากรรไกรแต่ยังมีโครง กระดูกเปน็ กระดูกออ่ น ส่วนปลาทวั่ ไปน้นั มขี ากรร ไกรครบและมกี ระดกู แข็ง ความรู้เบื้องตน้ “มีนวทิ ยาของปลา” By ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษานครพนม

5 ความร้เู บื้องตน้ “มีนวทิ ยาของปลา” (Ichthyology) 3. Class Amphibia ได้แกส่ ตั ว์ทม่ี ชี ีวติ อยู่แบบคร่งึ บกครึ่งน้า เช่น กบ เขียดคางคก พวกนี้ยังเป็นสัตว์ เลือดเย็น ไม่มเี กล็ด ในวัยอ่อนมกั อยู่ในน้าและหายใจทางเหงอื กพอโตข้ึนเ หงอื กเสือ่ มไปมปี อดแทน 4. Class Reptilia ได้แกส่ ัตว์เส้ือยคลาน เช่น จิ้งจก ตุ๊กแก งู จระเข้ และ เต่า ส่วนมากอยู่ในน้าแต่ไข่ บนบก เปน็ สัตวเ์ ลอื ดเย็น มักมีกระคอง หรือ เกล็ดปกคลมุ ผิวหนัง หายใจดว้ ยปอด 5. Class Aves ได้แก่นกต่าง ๆ เป็นสัตว์เลือดอุ่น กระดูกบางและเป็นโพรง ขาคู่หน้ามีวิวัฒนาการ เปน็ ปกี ใช้ปีก ร่างกายมีขนปกคลุม 6. Class Mammalia ได้แก่ ปลาวาฬ แมวน้า นก หนู ค้างคาว ลิง คน สัตว์เหล่าน้ีมีสมองดีขึ้น มีฟัน สองชุด เลอื ดอุน่ เล้ียงลูกอ่อนโดยดดู นมจากแม่ ความรู้เบ้อื งต้น “มีนวิทยาของปลา” By ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษานครพนม

ประวัติการศกึ ษามีนวิทยา 6 อรสิ โตเติล (Aristotle) ชาวกรีกมีชีวิตอยู่ระหว่างปี 384-322 ก่อนคริสตกาลเป็นคนแรกที่ได้ศึกษา และบันทกึ เร่ืองราวและข้อเท็จจริงทางชีวประวตั ิของสัตวน์ า้ โดย เฉพาะปลาของกรีกไว้เป็นอันมาก บันทึก ของอริสโตเตลิ ได้กล่าวถึงโครงสรา้ งนิสัย การอพยพย้ายถ่ิน ฤดกู าลสบื พนั ธุ์ และความรู้อนื่ ๆ เก่ยี วกบั ปลาโดยละเอียดถี่ถว้ นและถูกต้องยกเวน้ ช่ือชนดิ ของปลาซึง่ คลาคเคลอื่ นบา้ ง หลักวิชามีนวิทยามีการรวบรวมจัดพิมพ์และปรับปรุงอีก ประมาณกลางศตวรรษที่ 16 มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้รวบรวมปรับปรุงเพ่ิมเติมให้สมบูรณ์ดีข้ึน จนยึดเป็นตาราศึกษากันมา จนทุกวันน้ีหลายท่าน เช่น ลินเนียส(Linnaeus) บล็อช(Bloch) ลาเซเปเค(Lacepede) และคูเวียร์ (Cuvier) สาหรับในประเทศไทย ผู้ท่ีเขียนตาราและสอนวิชามีนวิทยาท่านแรก ๆ คือ อาจารย์โชติ สุวัตถิ อดีตคณะบดีคณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (ปี พ.ศ . 2497) และศาสตราจารย์จนิ ดา เทียมเมธ อดตี คณะบดคี ณะประมง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ทา่ นไดแ้ ตง่ ตารามีนวิทยาไว้ตัง้ แต่ พ.ศ.2506 ความรู้เบือ้ งต้น “มนี วิทยาของปลา” By ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษานครพนม

ความหมายของคาวา่ ปลา (ตอ่ ) 7 ในพจนานุกรมใหค้ วามหมายของปลา หมายถึง สัตว์น้าที่หายใจด้วยเหงือก บางชนดิ มีเกลด็ บางชนดิ ไม่มีเกลด็ ส่วนในทางมีนวทิ ยา ได้กาหนดลกั ษณะสาคญั ของปลา ไว้ดงั นค้ี อื 1. เป็นสัตว์เลือคเย็น (cold blooded) คาว่าเลือดเย็น หมายถึง คุณสมบัติของน้าเลือดในร่างกายของ สัตว์ ท่ีมีอุณหภูมิเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิของส่ิงแวดล้อมภายนอกร่างกาย ตรงกันข้ามกับคุณสมบัติของ เลือดอุ่น (warm blooded) ที่อุณหภูมิของน้าเลือดคงท่ีไม่เปลี่ยนไปตามสภาวะภายนอก ไม่ว่าอุณหภูมิ ภายนอกรา่ งกายจะสงู หรอื ต่า อุณหภมู ใิ นรา่ งกายกค็ งที่อยู่ประมาณ 37- 44 องศาเซลเชียส สัตว์ประเภท เลือดเย็นได้แก่ กบ เขียด คางคก พวกเล้ือยคลาน ส่วนสัตว์เลือดอนุ่ ได้แก่ นก เป็ด ไก่ กับสัตว์ท่ีเล้ียงลูก ดว้ ยนม เชน่ ปลาวาฬ ปลาโลมา แมวน้า วัว ควาย สนุ ัข แมว ลงิ มนษุ ย์ เปน็ ต้น ความร้เู บอื้ งต้น “มนี วิทยาของปลา” By ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม

ความหมายของคาวา่ ปลา (ต่อ) 8 2. หายใจดว้ ยเหงือก (gills ) โดยปกตปิ ลาโดยทัว่ ไปใชเ้ หงือกเป็นท่ีแลกเปลี่ยนแก๊สในน้าเลือดเหงือก จะทาหน้าท่ีคล้ายปอดในสัตว์ที่อยู่บนบก ยกเว้นปลาปอด ( Lung fish ) ปลาพวกน้ีจะมีถุงลมทา หน้าที่คล้ายปอด แต่มิใช่หมายความว่าปลาชนิดน้ีมีปอดจริง นอกจากนี้มีปลาบางชนิด เช่น ปลาโลมา และแมวนา้ สัตวพ์ วกน้ไี มถ่ อื เป็นปลาเนอ่ื งจากเป็นสัตว์เล้ียงลูกดว้ ยนมและใชป้ อดหายใจ 3. หากินและมีชีวิตอยู่ในน้าเท่านั้น กล่าวคือในตลอดชีพ หรืออายุขัยของมันจะต้องอยู่ในน้าตลอด ไมว่ า่ จะเป็นแหลง่ หากินหรอื ทอ่ี ย่อู าศัย ไมส่ ามารถขน้ึ มาอยบู่ นบกไดน้ าน ๆ 4 . มกี ระดูกสันหลัง (back bone) ซึ่งเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งที่มีอยู่ในสัตว์ชั้นสูงเท่านั้น การมี กระดูกสันหลังแสดงว่าปลามีโครงสร้างที่พัฒนาการดีมาก สัตว์ช้ันสูงที่มีกระดูกสันหลังได้แก่ ปลา กบ คางคก จระเข้ เตา่ นก มนุษย์ สว่ นสัตว์ชน้ั ตา่ ท่ีไม่มีกระดกู สันหลงั ไดแ้ ก่ ฟองนา้ แมงกะพรนุ ปลาดาว หนอน กงุ้ หอย และปู เป็นตน้ ความร้เู บ้อื งต้น “มีนวทิ ยาของปลา” By ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษานครพนม

ความหมายของคาวา่ ปลา (ตอ่ ) 9 5. มีขากรรไกร (jaws) ครบ หมายถึงโครงสร้างของปาก ซ่ึงประกอบด้วยกระดูกขากรรไกรบนและ ล่างม่ันคงแข็งแรง และเป็นรูปทรงในบรรดาสัตว์มีสันหลังด้วยกัน ปลาเป็นสัตว์ท่ีเริ่มมีกระดูกส่วนนี้ สัตว์ท่ีอยู่ในน้าขั้นต่ากว่าไม่มี จึงทาาให้ปากเป็นถุงไม่มีรูปทรงอย่างปากของปลา และสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ ยกเว้นสัตว์ที่จัดว่าเป็นปลาแต่ยังไม่มีขากรรไกร คือพวก Agnatha หรือพวก Cyclostome ซ่ึงได้แก่ ปลาปากกลม (Lamprey และ hagfish) 6. ลาตัวปกคลุมด้วย เกล็ด (scale) เม่ือก หรือแผ่นกระดูปลาหลายชนิดมีเครื่องปกป้องผิวกายข้ัน นอกเป็นเกล็ดเรียงซ้อนกัน บางชนิดอาจมีแผ่นกระดูกเรียงต่อกันไปบางชนิดมีปุ่มแข็ง หรือมีหนาม แหลมบนเกล็ดและเครื่องป้องกันร่างกายเหล่านี้จะมีเมือกเคล่ือบมันอีกชั้นหน่ึง นอกจากนี้ปลาบาง ชนดิ ไม่มเี กล็ด แต่มเี มอื กปกคลุมแทนเลย เช่นปลาคกุ ปลาสวาย เปน็ ตน้ 7. เคลื่อนไหวไปมาโดยอาศัยครีบ (tins) และกล้ามเนื้อลาตัว ทาปลาว่ายน้าได้ดีกว่าสัตว์น้าอื่น ๆ สามารถเอาตัวรอด หรือหากนิ ไดด้ กี วา่ สัตวน์ ้าอน่ื ๆ ความรู้เบ้อื งตน้ “มีนวทิ ยาของปลา” By ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษานครพนม

ความหมายของคาว่าปลา (ตอ่ ) 10 8. มหี วั ใจ 2 หอ้ ง จานวนห้องของหัวใจเป็นคณุ สมบัติท่ีแสดงอันดับชั้น ของปลาอกี ประการหนึ่ง ตาม ธรรมดาของสัตว์ชั้นต่า เช่น กุ้ง ปู แมลง ถ้ามีอวัยวะท่ีเรียกว่าหวั ใจ ก็เป็นเพยี งส่วนหนึ่งของเส้นเลือด ท่ีมีพัฒนาการพองโตข้ึนกว่าส่วนอ่ืน หัวใจแบบนี้ยังไม่แบ่งเป็นห้อง ส่วนสัตว์ช้ันสูงข้ึนมาหัวใจเจริญดี ข้ึน เช่น ปลา หัวใจแบ่งเป็น 2 ห้อง กบ เขียดและจระเข้ มี 3 ห้อง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ลิง และ มนษุ ย์ มี 4 หอ้ ง 9. ส่วนมากมีการผสมพนั ธ์ุภายนอกร่างกาย (External fertili zation ) โดยตัวเมียปล่อยไข่ ออกมาก่อนแล้วตัวผู้จึงปล่อยน้าเช้ือออกไปผสม ไข่ท่ีได้รับการผสมจะพักออกเป็นตัวภายหลัง แต่มี ปลาบางชนิดท่ีมีการผสมภายในร่างกายของเพศเมีย (Internal fertilization) ลูกท่ีได้อาจออกมาใน รูปของไข่อยู่ภายในกล่องไข่ (egg case) แล้วพักเป็นตัวภายหลัง เช่น ฉลามกบหรือบางชนิดออกเป็น ตัว เลย เชน่ ปลาเขม็ ปลากนิ ยงุ และปลาหางดาบเป็นต้น ความรเู้ บอื้ งตน้ “มนี วทิ ยาของปลา” By ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษานครพนม

ความหมายของคาวา่ ปลา (ตอ่ ) 11 10. ลาตัวซีกซ้ายและชักขวาเท่ากัน (Bilateral Symmetry) โดยท่ัวไปตลอดทั้งลาตัวของปลาจะ มีซีกด้านซ้ายและขวา เหมือนกัน ยกเว้นปลาล้ินหมาซ่ึงเมื่อยังเล็กจะมีรูปร่างแบบ bilateral symmetry เหมือนปลาทั่วไป แต่เมื่อโตขึ้นและเปลี่ยนวิธีการหาอาหารมาเป็นพวกท่ีพากินตามพื้น ทอ้ งน้า ( bottom living ) ตาข้างหนง่ึ จะเคล่ือนย้ายมารวมกับตาอกี ข้างหน่ึง เพอื่ การหากิน จะได้สะดวก มากข้ึน ภาพที่ ลกั ษณะของกระดกู ออ่ น ก. ท่มี า : http://iam.hunsa.com/booky66/article/11900 ความรเู้ บอ้ื งต้น “มนี วทิ ยาของปลา” By ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษานครพนม

ความหมายของคาวา่ ปลา (ต่อ) 12 ภาพที่ 1.1 ลกั ษณะของกระดกู แขง็ ข. ทม่ี า : http://iam.hunsa.com/booky66/article/11900 ความรเู้ บอื้ งตน้ “มนี วทิ ยาของปลา” By ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษานครพนม

สว่ นตา่ ง ๆ ของปลา 13 ลาตัวของปลาประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ 3 ส่วน คอื ส่วนหวั สว่ นลาตวั สว่ นหาง ภาพท่ี สว่ นต่างๆของปลา ที่มา : https://www.fisheries.go.th ความรู้เบ้ืองต้น “มนี วทิ ยาของปลา” By ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษานครพนม

ส่วนตา่ ง ๆ ของปลา (ตอ่ ) 14 ลาตัวของปลาประกอบดว้ ยส่วนตา่ งๆ 3 ส่วน คือ ส่วนหัว สว่ นลาตัว ส่วนหาง ส่วนหวั (Head) เปน็ ส่วนท่นี ับจากปลายสุดของจะงอยปากไปจนถึงขอบดา้ นท้ายของกระดกู ปดิ เหงอื ก (Opercle หรือ Opercular bone) สวนลาตัว (Trunk หรือ Body) เปนสวนที่ถดั จากกระดูกปดเหงือกไปจนถึงบริเวณทเ่ี ส้นที่ต้งั ฉาก จากรกู น (anus) ตดั ผานลาตัวขน้ึ ไป สวนหาง (Tail) เปนสวนที่นับจากเสนตั้งฉากทีต่ ัดผานสวนทายของลาตัวไปยังรูกน (anus) ไปจนสุด ปลายครีบหาง ความร้เู บ้อื งต้น “มีนวิทยาของปลา” By ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษานครพนม

การวดั ขนาด 15 การวัดความยาวท้ังส้ิน Toal length (TL) โดยวัดจากปลายสุดทางด้านหัวไปจนถึงเส้นดิ่ง ที่ลากลงมาตัดกบั ปลายสุดของครีบทางส่วนที่ยาวทสี่ ุด การวัดความยาวตรงรอยเว้าของครีบหาง Forked length (FL) โดยวัดจากปลายสุดทางด้าน หัวไปจนถึงส่วนที่เวา้ ลึกท่ีสุดของรอยหยักเวา้ ของครบี หาง ความร้เู บอ้ื งต้น “มีนวทิ ยาของปลา” By ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษานครพนม

การวัดขนาด (ตอ่ ) 16 การวดั ความยาวมาตรฐาน Standard length (SL) โดยวัดจากปลายสุดทางดา้ นหวั ไปจนถึงเส้น ดง่ิ ทลี่ ากลงมาตัดกบั ฐานครีบหางหรือปลายสดุ ของกระดกู hypural plate การวดั ความยาวของจะงอยปาก Snout length (Sn1) โดยเร่มิ วดั จากปลายสุดของจะงอยปาก มาถึงเส้นตงั้ ฉากทต่ี ัดผา่ นขอบหน้าของตา การวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของตา Eye diameter (ED) โดยวัดจากเส้นต้งั ฉากทตี่ ดั กบั ขอบ ทางดา้ นหนา้ สุดของตาไปจนจรดเส้นตัง้ ฉากทต่ี ดั กับขอบหลังสดุ ของตา การวัดขนาดความยาวของหวั Head length (HL) โดยเรม่ิ วดั จากปลายสดุ ของจะงอยปากไป จนถงึ เสน้ ตั้งฉากทลี่ ากลงมาตัดกับดา้ นทา้ ยสุดของแผ่นเย่ือปดิ กระพุ่งแก้ม (opercular (lap) การวัดความลึกของลาตัว Body height (BH) เป็นการวัดช่วงท่ีลึกหรือสูงท่ีสุดของตัวปลา โดยทว่ั ไปแล้วมักจะเปน็ บริเวณหนา้ ครีบหลังเป็นแนวดง่ิ ลงไปทีบ่ รเิ วณส่วนทอ้ งของปลา ความร้เู บอ้ื งต้น “มนี วทิ ยาของปลา” By ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม

ส่วนหวั ของปลา 17 ปาก (mouth) จะประกอบดว้ ยขากรรไกรบน(upper jaw) และขากรรไกรลา่ ง (lower jaw) ขากรรไกรบนจะประกอบด้วยกระดกู ชนิ้ เล็กๆ 3 ช้ิน คอื - ชนิ้ หน้าสุดหรือชิน้ แรก (Premaxillary bone) - ชิน้ กลางหรอื ช้นิ ทสี่ อง (Maxillary bone) - ชิน้ สดุ ทา้ ยหรือชิ้นทส่ี าม (Supplementary maxillary bone) ความรู้เบอื้ งต้น “มนี วทิ ยาของปลา” By ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษานครพนม

ส่วนหัวของปลา (ต่อ) 18 กระดกู ท้งั สามช้นิ นจี้ ะมีขนาดใหญ่เล็กไม่เทา่ กันแลว้ แต่ชนิดและในปลาบางชนิดกระดูกชิน้ ใดชนิ้ หนึ่ง อาจลดขนาดลงหรือหายไปก็ได้ จะงอยปาก (Snout หรือ Rostrum) คือส่วนหวั บริเวณเหนือส่วนของขากรรไกรบนซ่ึงกินอาณาเขต ต้งั แตป่ ลายสุดดา้ นหนา้ ของปากไปจนจรดบรเิ วณส่วนหน้าของตา จมูก (Nostril) จมกู ของปลาจะมีลกั ษณะเปน็ ถงุ ตัน ภายในมีเชือ่ บุและเซลล์ประสาทหล่อเลี้ยงทาให้ไว ต่อกถ่ิน ดงั นัน้ จมูกของปลาจึงมีหน้าท่ีในการดมกลน่ิ เทา่ นั้น ตา (Eye) ตาปลาสว่ นมากจะไม่มีเปลอื กตา (eyelid) มีรูปรา่ งแตกต่างกนั ไปตามชนิด กระดูกปดเปิดเหงือก (Opercle) ทาหนาทีใ่ นการปดเปิดเหงือกเพ่อื แลกเปลี่ยนออกซิเจนจากน้าเขาสู กระแสเลือดแลวถายเทกาซคารบอนไดออกไซด์ออกมา ความรเู้ บื้องต้น “มนี วิทยาของปลา” By ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษานครพนม

ตาแหนง่ ทีต่ ั้งของปาก (Position) 19 1. ปากท่ีอยู่ทางปลายสุดด้านหน้าของหัว (Terminal position) ปากแบบน้ีจะพบในปลาทั่วๆไป มกั จะหากนิ อยู่ในระดบั กลางน้า เชน่ ปลากระบอก ปลาหมอ 2. ปากทอ่ี ยู่ในระดับสงู ทางด้านหนา้ ตอนบนของสว่ นหัว (Superior position) เป็นปลาทห่ี ากนิ อยตู่ ามผิวน้า เชน่ ปลาเขม็ ปลาคางเบอื น ความรู้เบอ้ื งตน้ “มีนวทิ ยาของปลา” By ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครพนม

ตาแหน่งทีต่ ั้งของปาก (Position)(ต่อ) 20 3. ปากทีอ่ ยู่ในระกับต่าทางด้านหน้าตอนลา่ งของส่วนหวั (Infcrior position) เป็นปลาท่หี ากิน ตามพื้นทอ้ งน้า เชน่ ปลาฉลาม ปลากระเบน ความรูเ้ บือ้ งตน้ “มนี วิทยาของปลา” By ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษานครพนม

ประโยชน์ของปลา 21 ปลาเปน็ สัตว์ทม่ี ีคณุ ระโยชน์ตอ่ มนษุ ย์และสตั ว์อ่ืน ๆ มากเรียงตามลาดบั ความสาคัญได้ ดังน้ี 1. เป็นอาหารเน้ือของปลาเป็นอาหารท่ีมนุษย์นิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลาย เป็นอาหารที่มีจานวน โปรตีนสูงกว่าหรือพอๆกับ เนื้อสัตว์อ่ืนๆ แต่ท่ีดีกว่าเนื้อสัตว์อื่นคือย่อยได้ง่ายกว่าและมีราคาท่ีถูกกว่า เน่ืองจากเป็นโปรตีนท่ีหาได้ง่ายและมีปริมาณที่มากกว่า เน้ือสัตว์อน่ื ๆ นอกจากเป็นอาหารของมนุษย์ แล้วยงั ใชเ้ ป็นอาหารของสตั ว์ชนิดอื่น 2. เป็นต้นกาเนิดของอุตสาหกรรมประมงเม่ือมีผู้นิยมบริโภคปลากันมากทาให้เกิดการจับและการ เพาะเลี้ยงมากเป็นเงาตามตัว เมื่อมีมากทาให้เกิดการรวมตัว เป็นอุตสาหกรรม จากอุตสาหกรรมใน ครัวเรือนกลายเป็นอุตสาหกรรมใหญ่ขึ้น เช่น การทาบลา เต็ม น้าปลา ปลารมควัน อุตสาหกรรมห้อง เยน็ กเ็ จริญตามขึน้ เป็นการรักษาคุณภาพของปลาและสัตว์น้าอืน่ ๆให้สดอยู่เสมอ การจับปลาหรือสัตว์ นา้ เมือ่ มีมากขึ้นเข้าก็รวมกันเป็นสหกรณ์ประมงหรือการเพาะเล้ียงสัตว์น้าเมื่อแพร่หลายข้ึนก็จัดเป็นรูป บริษัทเพื่อสามารถผลิตได้ในปริมาณมากๆให้ทันกับความต้องการ การจัดจาหน่ายเร่ิมแรกก็เป็นไป ในวงแคบ ต่อมาก็เจริญข้ึนกลายเปน็ อตุ สาหกรรมส่งออกสัตว์นา้ เพ่อื ส่งจาหน่ายตา่ งประเทศทัว่ โลก ความรู้เบ้อื งตน้ “มนี วทิ ยาของปลา” By ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษานครพนม

ประโยชน์ของปลา (ตอ่ ) 22 3 . เป็นบระโยชน์ทางด้านการศึกษา เนื่องจากบลามีความสัมพนั ธ์กับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังชนิดอืน่ ๆ ที่ต่ากว่า และท่ีสูงกว่าทางด้านวิวัฒนาการ จงึ มีการนาข้อดีมาใช้เป็นเคร่ืองอ้างอิง หรือเปรียบเทียบกับ สตั วท์ ีม่ กี ระดูกสนั หลังอืน่ ๆ 4. เปน็ ธรรมชาติบระดับโลก เน่ืองจากปลามีรูปร่างและสีสรรสวยงามบางชนิดมีรูปร่างแปลกประหลาด จงึ มีผู้นามาเพ่อื เล้ียงไว้ดูเล่นในตู้กระจกถือเป็นเคร่ืองประดับบ้านหรอื สานักงานท่ีสวยงามทาให้ผู้ที่พบ เหน็ เกิดความเพลิคเพลินและ เกดิ ความสขุ ใจมีแมลงหลายชนิดที่เป็นอนั ตรายแกม่ นุษยแ์ ละสัตว์ 5. ช่วยกาๆจัดมีแมลงหลากหลายชนิดท่ีเป็นอันตราย แก่มนุษย์และสัตว์เล้ียง แต่เนื่องจากตัวอ่อนของ แมลงเหล่านอ้ี าศัยอยู่ในน้าเป็นส่วนมาก จึงยากแก่การกาจัด ปลาก็ได้ช่วยเหลือมนุษย์ในการกินไข่หรือ ตวั ออ่ นของแมลง เชน่ ลูกน้ายุง เปน็ การช่วยเหลอื มนุษย์และเป็นการรกั ษาสมดลุ ยท์ างธรรมชาติ ความร้เู บื้องตน้ “มีนวิทยาของปลา” By ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษานครพนม

รูปแบบ(Form)ของปลา 23 ลาตัวยาว (Elongate) มคี วามยาวมาตรฐานทีย่ าวมากกวา่ ความลกึ ของลาตวั ประมาณ 4.1 - 8.0 เท่า หรอื อาจยาวกว่านกี้ ็ได้ เชน่ ปลานา้ ดอกไม้ ลาตวั ส้นั (Oblong) มคี วามยาวมาตรฐานยาวกวา่ ความลกึ ของลาตวั ประมาณ 2.1 - 4.0 เท่า เชน่ ปลาใบขนุน ปลาโอ ความร้เู บอื้ งตน้ “มีนวทิ ยาของปลา” By ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษานครพนม

รปู แบบ(Form)ของปลา (ต่อ) 24 ลาตัวรปู ไข่ (Ovate) มคี วามยาวมาตรฐานยาวกว่าความลึกของลาตัวประมาณ 1 - 2 เทา่ เช่น ปลาพระจนั ทร์ ปลาล้นิ หมา ความรู้เบอ้ื งต้น “มนี วทิ ยาของปลา” By ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษานครพนม

25 ลกั ษณะรปู ทรงของปลาเมือ่ มองดดู า้ นข้าง Eusiform รูปทรงคล้ายกระสวยหรือตอร์ปีโด (torpedo shape) ปลาพวกนีจ้ ะว่ายน้าเร็วมคี วาม วอ่ งไวมาก เช่น ปลาโอ ปลาทูน่า Globiform รปู ทรงมลี ักษณะต่อนขา้ งกลมคล้ายลูกโลก มกั จะเป็นปลาท่ีว่ายนา้ ไปอย่างช้าๆ เชน่ ปลาปกั เป้า ความรูเ้ บ้ืองต้น “มีนวิทยาของปลา” By ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม

26 ลักษณะรปู ทรงของปลาเม่ือมองดูดา้ นข้าง (ต่อ) Anguilliform รปู ทรงมีลักษณะเรยี วยาวคล้ายงู (serpentine shape) การเคลือ่ นไหวจะอาศยั กล้ามเนอื้ ท่ลี าตวั เปน็ ส่วนใหญ่ เช่น ปลาไหล Filiform รปู ทรงมลี ักษณะเรยี วขาวและเล็กคลา้ ยกับเส้นเชือก (thread-like shape) เคล่อื นไหวไปมา โดยอาศยั กล้ามเนือ้ ลาตัวและครีบ เชน่ snipe eel ซง่ึ เปน็ ปลาไหลนา้ ลกึ ชนดิ หนงึ่ Trachipteriform รูปทรงมลี ักษณะขาวและแบนขา้ งมาก (ribbon-shape) เคล่ือนไหวไปมา โดยอาศัยกลา้ มเนื้อลาตวั และครีบทีเ่ จริญดี เช่น ปลาดาบเงนิ ความรู้เบือ้ งต้น “มีนวทิ ยาของปลา” By ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษานครพนม

ประโยชน์ของปลา 27 ปลา เป็นสัตว์ทม่ี ีคุณประโยชน์ต่อมนษุ ยแ์ ละสัตวอ์ ่ืน ๆมาก เรียงตามลาดับความสาคญั ได้ดงั นี้ 1. เปน็ อาหาร เน้ือของปลา เป็นอาหารที่มนุษย์นิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลายเป็นอาหารท่ีมีจานวน โปรตนี สูงกว่าหรอื พอๆกบั เน้ือสตั ว์อืน่ ๆ แต่ที่ดีกว่าเน้ือสัตว์อื่นคือย่อยได้ง่ายกว่า และมีราคาท่ีถูกกว่า เน่ืองจากเป็นโปรตีนที่หาได้ง่ายและปริมาณท่ีมากกว่า เนื้อสัตว์อ่ืน ๆ นอกจากเป็นอาหารของมนุษย์ แล้วยงั ใช้เป็นอาหารของสตั วช์ นิดอน่ื 2. เป็นต้นกาเนิดของอุตสาหกรรมประมง เมื่อมีผู้นิยมบริโภคปลากันมาก ทาให้เกิดการจบั และการ เพาะเล้ียงมากเป็นเงาตามตัว เมื่อมีมากทาให้เกิดการรวมตัว เป็นอุตสาหกรรม จากอุตสาหกรรมใน ครัวเรือนกลายเป็นอุสาหกรรมใหญ่ข้ึน เช่น การทาปลาเค็ม น้าปลา ปลารมควัน อุตสาหกรรมห้อง เย็นก็เจริญตามข้ึน เป็นการรักษาคุณภาพของปลาและสัตว์น้าอ่ืน ๆ ให้สดอยู่เสมอ การจับปลาหรือ สัตว์น้าเม่ือมีมากข้ึนเข้าก็รวมกันเป็นสหกรณ์ประมงหรือการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เมื่อแพร่หลายข้ึนก็ จดั เป็นรปู บริษทั เพ่ือสามารถผลิตได้ในปริมาณมากๆให้ทันกับความต้องการ การจัดจาหน่ายเร่ิมแรก ก็เป็นไปในวงแคบ ต่อมาก็เจริญข้ึนกลาย เป็นอุตสาหกรรมส่งออกสัตว์น้า เพื่อส่งจาหน่าย ต่างประเทศท่ัวโลก ความร้เู บือ้ งต้น “มีนวทิ ยาของปลา” By ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษานครพนม

ประโยชน์ของปลา (ต่อ) 28 3. เป็นบระโยชน์ทางด้านการศึกษาเนื่องจากปลามีความสัมพนั ธ์กับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังชนิดอน่ื ๆ ทตี่ ากว่า และทสี่ ูงกว่าทางด้านวิวัฒนาการ จึงมีการนาข้อดีมาใช้ เป็นเครื่องอ้างอิง หรือ เปรียบเทียบ กับสตั ว์ทม่ี ีกระดกู สนั หลังอ่นื ๆ 4. เป็นธรรมชาติประดับโลก เนื่องจากปลามีรูปร่างลีสรรสวยงามบางชนิดมีรูปร่างแปลกประหลาด จงึ มผี นู้ ามาเพือ่ เลยี้ งไวด้ ูเลน่ ในตู้กระจกถือเป็นเคร่อื งประดบั บ้านหรือสานักงานที่สวยงามทาให้ผู้ท่ีพบ เหน็ เกิดความเพลดิ เพลนิ และเกดิ ความสขุ ใจ 5. ช่วยกาๆจัดแมลงเล้ียง แต่เน่ืองจากตัวอ่อนของแมลงเหล่านี้อาศัยอยู่ในน้าเป็นส่วนมาก จึงยาก แก่มีแมลงหลายชนิดที่ เป็นอันตรายแก่มนุษย์และสัตว์เลี้ยง การกาจัด ปลาก็ได้ช่วยเหลือมนุษย์ใน การกินไข่หรือตัวอ่อนของแมลง เช่น ลูกน้ายุง เป็นการช่วยเหลือมนุษย์และ เป็นการรักษาสมดุลย์ ทางธรรมชาติ ความรเู้ บือ้ งต้น “มีนวิทยาของปลา” By ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษานครพนม

แหลง่ ข้อมูลอ้างองิ มีนวิทยา;ชีววิทยาประมง;ปลา;อวยั วะ;รปู ร่าง สืบค้นเมอ่ื 16 มถิ ุนายน 2564 จาก https://th.wikipedia.org › wiki วรี ยทุ ธ์ เลาหะจินดา.มนี วทิ ยาของปลา.กรุงเทพฯ: สานักพิมพม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2552. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) สืบค้นเมื่อ 15 มถิ ุนายน 2564 จาก https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7035-animal-kingdom-invertebrate สภุ าพ มงคลประสทิ ธิ์. (2535). มีนวิทยา (ปฏบิ ัตกิ าร). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะ ประมง ภาควชิ าชีววทิ ยาประมง.

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 355 หมู่ 6 ตาบลหนองญาติ อาเภอเมือง จงั หวัดนครพนม 48000 โทรศพั ควทา์ม0ร้เู4บ2้อื -ง5ต้น30“ม7นี 8ว0ทิ ยโาทขรองสปาลรา”0B4y2ศ-นู5ย3ว์ 0ทิ 7ยา8ศ1าสhตรtเ์tพpื่อsก:า/รwศึกwษwาน.คnรkพpนsมci.ac.th/