ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ แ ล ะ ใ ช้ ป ลั๊ ก พ่ ว ง ใ ช้ ถู ก ต้ อ ง ถู ก วิ ธี ป้ อ ง กั น ก า ร เ กิ ด อั น ต ร า ย จั ด ทำ โ ด ย ฝ่ า ย ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
การเลือกใ้ช้ปลั๊กพ่วง 1. มองหาสัญลักษณ์ มอก.2432-2555 บนตัวปลั๊กพ่วงรวมถึงบรรจุภัณฑ์จะต้องมีสัญลักษณ์ มอก.2432-2555 ติดเอาไว้อย่างชัดเจน 2. ต้องผลิตจากวัสดุที่ไม่ลามไฟ ปลั๊กพ่วงหรือรางปลั๊ก ตามมาตรฐาน มอก.2432-2555 นั้น ต้องทำจากวัสดุที่ไม่ติดไฟหรือลามไฟ ไม่ว่าจะเป็นฝาครอบหรือ กล่องปลั๊ก โดยต้องเป็นวัสดุ พลาสติกเอวีซี, พลาสติก ABS หรือโพลีคาร์บอเนตที่ผ่านมาตรฐาน UL94 ซึ่งในการเลือกเรา สามารถอ่านได้จากฉลากสินค้าว่าใช้วัสดุในการผลิตเป็นอะไร
3. เต้าเสียบต้องเป็นขากลม 3 ขาเท่านั้น หัวปลั๊กหรือเต้าเสียบตามมาตรฐาน มอก.2432-2555 นั้น ต้องเป็นแบบขากลม 3 ขา นอกจากนี้ยังต้องติดตั้งฉนวน กันไฟที่โคนขา 4. เต้ารับต้องมีช่อง L N G และม่านนิรภัย พร้อม สายดินจริง เต้ารับของปลั๊กพ่วงตาม มอก.2432-2555 ต้องต่อช่อง L N G (Line Neutral Ground) ให้ถูกต้องตาม มาตรฐาน และต้องมีม่านนิรภัยปิดเต้ารับเอาไว้สายดิน ต้องเป็นสายจริงห้ามทำสายดินหลอก
5. สวิตช์ต้องได้มาตรฐาน สำหรับปลั๊กพ่วงในรุ่นที่มีสวิตช์นั้น เราควรต้องดูรายละเอียด ของตัวสวิตช์ด้วยว่าผ่านมาตรฐาน มอก.824-2551 หรือไม่ โดยสามารถอ่านได้จากข้อมูลของผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ตาม มาตรฐาน มอก.2432-2555 ไม่ได้บังคับว่าปลั๊กพ่วงทุกตัว ต้องใส่สวิตช์ 6. สายไฟต้องเป็นสายกลม ในส่วนของสายไฟของปลั๊กพ่วงตามมาตรฐาน มอก.2432- 2555 นั้น สังเกตง่ายๆ ว่าจะต้องเป็นสายกลมเท่านั้น นอกจากนี้เรายังสามารถดูในเรื่องของมาตรฐานของสายไฟ ว่าต้องผ่าน มอก.11-2553 หรือ มอก.955 รวมถึงต้องใช้ สายกลมที่แรงดันไฟฟ้าไม่ต่ำกว่าเต้าเสียบและเต้ารับด้วย
7. ปลั๊กพ่วงที่มีเต้ารับตั้งแต่ 3 เต้าขึ้นไป จะต้องมี ตัวตัดไฟ ปลั๊กพ่วงที่มีเต้ารับตั้งแต่ 3 เต้าขึ้นไป จะต้องมีตัวตัดไฟ หรือ เบรกเกอร์ ตัวตัดไฟที่อนุญาตคือแบบ Thermal Circuit Breaker หรือ RCBO ไม่อนุญาตให้ใช้ฟิวส์อีกต่อไป 8. สังเกตแรงดันไฟฟ้าและการรองรับกระแสไฟฟ้า สำหรับมาตรฐาน มอก. ปลั๊กพ่วงนี้ ครอบคุม ปลั๊กที่มีการ รับไฟ ตั้งแต่ 50V ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 440V และห้ามมี แอมแปร์มากกว่า 16A สำหรับการใช้งานภายในและ ภายนอกอาคาร ซึ่งในส่วนนี้สามารถดูได้จากกล่องหรือตัว สินค้าหากเป็นปลั๊กที่อยู่นอกขอบข่ายนี้ ก็จะไม่เข้าข่ายต้องมี มอก.2432-2555
เช็ค 7 จุดปลั๊กพ่วงตาม มาตรฐาน เต้ารับตั้งแต่ 3 เต้าขึ้นไป ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟฟ้าเกิน ต้องเป็นเบรคเกอร์เท่านั้น เพราะฟิวล์ ไม่ถือเป็นอุปกรณ์ป2้องกันกระแสไฟเกิน 2 แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 440 V มาตรฐาน รองรับกระแสไฟฟ้าไม่เกิน 16 A มอก.2432-2555 13 7 4 สวิตช์ตามมาตรฐาน สายไฟตามมาตรฐาน มอก.824-2551 มอก.11-PART-2553 (ในรุ่นที่มีสวิตช์) มอก.955 6 5 เต้ารับตามมาตรฐาน เต้าเสียบตามมาตรฐาน มอก.166-2549 และมอก.2162-25 มอก.166-2549 เต้ารับต้องมี L N G และม่านนิรภัย
ข้อห้ามสำหรับการใช้ปลั๊กพ่วง 1. ห้ามต่อพ่วงปลั๊กไฟ 2. ห้ามเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีกำลังไฟฟ้า เกินมาตรฐานที่ปลั๊กไฟกำหนด
3. ไม่นำปลั๊กไฟที่ชำรุดมาใช้งาน เช่น สายไฟ ฉนวนขาด มีรอยไหม้ เป็นต้น 4. ไม่ควรเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้า พร้อมกันมากเกินไป
5. ห้ามใช้ปลั๊กพ่วงที่ไม่ผ่าน มอก. 2432-2555 6. ไม่ควรเสียบปลั๊กทิ้งไว้ตลอดเวลา ถ้าไม่มีการใช้งานแล้วให้ถอดปลั๊กออก
การใช้งานปลั๊กพ่วง อย่างถูกต้อง ถอดปลั๊กทุกครั้งหลังใช้ ควรปิดสวิตช์ไฟฟ้าก่อน งานเพื่อตัดกระแสและ เสียบปลั๊กพ่วง ป้องกันไฟฟ้ารัดวงจร หยุดใช้งานทันทีเมื่อพบ สิ่งผิดปกติ ไม่ใช้ปลั๊กพ่วงเกินวัตต์ที่ กำหนด
ด้วยความปรารถนาดี จากหน่วยงานความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษัท ซี.พี.สหอุตสาหกรรม จำกัด
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: