Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รู้จักวัดพระธรรมกาย

Description: รู้จักวัดพระธรรมกาย

Search

Read the Text Version

www.kalyan cover.indd 1

namitra.org 4/19/10 12:26:05 AM

รูจ้ ักวดั พระธรรมกาย 1 สรา้ งวัด..ให้เปน็ วดั สรา้ งพระ..ใหเ้ ป็นพระแท้ สร้างคน.. ให้เป็นคนดที ีโ่ ลกต้องการ www.kalyanamitra.org ���������.indd 1 4/19/10 12:05:08 AM

2 รจู้ กั วดั พระธรรมกาย คำนำ ........................................................................ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ นี้ เป็นวาระครบ ๔๐ ปี ของวัดพระธรรมกาย เป็นระยะเวลาท่ีวัดกำลังเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดด ทำให้มีสาธุชน ผู้มีบุญจำนวนมากมีโอกาสเดินทางไปวัดพระธรรมกายเป็นคร้ังแรก หลังจากที่ได้ยินช่ือมาเป็นเวลานาน เม่ือไปถึงแล้วก็อยากจะรู้จัก พุทธสถานแห่งน้ีใหม้ ากขน้ึ “ร้จู กั วดั พระธรรมกาย” เล่มน้ี จะแนะนำให้ รู้จักวัดพระธรรมกายในหลากหลายแง่มุม ท้ังเร่ืองราวความเป็นมาท่ ี น่าสนใจในอดีต เร่ืองราวของมหาปูชนียาจารย์และมโนปณิธานของท่าน แนวคดิ ในการสร้างวัด สิง่ ก่อสรา้ งในวัด โครงการต่าง ๆ ของวัด รางวลั ท่ี ได้รับ ฯลฯ เม่ืออ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว จะรู้เรื่องราวเกี่ยวกับวัดพระธรรมกาย มากขึ้นในระดับท่ีใกล้เคียงกับคนท่ีเข้าวัดมานานระยะหนึ่ง หวังว่า หนังสือเล่มนี้จะมีส่วนเสริมสร้างความเข้าใจอันดีเก่ียวกับการทำงาน เผยแผ่พระพุทธศาสนาของวัดพระธรรมกาย และเป็นแรงบันดาลใจ ในการช่วยกันทะนุบำรุงและเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้แผ่ขยายออกไป ทั่วโลก ให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ดวงตะวันไม่เคยลับฟ้า นำ แสงสว่างไปสู่ใจของมวลมนุษยชาติทุกมุมโลก เพื่อเป็นท่ีพ่ึงของมหาชน ชาวโลกสืบไป ขอต้อนรับสู่วดั พระธรรมกายด้วยความยนิ ดี คณะผจู้ ัดทำ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๓ www.kalyanamitra.org ���������.indd 2 4/19/10 12:05:08 AM

ร้จู กั วัดพระธรรมกาย 3 สารบญั ๕ จากวันวานถึงวันนี ้ ๑๐ มหาปูชนียาจารย์ ๑๗ สรา้ งวัดตามหลกั คำสอนของพระสมั มาสมั พุทธเจ้า ๒๐ สร้างวัดให้เป็นวัด : เตบิ ใหญ่ดว้ ยพลงั แหง่ ศรัทธา ๔๗ ผลงานทผ่ี ่านมา ๗๕ รางวัลทไ่ี ดร้ ับ ๗๙ สมาธิภาวนา : กรณยี กจิ ท่ีทกุ คนควรทำ ๘๓ บุญอยู่เบ้อื งหลังความสุขและความสำเรจ็ ของชวี ติ ๙๐ สาระน่ารู้กอ่ นไปวัด www.kalyanamitra.org ���������.indd 3 4/19/10 12:05:09 AM

4 รู้จกั วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 4 4/19/10 12:05:23 AM

รจู้ ักวัดพระธรรมกาย 5 จากวนั วานถงึ วนั นี ้ วัดพระธรรมกายในวันน้ี ได้ผ่านวันเวลาอันยาวนานมาถึง ๔ ทศวรรษ โดยมุง่ มน่ั ในภารกิจเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย เพอ่ื สันติสุขแก่มวลมนษุ ยชาตติ ลอดมา ย้อนไปในวันวาน ผืนดินที่ก่อตั้งวัดพระธรรมกายเป็นเพียง ท้องนากว้างไกลสุดสายตา ระยิบระยับด้วยเปลวแดด ปราศจากต้นไม้ นอ้ ยใหญ่และถาวรวตั ถใุ ด ๆ ในยามคำ่ คืนมีเพยี งดาวพราวแสงเตม็ ผนื ฟ้า ในวันมาฆบูชาท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๓ หมู่คณะผู้มี ศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ (หลวงพ่อธัมมชโย) ซงึ่ ขณะนั้นเพิ่งบวชได้เพียง ๑ พรรษา คณุ ยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง (อายุ ๖๑ ปี) และศิษยานุศิษย์ ได้ร่วม แรงร่วมใจกันขุดดินก้อนแรก ก่อสร้างศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรมข้ึนบน ท่ีดินที่ได้รับบริจาคจากคุณหญิงประหยัด แพทยพงศาวิสุทธาธิบดี จำนวน ๑๙๖ ไร่ (ศนู ย์พุทธจักรปฏิบัติธรรมได้รบั วิสุงคามสมี า และตอ่ มา ได้เปล่ียนชื่อเป็น “วัดพระธรรมกาย” เมื่อวันท่ี ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๔) ขณะเริ่มก่อสร้างวัด คุณยายอาจารย์ฯ มีเงินทุนเร่ิมแรกเพียง ๓,๒๐๐ บาท ซ่ึงแทบไม่ต่างอะไรกับการสร้างวัดด้วยมือเปล่า ครั้งน้ันมี ลูกศิษย์ถามท่านว่า “เรามีเงินทุนอยู่เพียงเท่านี้ จะสร้างวัดสำเร็จได้ อย่างไร” คุณยายอาจารย์ฯ ถามกลับไปว่า “ถ้าเราจะสร้างคนให้เป็นคนด ี มีศีลธรรม ยอมอุทิศชีวิตให้พระศาสนาข้ึนมาสักคนหน่ึงจะต้องใช้เงินสัก เท่าไร” ศิษย์คนนั้นตอบว่า “หมดเงินไปเป็น ๑๐๐ ล้าน ก็ยังไม่แน่ว่าจะ www.kalyanamitra.org ���������.indd 5 4/19/10 12:05:26 AM

6 ร้จู กั วดั พระธรรมกาย สร้างข้ึนมาได้สักคน” คุณยายอาจารย์ฯ จึงพูดว่า “ตอนนี้ยายมีคนดี ๆ อย่างพวกคุณมานั่งอยู่ตรงหน้าน้ีแล้วต้ัง ๑๑ คน แสดงว่ายายมีทุนอยู่แล้ว ไมน่ ้อยกวา่ ๑,๐๐๐ ล้าน ยายต้องสร้างสำเรจ็ แน่” เมื่อมีท้ังที่ดินและหมู่คณะท่ีพร้อมจะทำงานเผยแผ่พระพุทธ- ศาสนาแล้ว การหาทุนสร้างวัดก็เริ่มข้ึน โดยการช่วยกันเขียนหนังสือ ตามหาผู้ที่เคยทำบุญร่วมกันมาในอดีตชาติให้ได้มาสร้างบุญร่วมกันอีกใน ชาติน้ี และอธิษฐานให้ผู้มีบุญเหล่านั้นมีโอกาสอ่านหนังสือเล่มน้ี ที่มีชื่อ ว่า เดินไปสู่ความสุข หลังจากหนังสือเล่มนี้เผยแพร่ออกไป ก็เริ่มมี สาธุชนเดินทางไปร่วมทำบุญสร้างวัด บางท่านก็ส่งเงินไปทำบุญทาง ไปรษณีย์ จนกระท่ังพอมที ุนดำเนนิ การกอ่ สร้างวัด ผลงานชิ้นแรกของหมู่คณะ ก็คือ การขุดคูรอบพ้ืนท่ี เพื่อก้ัน อาณาเขต และเป็นการสร้างความเชื่อมั่นแก่ญาติโยมว่าจะมีการสร้างวัด ขึ้นบนพ้นื ทีแ่ หง่ นีจ้ รงิ ๆ www.kalyanamitra.org ���������.indd 6 4/19/10 12:05:30 AM

รจู้ ักวดั พระธรรมกาย 7 ในระยะแรก การสร้างวัดเป็นไปด้วยความยากลำบากอย่างยิ่ง ขาดแคลนท้ังกำลังทรัพย์และกำลังคน ที่มีอยู่เต็มเปี่ยม คือ กำลังใจ เท่านั้น อาหารการกินขณะน้ันก็มีแต่น้ำพริกจิ้มกับผักบุ้งและดอกโสนท่ี เก็บมาจากทอ้ งนาเปน็ หลกั ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ อาคารหลังแรก คือ อาคารจาตุมหาราชิกาได้ ก่อสร้างขึ้น เพื่อรองรับสาธุชนที่ไปปฏิบัติธรรมที่วัด ต่อมาเม่ือสาธุชน เหล่าน้ีได้รับความสุขจากการทำสมาธิ ก็ชักชวนกันเข้าวัดมากขึ้น จนอาคารหลังน้ีไม่พอรองรับ ต้องน่ังสมาธิกันใต้ต้นไม้ บางคร้ังก็โดน แดด โดนฝน ทางวัดจึงสร้างสภาธรรมกายสากลหลังคาจากข้ึน เพื่อให้ สาธุชนมีท่ีน่ังเพียงพอ หลังจากนั้นไม่ก่ีปี ผู้คนก็เพ่ิมข้ึนอีกหลายเท่าตัว ทางวัดจึงสร้างสภาธรรมกายสากลและมหารัตนวิหารคดขึ้นเพื่อรองรับ การสร้างอาคารสถานที่ต่าง ๆ ในวัดพระธรรมกายจึงเป็นการสร้างตาม ความจำเป็นในการใช้งาน โดยยึดหลัก “ประหยัดสุด ประโยชน์สูง และ คงทนถาวร” www.kalyanamitra.org ���������.indd 7 4/19/10 12:05:34 AM

8 รู้จกั วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 8 4/19/10 12:05:38 AM

รู้จักวดั พระธรรมกาย 9 ในขณะท่ีกล้าไม้และเสาเข็มแต่ละต้นหยั่งลงในผืนดิน ธรรมะ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ถูกปลูกฝังลงในใจของมหาชนควบคู่กันไป ตามแนวคิด “สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ และสร้างคนให้ เปน็ คนดี” จากไรท้ ด่ี ิน... กลายมาเปน็ ผนื ดนิ อนั กว้างใหญ่ จากผืนนาทแ่ี ห้งแล้งว่างเปลา่ ... กลายเปน็ พุทธสถานที่สงา่ งาม จากพระภิกษุ ๑ รปู … กลายเปน็ หลักสบิ หลักรอ้ ย หลักพัน... และจะเพิม่ มากข้ึน จากสาธุชนจำนวนร้อย... กลายเป็นจำนวนพนั หมื่น แสน และจำนวนลา้ นในอนาคต ฯลฯ ทกุ อณูของผืนดิน ทกุ สงิ่ ก่อสรา้ ง ทุกกิจกรรมงานบุญ และทกุ สง่ิ ดี ๆ ท่ีเกิดขึ้นในวัดแห่งนี้ ไม่ใช่ผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่เป็น ผลงานของคณะพระภิกษุ สามเณร และสาธุชนทุกยุคทุกสมัย ท่ีฟันฝ่า มรสุมน้อยใหญ่ร่วมกันมาคร้ังแล้วคร้ังเล่า โดยเฉพาะอย่างย่ิงหมู่คณะ ยุคบุกเบิกที่ต้องอาศัยความศรัทธา ความมานะบากบ่ัน และความอดทน อย่างแรงกล้า จึงสามารถทำให้ภาพแห่งความฝันที่จะสร้างวัดให้ได้ สักแห่งหนึ่งกลายมาเป็นความจริงที่ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรมดังเช่น ปัจจุบัน... www.kalyanamitra.org ���������.indd 9 4/19/10 12:05:41 AM

10 รจู้ กั วดั พระธรรมกาย มหาปูชนยี าจารย์ วัดพระธรรมกายมีจุดกำเนิดมาจากมโนปณิธานอันย่ิงใหญ่ของ มหาปูชนียาจารย์ท้ัง ๒ ท่าน คือ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปวู่ ดั ปากนำ้ ภาษีเจริญ ผคู้ น้ พบวชิ ชาธรรมกาย และคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย รวมทั้ง พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ท่ีปรารถนาจะเผยแผ่ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปสู่จิตใจของ มวลมนุษยชาติ เพือ่ สร้างสันติสุขทแ่ี ท้จรงิ ให้เกิดขนึ้ แกโ่ ลก www.kalyanamitra.org ���������.indd 10 4/19/10 12:05:42 AM

รูจ้ ักวดั พระธรรมกาย 11 พระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) หลวงปูว่ ดั ปากนำ้ ภาษเี จรญิ ผูค้ ้นพบวิชชาธรรมกาย พระมงคลเทพมุนีได้ปฏิบัติธรรมจนค้นพบวิชชาธรรมกาย ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เลือนหายไปกลับคืนมาในวันเพ็ญเดือน ๑๐ พ.ศ. ๒๔๖๐ โดยต้ังสัจจาธิษฐานเอาชีวิตเป็นเดิมพันว่า “ถ้าเรานั่งลงไป ครั้งนี้ไม่เห็นธรรมที่พระพุทธเจ้าต้องการ เป็นอันไม่ลุกจากท่ีน้ีจนหมด ชีวิต” ก่อนท่ีท่านจะค้นพบวิชชาธรรมกายกลับคืนมา ไม่มีใครรู้ว่ามนุษย์ ทุกคนมีพระธรรมกายอยู่ในตัว เพราะความรู้น้ีหายไปเป็นเวลาเกือบ ๒,๐๐๐ ปี หลังพทุ ธปรนิ ิพพาน เมื่อพระมงคลเทพมุนีค้นพบวิชชาธรรมกายแล้ว ท่านก็มุ่งมั่น ทำงานพระศาสนา และสอนหลักการปฏิบัติเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย แก่มหาชนตลอดชีวิตของท่าน โดยมีคำสอนท่ีเป็นสูตรสำเร็จในการ ปฏิบัติธรรม คือ “หยุดเป็นตัวสำเร็จ” ท่านเผยแผ่วิชชาธรรมกายจนมี ศิษยานุศิษย์มากมายท้ังภายในและต่างประเทศ ส่งผลให้วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ มีช่ือเสียงเลื่องลือไปทั่วสังฆมณฑล ท้ังในด้านปริยัติ ปฏิบัติ และปฏเิ วธ ก่อนท่ีพระมงคลเทพมุนีจะมรณภาพในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ท่านได้ ฝากฝังให้บรรดาลูกศิษย์ผู้ใกล้ชิด ช่วยกันเผยแผ่วิชชาธรรมกายสู่ชาวโลก ต่อไป เพราะวิชชาธรรมกายสามารถช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ และนำสนั ตสิ ขุ มาสโู่ ลกได้จริง www.kalyanamitra.org ���������.indd 11 4/19/10 12:05:42 AM

12 รูจ้ ักวดั พระธรรมกาย คุณยายอาจารย์มหารตั นอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยงู ผใู้ ห้กำเนิดวดั พระธรรมกาย คุณยายอาจารย์ฯ เป็นศิษย์เอกของพระมงคลเทพมุนี ท่านได้ ศึกษาวิชชาธรรมกายขั้นสูง และมีญาณทัสสนะแม่นยำจนกระท่ัง ได้รับคำชมจากพระมงคลเทพมุนี ว่า “หน่ึงไม่มีสอง” หลังจากท่ี พระมงคลเทพมุนีมรณภาพลงเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๒ คุณยายอาจารย์ฯ ยงั คง สอนธรรมปฏิบัติอยู่ท่ีบ้านพักในบริเวณวัดปากน้ำ เพื่อเผยแผ่พระพุทธ- ศาสนา วิชชาธรรมกายแก่ชาวโลก ตามคำสั่งของพระมงคลเทพมุนี และ เพ่ือรอคอยผู้สืบทอดวิชชาธรรมกายตามที่พระมงคลเทพมุนี เคยกล่าวไว้ ว่า “มาเกิดแล้วทีจ่ งั หวัดสงิ หบ์ ุรี จะเผยแผ่วชิ ชาธรรมกายไปทัว่ โลก” ต่อมา มีลูกศิษย์ไปเรียนธรรมปฏิบัติกับคุณยายอาจารย์ฯ ท ี่ วัดปากน้ำเป็นจำนวนมาก ในจำนวนนี้มีนิสิตหนุ่มจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์คนหนึ่งเป็นชาวจังหวัดสิงห์บุรี ต่อมาได้อุปสมบทเป็น พระภิกษุ มีฉายาว่า “ธัมมชโย” เมื่อบวชแล้วท่านได้ส่ังสอนธรรมปฏิบัต ิ ที่บ้านธรรมประสิทธ์ิในบริเวณวัดปากน้ำ ซ่ึงมีผู้สนใจไปปฏิบัติธรรมกัน อย่างเนืองแน่นจนต้องหาทางขยับขยายพ้ืนท่ีด้วยการสร้างวัดขึ้น ซ่ึงก็คือ วัดพระธรรมกายในปจั จุบนั คุณยายอาจารย์ฯ คือ ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จทั้งปวงของ วัดพระธรรมกาย ถ้าไม่มีท่านก็ไม่มีวัดพระธรรมกายในวันน้ี คณะ ศิษยานุศิษย์จึงยกย่องท่านด้วยการขานนามท่านว่า “คุณยายอาจารย์ มหารัตนอบุ าสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผูใ้ หก้ ำเนดิ วัดพระธรรมกาย” www.kalyanamitra.org ���������.indd 12 4/19/10 12:05:44 AM

รู้จกั วัดพระธรรมกาย 13 www.kalyanamitra.org ���������.indd 13 4/19/10 12:05:48 AM

14 รู้จกั วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 14 4/19/10 12:06:08 AM

รู้จกั วัดพระธรรมกาย 15 พระราชภาวนาวิสุทธ์ิ (หลวงพอ่ ธมั มชโย) ผ้สู บื ทอดวชิ ชาธรรมกาย หลวงพ่อธัมมชโยมีความสนใจในพระพุทธศาสนาและการปฏิบตั ิ ธรรมต้ังแต่เยาว์วัย ท่านได้พบกับคุณยายอาจารย์ฯ ในขณะท่ีกำลังเรียน ปี ๑ อยู่ท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่านทุ่มเทศึกษาวิชชาธรรมกาย ด้วยการเดินทางไปปฏิบัติธรรมกับคุณยายอาจารย์ฯ ที่วัดปากน้ำทุกวัน ไม่เคยขาด มีผลการปฏิบัติธรรมที่ดีเยี่ยม เป็นที่ยอมรับของคุณยาย อาจารยฯ์ ให้ช่วยสอนธรรมะแก่สาธุชนท่บี ้านธรรมประสทิ ธ ์ิ เมื่อได้ปฏิบัติธรรมมากขึ้น ท่านก็ยิ่งบังเกิดความศรัทธาเช่ือม่ันใน วิชาความรู้ท่ีมีอยู่ในพระพุทธศาสนา ท่านจึงตั้งใจว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว จะบวชตลอดชีวิต หลังจากท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก www.kalyanamitra.org ���������.indd 15 4/19/10 12:06:23 AM

16 รู้จกั วัดพระธรรมกาย คณะเศรษฐศาสตรแ์ ละบริหารธุรกจิ สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเ์ กษตร เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ แล้ว ในวันท่ี ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ท่านได้เข้าพิธี บรรพชาอุปสมบทอุทิศชีวิตแก่พระศาสนาท่ีวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ได้รับ ฉายาว่า “ธัมมชโย” แปลว่า “ผู้ชนะโดยธรรม” โดยมีพระเทพเวที (ปัจจุบันคือสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจรญิ ) เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ ต่อมาท่านและคณุ ยายอาจารยฯ์ ไดเ้ ปน็ ผู้นำ ในการสร้างวัดพระธรรมกายขึ้น เพ่ือเป็นสถานที่สอนธรรมปฏิบัติและ เผยแผ่พระพุทธศาสนา ซึ่งหลวงพ่อธัมมชโยได้อาศัยพุทธสถานอัน ศักด์ิสิทธ์ิท่ีรักย่ิงแห่งนี้ ทำภารกิจเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกาย และปลูกฝังศีลธรรม เพ่ือสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติ ตลอดเวลา ๔๐ ปี ที่ผ่านมา และในอนาคตพุทธสถานแห่งน้ี จะเป็นสมบัติของแผ่นดิน และเป็นมรดกทีล่ ำ้ คา่ ของพระพทุ ธศาสนาสืบไป หลวงพ่อธัมมชโยได้รับพระราชทานสมณศักด์ิเป็นพระราชาคณะ ช้ันสามัญ ฝ่ายวิปัสสนาธุระที่พระสุธรรมยานเถร ในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาการศึกษา พระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เม่ือวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ และได้รับพระราชทานพัดยศเลื่อนสมณศักด์ิ เป็นพระราชาคณะช้ันราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระท่ีพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ ใน วันท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ www.kalyanamitra.org ���������.indd 16 4/19/10 12:06:23 AM

รู้จกั วดั พระธรรมกาย 17 สรา้ งวดั ตามหลกั คำสอน ของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า หลวงพ่อธัมมชโย คุณยายอาจารย์ฯ และศิษยานุศิษย์ ได้ร่วมแรง ร่วมใจกันสร้างวัดพระธรรมกายขึ้นภายใต้แนวคิด “สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ และสร้างคนให้เป็นคนดี” ตามหลักปฏิรูปเทส ๔ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพ่ือสร้างวัดให้มีคุณภาพ จะได้จูงใจคน ให้อยากเข้าวัดปฏิบัติธรรม ซ่ึงจะเกิดผลดีท้ังแก่ส่วนตน ส่วนรวม และ เป็นผลดีตอ่ ความเจริญรงุ่ เรอื งของพระศาสนา หลัก “ปฏริ ูปเทส ๔” ประกอบด้วย ๑. อาวาสเปน็ ทส่ี บาย คอื การปรบั ปรุงพื้นที่ภายในวดั ใหส้ วยงาม ร่มร่นื ดแู ลวัดใหส้ ะอาด เป็นระเบยี บเรียบร้อย ใครเห็นก็รสู้ กึ สบายใจ ๒. อาหารเป็นที่สบาย คือ การตั้งโรงทานเล้ียงอาหารญาติโยม ท่มี าวดั อย่างเทา่ เทียมกนั ทุกคน บรกิ ารใหค้ วามสะดวก โดยไมใ่ ห้ญาตโิ ยม เกิดความกังวล รวมทั้งดูแลเอาใจใส่ภัตตาหารท่ีญาติโยมนำมาถวายพระ และใหค้ วามเคารพในทานของญาติโยม ๓. บุคคลเป็นที่สบาย คือ อบรมบุคลากรในวัดให้ดี ให้อ่อนน้อม ถ่อมตน มีกิริยามารยาทเรียบร้อย มีอัธยาศัยไมตรีท่ีดีงาม หม่ันศึกษา ธรรมะและปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาอย่างสม่ำเสมอ เป็นแบบอย่าง ที่ดี สร้างความประทบั ใจแก่สาธชุ น ๔. ธรรมะเปน็ ทส่ี บาย คือ เมือ่ ประชาชนมาวดั แลว้ จะไม่ให้กลบั บ้านมือเปล่า ต้องได้รู้ธรรมะและได้ข้อคิดกลับไปใช้ในชีวิตประจำวัน www.kalyanamitra.org ���������.indd 17 4/19/10 12:06:24 AM

18 รู้จักวัดพระธรรมกาย นอกจากนี้ ยังมีการอบรมศีลธรรมให้แก่หน่วยงานราชการ สถาบัน การศกึ ษา ตลอดจนประชาชนทว่ั ไปอีกดว้ ย แนวคิดในการสร้างวัดตามหลักคำสอนของพระสัมมา- สัมพุทธเจ้า มีส่วนสำคัญในการทำให้สาธุชนที่เคยไปวัดมีความพึงพอใจ จึงบอกต่อ ๆ กันไป ทำให้มีผู้เดินทางไปประพฤติปฏิบัติธรรมท ี่ วัดพระธรรมกายมากข้ึนเร่ือย ๆ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่า ความจริงแล้วผู้คน www.kalyanamitra.org ���������.indd 18 4/19/10 12:06:45 AM

ร้จู ักวดั พระธรรมกาย 19 จำนวนมากยังต้องการเข้าวัดปฏิบัติธรรม ขอเพียงแต่ทางวัดต้องทำวัด ให้น่าเข้า ด้วยการดแู ลรกั ษาศาสนสถานใหส้ ะอาด ร่มรื่น อบรมศาสนบุคคล ให้มีคุณภาพ และพัฒนาวิธีการเผยแผ่ธรรมะให้เข้ากับยุคสมัย เพื่อให้วัด มบี ทบาทในการถา่ ยทอดศลี ธรรมแกป่ ระชาชนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง www.kalyanamitra.org ���������.indd 19 4/19/10 12:07:03 AM

20 รูจ้ ักวัดพระธรรมกาย เติบใหญสด่ร้า้วงยวดั พใหลเ้ ปัง็นแวดัห่ง: ศ รทั ธา วัดพระธรรมกายเติบใหญ่ข้ึนอย่างต่อเน่ืองตลอดมา จนกระทั่ง พ้ืนท่ี ๑๙๖ ไร่ คับแคบลง ดังน้ัน ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ หลวงพ่อธัมมชโย จึงมีดำริให้ขยายพ้ืนท่ีออกไปอีก ๒,๐๐๐ ไร่ เพ่ือรองรับการขยายงาน พระศาสนาในอนาคต ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อความเจริญรุ่งเรืองของ พระพุทธศาสนาและสังคมไทย โดยได้รับการสนับสนุนท้ังในด้าน กำลังกาย กำลังใจ และกำลังทรัพย์ จากสาธุชนผู้ใจบุญ ท่ีเล็งเห็นความ จำเป็นในการขยับขยายพื้นที่วัดให้กว้างขวางข้ึน การขยายพื้นท่ีและการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ของวัด พระธรรมกาย จึงเกิดขึ้นเพ่ือให้เพียงพอแก่การรองรับผู้มีบุญจากทั่วโลก และมีลักษณะสร้างไปใช้ไปเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งปัจจุบันมีสาธุชนหลั่งไหล ไปปฏิบัติธรรมท่ีวัดนับแสนคน และในอนาคตคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก เป็นจำนวนมาก และเน่ืองจากสิ่งก่อสร้างทุกอย่างในวัดพระธรรมกายล้วนมาจาก เงินบริจาคที่เกิดจากความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน การก่อสร้างและ ดูแลศาสนสถานจึงอาศัยหลัก “ประหยัดสุด ประโยชน์สูง และคงทน ถาวร” หมายความว่า สิ่งก่อสร้างทุกอย่างจะสร้างเฉพาะท่ีจำเป็นจริง ๆ เม่ือสร้างแล้วต้องสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่ามากท่ีสุด และคงทน ถาวร ไม่ต้องส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบำรุงรักษา นอกจากนี้ บุคลากรในวัดและสาธุชนยังได้รับการปลูกจิตสำนึกให้เป็นเจ้าของวัด ให้ ช่วยกันดูแลรักษาสมบัติพระพุทธศาสนาอย่างระมัดระวัง เพื่อให้สิ่ง www.kalyanamitra.org ���������.indd 20 4/19/10 12:07:04 AM

รู้จกั วัดพระธรรมกาย 21 ก่อสร้างท้ังหลายเกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุดต่อพระพุทธศาสนา ซึ่งจะ บังเกดิ อานิสงส์ผลบญุ อันเตม็ เปย่ี มแกผ่ ู้บรจิ าคเงิน อาคารสง่ิ กอ่ สร้างสำคญั ในวัดพระธรรมกายมีดังนี้ ศาลาจาตุมหาราชกิ า ศาลาจาตุมหาราชิกาสร้างข้ึนเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เพ่อื เปน็ ท่แี สดง พระธรรมเทศนาแก่ญาติโยมท่ีมาทำบุญในวันอาทิตย์ ส่วนของหลังคาใช้ โครงสร้างเหล็กแทนไม้ เพอ่ื ความคงทนแข็งแรง และออกแบบไมใ่ ห้มเี สา กลาง ทำให้พระภิกษุผู้แสดงธรรมและสาธุชนทุกคนสามารถมองเห็นกัน www.kalyanamitra.org ���������.indd 21 4/19/10 12:07:06 AM

22 รู้จกั วดั พระธรรมกาย ได้ชัดเจนโดยไม่ต้องมีเสากลางมาบดบัง และยังช่วยเพ่ิมพ้ืนท่ีนั่งทำให้ ศาลาจาตุมหาราชิการองรับคนได้ถึง ๕๐๐ คน เม่ือแรกสรา้ งมเี สยี งตติ งิ วา่ วัดพระธรรมกายอยู่ห่างไกล สร้างศาลาใหญ่ขนาดน้ีจะมีใครไปใช้ แต่เม่ือ เวลาผ่านไปไม่กี่ปี ปรากฏว่ามีสาธุชนไปวัดมากข้ึนจนล้นศาลา ต้องสร้าง ศาลาหลังใหม่ ปัจจุบันศาลาจาตุมหาราชิกาได้รับการปรับปรุงให้เป็น สถานท่ปี ฏิบตั ิธรรมของพระภิกษุสามเณร ศาลาจาตุมหาราชิกานับเป็นส่ิงก่อสร้างยุคแรก ๆ ของวัดที่ยัง คงทนแข็งแรง และใช้งานได้ค้มุ คา่ อยา่ งแทจ้ ริง อุโบสถ อุโบสถวัดพระธรรมกายเร่ิมก่อสร้างเมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เสรจ็ สมบูรณเ์ มอ่ื วันศุกร์ที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ สถาปัตยกรรมเป็นแบบไทยประยุกต์ โดยมีวัดเบญจมบพิตร ดสุ ิตวนารามราชวรวิหารเปน็ ต้นแบบ การออกแบบยึดหลกั ความแขง็ แรง คงทน เรยี บง่าย แต่สงา่ งาม มชี ่อฟา้ คู่ หลงั คาโค้งรับกบั ขอบฟา้ ดา้ นหลงั อุโบสถจารึกข้อความเก่ียวกับการสร้างอุโบสถไว้บนแผ่นหินอ่อน การ ก่อสร้างทำด้วยความละเอียดและประณีต วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดคัดเลือก แต่สิ่งที่ดีที่สุดเท่าที่จะหาได้ในสมัยน้ัน ดังเช่น หินเกล็ดท่ีประดับผนัง โบสถ์ภายนอก ต้องคัดเลอื กหนิ ทลี ะเมด็ เลือกเฉพาะเมด็ ทีม่ ีสขี าวบรสิ ทุ ธิ์ เทา่ น้นั เมื่อวันเสาร์ท่ี ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ สมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จแทนพระองค์ เพ่ือวางศิลาฤกษ ์ www.kalyanamitra.org ���������.indd 22 4/19/10 12:07:07 AM

รู้จกั วัดพระธรรมกาย 23 และในวนั องั คารที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ มีพธิ ีผกู พัทธสมี า ภายในอุโบสถรองรับพระภิกษุเข้าร่วมประกอบสังฆกรรมพร้อม กนั ได้คร้งั ละ ๒๐๐ รูป อุโบสถหลังน้ีเป็นสถานที่บรรพชาอุปสมบทกุลบุตรทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศมาแล้วเป็นจำนวนหลายหมื่นรูป สร้างพระภิกษุ สืบทอดพระพุทธศาสนาและสร้างคนดีให้แกส่ งั คมเปน็ จำนวนมาก พระประธานในอุโบสถเป็นพระพุทธรูปท่ีจำลองมาจากลักษณะ มหาบุรุษ ๓๒ ประการ ตรงตามพระไตรปิฎกและหนังสือลักษณะ มหาบุรุษ ซ่ึงหากใครประพฤติปฏิบัติธรรมมากขึ้น ก็จะพบพระพุทธรูป ลักษณะเช่นนี้อยู่ในศนู ย์กลางกายฐานที่ ๗ ของตนเอง www.kalyanamitra.org ���������.indd 23 4/19/10 12:07:12 AM

24 รู้จกั วัดพระธรรมกาย อุโบสถวัดพระธรรมกาย ได้รบั รางวลั สถาปตั ยกรรมดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๑ จาก สมาคมสถาปนกิ สยาม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ www.kalyanamitra.org ���������.indd 24 4/19/10 12:07:16 AM

รู้จักวัดพระธรรมกาย 25 สภาธรรมกายสากล ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๒๗-๒๕๒๘ มีสาธุชนหล่ังไหล ไปปฏิบัติธรรมเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนหลายหมื่นคน ทางวัดต้องสร้าง สภาธรรมกายสากล (หลังคาจาก) ข้นึ อาคารนี้เปน็ อาคารชวั่ คราว หลังคา มุงจาก พ้ืนปูกระเบ้ืองคอนกรีตแผ่นเรียบ รองรับสาธุชนได้ประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน ใช้งานครั้งแรกในวันวิสาขบูชาปี พ.ศ. ๒๕๒๘ และยังได้ สร้างเต็นท์อเนกประสงค์ขนาดใหญ่เพิ่มเติม เม่ือรวมกันแล้วสามารถ รองรับสาธชุ นไดป้ ระมาณ ๓๐,๐๐๐-๔๐,๐๐๐ คน ปัจจบุ ันสถานทต่ี ัง้ สภา ธรรมกายสากล (หลังคาจาก) ได้ถูกปรับปรุงพื้นท่ี เพ่ือสร้างอาคาร ๑๐๐ ปคี ุณยายอาจารยฯ์ ต่อมามีสาธุชนไปปฏิบัติธรรมท่ีวัดพร้อมกันเป็นเรือนแสน สภาธรรมกายสากล (หลังคาจาก) ซ่ึงถือว่าเป็นอาคารที่ใหญ่มากในขณะ น้ันไม่เพียงพอต่อการรองรับ ทางวัดต้องใช้พ้ืนที่กลางแจ้งในการ ประกอบพิธีกรรม ทำให้สาธุชนต้องตากแดด ตากฝน ดังเช่น ในวัน วิสาขบูชา พ.ศ. ๒๕๓๙ ก่อนวันงานมีพายุฝน ทำให้พ้ืนท่ีน่ังบริเวณน้ัน เปียกแฉะ สาธุชนต้องน่ังสมาธิและทอดผ้าป่ากลางแดด พิธีกรรมใน วันน้ันต้องรวบรัดให้เสร็จส้ินลงในภาคเช้า เพราะถ้าพายุฝนมาก็จะไม่ม ี ท่ีหลบฝน ด้วยเหตุน้ี หลวงพ่อธัมมชโยจึงมีดำริให้สร้างศาลาการเปรียญ โดยใช้ช่ือว่า “สภาธรรมกายสากล” เม่ือเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ใช้ งานคร้ังแรกเมื่อวันทอดกฐิน วันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงใน ขณะนั้นพ้ืนท่ีนั่งยังเป็นพื้นดิน ปูผ้ากระสอบสีขาว หลังคามุงด้วยตาข่าย กรองแสง (slan) สภาธรรมกายสากลเป็นศาลาอเนกประสงค์ขนาดใหญ่ ๒ ช้ัน www.kalyanamitra.org ���������.indd 25 4/19/10 12:07:17 AM

26 รู้จกั วัดพระธรรมกาย ช้ันบนเป็นสถานที่ทำสมาธิภาวนาและฟังธรรมของสาธุชนในวันอาทิตย์ และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รองรับคนได้ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ คน และมรี ัตนบลั ลงั กเ์ ป็นท่ีน่งั สำหรบั พระภิกษุกวา่ พนั รปู ชั้น ๑ (ช้ันล่าง) เป็นลานจอดรถยนต์ และมีศูนย์ประชุม ประกอบด้วยห้องประชุมหลายขนาด ต้ังแต่ ๕๐๐ คนข้ึนไป สำหรับ www.kalyanamitra.org ���������.indd 26 4/19/10 12:07:32 AM

รจู้ กั วัดพระธรรมกาย 27 อบรมศีลธรรมแก่ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ นักเรียน นักศึกษา พนักงานบริษัท ฯลฯ นอกจากน้ี ยังมีศูนย์เด็กเพื่อดูแลเด็กเล็กท่ีติดตาม ผู้ปกครองมาวดั โดยมอี าสาสมัครเป็นพเี่ ลี้ยงคอยดแู ล สภาธรรมกายสากลมีพื้นท่ี ๑๒๖ ไร่เศษ ขนาดใหญ่กว่า สนามหลวงเกอื บ ๒ เท่า www.kalyanamitra.org ���������.indd 27 4/19/10 12:07:45 AM

28 รู้จกั วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 28 4/19/10 12:07:48 AM

รู้จักวัดพระธรรมกาย 29 มหาธรรมกายเจดีย์ มหาธรรมกายเจดีย์ เจดีย์แห่งพระรัตนตรัย เป็น เ จ ดี ย์ ท ร ง ค รึ่ ง ว ง ก ล ม แ บ บ เ ดี ย ว กั บ ม ห า วิ ห า ร พ ร ะ ม ง ค ล เ ท พ มุ นี ( ส ด จ นฺ ท ส โ ร ) แ ล ะ เ ป็ น ทรงเดียวกับสาญจิเจดีย์ที่ ประเทศอินเดีย ซึ่งก่อสร้าง มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศก มหาราช หลังพุทธกาล ๒๐๐ กว่าปี รูปทรงของ มหาธรรมกายเจดีย์จึงถือได้ ว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่อยู่ เหนอื กาลเวลา www.kalyanamitra.org ���������.indd 29 4/19/10 12:07:49 AM

30 รู้จกั วัดพระธรรมกาย มหาธรรมกายเจดีย์เป็นบุญสถานอันศักดิ์สิทธิ์ ท่ีสร้างข้ึนด้วย พลังศรัทธาของมหาชน ดังมีรายนามของผู้มีบุญทั่วโลกท่ีร่วมสร้าง พระธรรมกายประจำตัวปรากฏอยทู่ ฐ่ี านองค์พระถึง ๑,๐๐๐,๐๐๐ องค ์ ในอนาคตมหาธรรมกายเจดีย์จะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนายุคปัจจุบัน และจะดำรงอยู่ เป็นสมบัติของโลก เพื่อประกาศคุณของพระรัตนตรัยสืบต่อไปยัง ลูกหลานอีกนานนับพันปี และจะเป็นแรงบันดาลใจให้ชาวโลกตื่นตัวมา รวมกนั ปฏบิ ตั ิธรรม เพื่อเขา้ ถึงพระธรรมกายในอนาคต มหาธรรมกายเจดีย์ออกแบบด้วยหลักวิศวกรรมให้คงอยู่ได้ไม่ต่ำ กว่า ๑,๐๐๐ ปี และใช้วัสดุพิเศษท่ีคงทนกว่า ๑,๐๐๐ ปี เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๙๔.๔ เมตร สูง ๓๒.๔ เมตร ตอกเสาเข็มต้นแรกวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๘ หล่อองค์พระประจำตัวคร้ังสุดท้ายวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ มหาธรรมกายเจดีย์ประกอบด้วย ๓ ส่วน ซ่ึงส่ือถึงพุทธรัตนะ ธรรมรตั นะ และสงั ฆรัตนะ พุทธรัตนะ คือ บริเวณโดมคร่ึงวงกลมและเชิงลาดรอบ มหาธรรมกายเจดีย์ ซ่ึงเป็นท่ีประดิษฐานพระธรรมกายประจำตัว ๓๐๐,๐๐๐ องค์ ภายในประดษิ ฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ พระบรมพุทธเจา้ หล่อด้วยเงินแท้น้ำหนัก ๑๔ ตัน และพระธรรมกายประจำตัวอีก ๗๐๐,๐๐๐ องค ์ ธรรมรตั นะ คอื บรเิ วณวงแหวนถัดจากพุทธรตั นะลงมา สังฆรัตนะ คือ วงแหวนส่วนล่างสุด ใช้เป็นที่น่ังของพระภิกษุ ๑๐,๐๐๐ รูป www.kalyanamitra.org ���������.indd 30 4/19/10 12:07:51 AM

รูจ้ กั วดั พระธรรมกาย 31 บริเวณรอบมหาธรรมกายเจดีย์มี “ลานธรรม” ใช้เป็นที่ประกอบ ศาสนพิธี ฟังธรรม และปฏิบัติธรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รองรับสาธุชนได้ ๔๐๐,๐๐๐ คน มหาธรรมกายเจดีย์จึงเปรียบ เสมือนมหาวิทยาลัยสอนศีลธรรมกลางแจ้ง ที่จะช่วยให้ธรรมะของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแผ่ขยายไปสู่ใจของมหาชน ปัจจุบันในวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนาจะมีสาธุชนจากท่ัวโลกเดินทางมาปฏิบัติธรรม ณ ลานธรรม มหาธรรมกายเจดยี ค์ รงั้ ละหลายแสนคน ทุกวันในเวลา ๐๖.๐๐ น. และ ๑๘.๐๐ น. มีพิธีบูชา มหาธรรมกายเจดีย์ ขอเรยี นเชญิ ผ้มู จี ิตศรัทธาไปรว่ มพิธ ี www.kalyanamitra.org ���������.indd 31 4/19/10 12:07:59 AM

32 รูจ้ กั วัดพระธรรมกาย พระธรรมกายประจำตัว พระธรรมกายประจำตัวท่ีประดิษฐานอยู่ ณ มหาธรรมกายเจดีย์ สร้างข้ึนตามลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ หล่อด้วยโลหะซิลิกอน บรอนซ์ ที่คงทนและแข็งแรงเป็นพิเศษ เพ่ือให้องค์พระอยู่ได้นาน นับพันปี และเคลือบผิวพระธรรมกายประจำตัวด้วยทองคำแท้ ๆ www.kalyanamitra.org ���������.indd 32 4/19/10 12:08:09 AM

รูจ้ ักวัดพระธรรมกาย 33 ซง่ึ องคพ์ ระที่สรา้ งขนึ้ นอกจากคงทนแล้วยังดสู วยงามดว้ ย องค์พระภายในมหาธรรมกายเจดีย์ เตรียมเผ่ือไว้สำหรับอนาคต เมื่อองค์พระภายนอกชำรุดเสียหายจะได้นำองค์พระภายในออกมา ประดษิ ฐานแทน เพื่อให้มหาธรรมกายเจดียส์ มบรู ณ์อย่ไู ดน้ านนบั พนั ป ี www.kalyanamitra.org ���������.indd 33 4/19/10 12:27:23 AM

34 รจู้ กั วดั พระธรรมกาย มหารตั นวิหารคด มหารัตนวิหารคดเป็นอาคารขนาดใหญ่ ๒ ช้ัน สร้างขึ้นรอบ ลานธรรม สถาปัตยกรรมเน้นความเรียบง่าย ใช้งานได้อย่างคุ้มค่า และ คงทนถาวรอยูไ่ ดน้ านนับพันปี www.kalyanamitra.org ���������.indd 34 4/19/10 12:27:25 AM

รจู้ ักวัดพระธรรมกาย 35 www.kalyanamitra.org ���������.indd 35 4/19/10 12:27:30 AM

36 รจู้ กั วดั พระธรรมกาย มหารตั นวหิ ารคดสถาปนาข้นึ เม่ือวันท่ี ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เพ่ือเป็นศูนย์รวมของพุทธบุตรและพุทธศาสนิกชนท่ีไปแสวงบุญในวัน สำคัญทางพระพุทธศาสนานอกจากนี้ในวันปกติ มหารัตนวิหารคดยังใช้ เปน็ สถานทท่ี ำกิจกรรมตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ สังคมอีกดว้ ย พ้ืนท่ีมหารัตนวิหารคดสามารถรองรับผู้มีบุญได้ ๖๐๐,๐๐๐ คน หากรวมกับพ้ืนที่ในลานธรรมก็จะสามารถรองรับได้ถึง ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน www.kalyanamitra.org ���������.indd 36 4/19/10 12:27:35 AM

รู้จกั วดั พระธรรมกาย 37 มหาวิหารแห่งนี้จึงเป็นสถานท่ีรวมพุทธศาสนิกชนจากท่ัวโลกท่ีจะมาทำ กิจกรรมบุญร่วมกัน และพร้อมต่อการรองรับงานพระศาสนาท้ังใน ปัจจบุ นั และในอนาคต www.kalyanamitra.org ���������.indd 37 4/19/10 12:28:02 AM

38 รู้จักวัดพระธรรมกาย มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผูค้ น้ พบวิชชาธรรมกาย มหาวิหารแห่งนี้เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อทองคำแท้ขนาดหนึ่ง เท่าคร่ึงขององค์จริงของพระมงคลเทพมุนี หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยดำริของหลวงพ่อธัมมชโย เพ่ือแสดง ความกตัญญู และรำลึกถึงพระคุณอันยิ่งใหญ่ของพระมงคลเทพมุนี ที่ได้ www.kalyanamitra.org ���������.indd 38 4/19/10 12:28:04 AM

สละชีวิตเป็นเดิมพัน จนสามารถค้นพบวิชชาธรรมกายของพระสัมมา- สมั พุทธเจา้ กลบั คืนมาส่โู ลกไดอ้ ีกคร้งั หลวงพ่อธัมมชโยได้ให้แนวคิดในการก่อสร้างวิหารหลังน้ีไว้ว่า ตอ้ งมคี วามคงทนอย่างนอ้ ย ๑,๐๐๐ ปี สมกับความยากของการบังเกิดขึ้น ของผ้คู น้ พบวชิ ชาธรรมกาย รูปทรงของวิหารตอ้ งอย่เู หนอื กาลเวลา ไมว่ า่ ในปัจจุบันหรืออีกพันปีข้างหน้า ก็จะยังนำสมัยตลอดกาล ด้วยเหตุน ้ี www.kalyanamitra.org ���������.indd 39 4/19/10 12:28:21 AM

40 ร้จู กั วัดพระธรรมกาย การออกแบบจึงต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของ “ทรงกลม” ซึ่งเป็นรูปทรงของ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวท้ังหลาย และยังเป็นรูปทรงของ “ดวงธรรม” ท่ีอยู่ ณ ศนู ยก์ ลางกายของมนษุ ย์ทุกคนอกี ดว้ ย มหาวิหารพระมงคลเทพมุนีปูด้วยหินอ่อนทั้งภายในและ ภายนอก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๐๘ เมตร ทำพิธีตอกเสาเข็มต้นแรกเมื่อ วันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ การก่อสร้างเสร็จส้ินลงเมื่อวันที่ ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึง่ ตรงกบั วนั คลา้ ยวนั เกิดของพระมงคลเทพมุนี พ้ืนท่ภี ายในมหาวิหารแบ่งออกเปน็ ๓ ส่วน คอื สว่ นที่ ๑ เกบ็ บันทกึ ประวตั ิของพระมงคลเทพมุน ี ตัง้ แตป่ ฐมวัย มัชฌมิ วยั และปัจฉิมวัย สว่ นท ี่ ๒ ประดษิ ฐานรปู หล่อทองคำ ส่วนที่ ๓ เก็บบันทึกประวัติคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกา จันทร์ ขนนกยูง “ครูผู้สืบสายธรรม” และพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ (หลวงพ่อธัมมชโย) “ผู้สืบทอดวิชชาธรรมกาย” และประวัติความเป็นมา ของวดั พระธรรมกายต้ังแตเ่ ริม่ ก่อตั้งจนกระทง่ั ปจั จุบนั นอกจากนี้ ภายในวหิ ารยังมหี อ้ งปฏิบตั ธิ รรมอกี ด้วย มหาวิหารพระมงคลเทพมุนีเปิดให้สาธุชนเข้าสักการะรูปหล่อ ทองคำพระมงคลเทพมุนี ในวนั เสาร์ เวลา ๑๒.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. และวัน อาทติ ย์ เวลา ๑๑.๓๐ น.- ๑๒.๓๐ น. กรุณาแตง่ กายชดุ ขาวลว้ น www.kalyanamitra.org ���������.indd 40 4/19/10 12:28:21 AM

รู้จกั วัดพระธรรมกาย 41 มหาวหิ ารคุณยายอาจารย์มหารตั นอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู มหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย เป็นวิหารทรงพีระมิด หกเหล่ียม สีทอง งามประดุจภูเขาทองคำ สูง ๒๙ เมตร ต้ังบนเกาะแก้วกลางน้ำรูปใบบัว ใกล้อุโบสถวัดพระธรรมกาย ตอกเสาเข็มต้นแรกวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ และยกยอดมหาวิหารวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึง่ เปน็ วันครบรอบ ๓ ปขี องการละสังขารของคุณยายอาจารย์ฯ มหาวิหารหลังนี้ สร้างขึ้นเพื่อแสดงความกตัญญูกตเวที และ ประกาศเกียรติคุณที่คุณยายอาจารย์ฯ มีต่อพระพุทธศาสนาและชาวโลก ให้ปรากฏสืบไป ภายในมหาวิหารเป็นห้องหยกประดิษฐานมหารัตนอัฐิ- ธาตุและรูปหล่อทองคำของคุณยายอาจารย์ฯ (สร้างข้ึนในปีท่ีท่านมีอายุ ครบ ๙๐ ป)ี และเปน็ สถานท่ปี ฏิบัตธิ รรม สามารถรองรับคนได้ ๓๐๐ คน ระหว่างอุโบสถและมหาวิหารคุณยายอาจารย์ฯ มีหอเทียนท่ีสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ เพ่อื จดุ ประทีปบูชาธรรมคุณยายอาจารย์ฯ www.kalyanamitra.org ���������.indd 41 4/19/10 12:28:23 AM

42 รูจ้ ักวัดพระธรรมกาย หอฉันคณุ ยายอาจารยม์ หารตั นอบุ าสิกาจันทร์ ขนนกยูง หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ สร้างข้ึนเพ่ือเป็นสถานที่ฉันภัตตาหาร ของพระภิกษุ สามเณร โดยนำเจดีย์น้อยท่ีใช้ในวันสลายร่างคุณยาย อาจารย์ฯ มาเป็นยอดโดมของหอฉัน เพื่อระลึกถึงพระคุณของท่านที่ได้ สร้างโรงครัวและโรงทานขึ้น ณ วัดพระธรรมกาย เพ่ือให้พระภิกษุ สามเณร มีภัตตาหารฉันโดยไม่ต้องออกบิณฑบาต จะได้มีเวลาปฏิบัติ สมณกิจได้อยา่ งเตม็ ท่ี หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ ตอกเสาเข็มต้นแรกวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และทำพิธีเปิดป้ายมงคลหอฉันวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ สามารถรองรบั พระภิกษุ สามเณร ไดถ้ งึ ๖,๐๐๐ รูป ร่วมพิธีถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานท่ีหอฉันได้ในเวลา ๐๖.๓๐ น. และ ๑๐.๓๐ น. www.kalyanamitra.org ���������.indd 42 4/19/10 12:28:36 AM

รู้จกั วัดพระธรรมกาย 43 www.kalyanamitra.org ���������.indd 43 4/19/10 12:28:55 AM

44 รู้จกั วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 44 4/19/10 12:29:04 AM

รจู้ กั วดั พระธรรมกาย 45 อาคาร ๑๐๐ ปีคุณยายอาจารย์ฯ เพ่ือการเผยแผ่พระพุทธศาสนา วชิ ชาธรรมกายไปท่วั โลก อาคาร ๑๐๐ ปีคุณยายอาจารย์ฯ สร้างข้ึนเป็นมหานุสรณ์แด่ คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เพื่อเป็นศูนย์กลาง การบริหารงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกายไปท่ัวโลก เป็น สถานท่ีเรียนพระปริยัติธรรม เป็นศูนย์กลางการศึกษาภาษาบาลีของโลก และเป็นศูนย์กลางงานอบรมศลี ธรรมให้แกผ่ ู้คนในสังคมไทย อาคารหลังน้ี เป็นศูนย์รวมงานพระศาสนาทุกอย่าง ซ่ึงจะช่วย เติมความแข็งแกร่งให้แก่พระพุทธศาสนา และสามารถนำธรรมะไปส ู่ ชาวโลกได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพ่ือขับเคล่ือนโลกไปใน ทิศทางที่ดีงาม และเปี่ยมด้วยสันติสุข อาคาร ๑๐๐ ปีคุณยายอาจารย์ฯ ตอกเสาเข็มต้นแรกในวันครูวิชชาธรรมกาย วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ คาดวา่ การกอ่ สรา้ งจะเสร็จสมบูรณใ์ นปี พ.ศ. ๒๕๕๗ www.kalyanamitra.org ���������.indd 45 4/19/10 12:29:13 AM

46 รู้จกั วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 46 4/19/10 12:29:17 AM

ร้จู กั วัดพระธรรมกาย 47 ผลงานที่ผา่ นมา ตลอดระยะเวลา ๔๐ ปีท่ีผ่านมา วัดพระธรรมกายได้สร้างวัดไป พร้อม ๆ กับการสร้างคน คือ สร้างพระภิกษุให้เป็นพระแท้เพื่อสืบทอด พระพุทธศาสนา รวมทั้งปลูกฝังศีลธรรมลงในใจของผู้คนทุกเพศทุกวัย ด้วยการจัดโครงการอบรมศีลธรรมข้ึน ท้ังน้ี เป็นไปตามแนวความคิด เมอ่ื แรกเร่มิ สรา้ งวัด คือ จะสรา้ งวดั ใหเ้ ป็นวดั สรา้ งพระให้เป็นพระ และ สร้างคนให้เป็นคนดี นอกจากน้ี ยังได้ขยายโครงการบางโครงการออกไป ยังประเทศต่าง ๆ เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้ชาวโลกมีโอกาสเรียนรู้ ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รู้วิธีการทำสมาธิภาวนา และรู้ว่า เปา้ หมายทีแ่ ทจ้ รงิ ของการเกดิ มาเปน็ มนุษย์ คอื การสร้างบญุ สรา้ งบารมี ซ่ึ ง น อ ก จ า ก จ ะ ช่ ว ย พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต แ ล ะ จิ ต ใ จ ข อ ง ช า ว โ ล ก แ ล้ ว ยังเปน็ การชว่ ยฟ้ืนฟูศลี ธรรมโลก ซงึ่ จะเป็นทางมาแห่งสนั ตภิ าพโลกอยา่ ง แท้จริง ต่อไปน้ีเป็นบางส่วนของโครงการทีเ่ กดิ ขึน้ ในช่วง ๔๐ ปี แหง่ การ กอ่ ต้ังวัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org ���������.indd 47 4/19/10 12:29:18 AM

48 รจู้ กั วดั พระธรรมกาย สรา้ งพระให้เป็นพระแท้ โครงการมุทิตาสกั การะพระภิกษสุ ามเณรเปรียญธรรม ๙ ประโยค โครงการนี้ จัดต่อเนื่องทุกปี ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๕๒ มีจำนวนพระภิกษุ สามเณร เปรียญธรรม ๙ ประโยค ที่เขา้ รว่ มงานมุทิตา สักการะรวมแลว้ นับพนั รูป www.kalyanamitra.org ���������.indd 48 4/19/10 12:29:35 AM