Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อปฎิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรม

ข้อปฎิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรม

Description: ข้อปฎิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรม

Search

Read the Text Version

ค�ำน�ำ “คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง” เกิดจากการสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสมาพันธ์ชมรมเดิน-ว่ิงเพื่อสุขภาพไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษากระบวนการพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่งของต่างประเทศและให้ค�ำแนะน�ำเพ่ือการวาง มาตรฐานสำ� หรับประเทศไทย จากทค่ี ณะทำ� งานฯ ชดุ นไี้ ดศ้ กึ ษาคมู่ อื การจดั กจิ กรรมวงิ่ ประเภทถนนจากหลากหลายแหลง่ ของตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คู่มือการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนนของสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations: IAAF) ซ่ึงเป็นองค์กรระดับโลกที่ดูแลกฎ กติกาด้านกรีฑา (รวม ถึงการว่ิงประเภทถนน) และยังเป็นผู้จัดระดับคุณภาพของการจัดการแข่งขันวิ่งถนนในระดับโลก (ออกป้าย รับรองการจัดการแข่งขันวิ่งถนน: Road Race Label) รวมถึง ศึกษาจากคู่มือการจัดงานว่ิงประเภทถนนของ runbritain ซ่ึงเป็นองค์กรที่ดูแลและพัฒนาและออกมาตรฐานส�ำหรับการว่ิงประเภทถนน สังกัดสมาคมกรีฑา แห่งสหราชอาณาจักร (UK Athletics: UKA) และศึกษาเกณฑ์การอนุญาตการจัดระดับ (ป้ายรับรอง) งาน วิ่งประเภทถนนของสมาคมวิ่งประเภทถนนของอังกฤษ (British Association of Road Race: BARR) คู่มือ การจดั กจิ กรรมว่งิ ประเภทถนนของไอร์แลนด์ เปน็ ต้น จึงได้พัฒนาเอกสารฉบับนี้ ซ่ึงเรียกว่าเป็น “ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน” จากการ สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากแหลง่ ตา่ งๆ ผนวกกบั การกลนั่ กรองเพอ่ื ใหส้ ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั บรบิ ทของประเทศไทยได้ “ขอ้ ปฏบิ ตั ิทด่ี ีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน” น้ี แบ่งเปน็ 4 หมวด ประกอบด้วย 1. แนวคดิ เบอื้ งต้น 2. การบรหิ ารจดั การ 3. การวางแผนเส้นทางการแข่งขันและองคป์ ระกอบในเสน้ ทาง 4. การแขง่ ขนั อย่างไรก็ตาม คณะท�ำงานฯ ตระหนักดีว่ายังคงมีรายละเอียดอีกมากในการน�ำไปใช้ ซ่ึงสามารถสืบค้นได้ จากเอกสารที่แนะน�ำไว้ในภาคผนวก อีกทั้งคณะท�ำงานฯ ยินดีท่ีจะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้กับองค์กรหรือ หน่วยงานทต่ี ้องการ โดยสามารถติดตอ่ มาได้ที่สมาพนั ธช์ มรมเดนิ -วิ่งเพอ่ื สขุ ภาพไทย คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวงิ่ ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 1

สารบัญ (1) การจัดองคก์ ร 5 (2) การประชาสัมพันธก์ ่อนการรบั สมคั ร 6 (3) ขอ้ มลู สรุปสุดท้ายเกีย่ วกับการแข่งขนั 7 I II (Final Details) 7 แนวคิด การบริหาร เบ้ืองต้น (4) การลงทะเบยี นผู้เขา้ แข่งขัน 8 จัดการ P.4 (5) อ่ืนๆ P.5 (1) แตง่ ตงั้ เจา้ หน้าท่สี �ำหรบั การแข่งขัน 19 20 III IV (2) รถนำ� 21 การวางแผนเส้นทาง การแข่งขัน (3) เส้นชยั 23 การแข่งขันและ P.19 องค์ประกอบในเส้นทาง (4) การบริการหลังเสน้ ชยั (5) การดำ� เนินงานหลงั การแขง่ ขนั 24 P.9 (1) เบื้องตน้ 9 ภาคผนวก 11 (2) การวัดเส้นทางการแข่งขัน  ภาคผนวก 1 จดุ บรกิ ารนำ�้ 25 (3) การให้ขอ้ มลู บรเิ วณงานและการจดั การ 11  ภาคผนวก 2 การกชู้ ีพและการติดต่อ 28 กอ่ นปล่อยตัว หน่วยงาน องคก์ ร และคณะทำ� งาน (4) องค์ประกอบของจุดปลอ่ ยตวั 12 ทส่ี ามารถสนบั สนนุ การกู้ชพี ในงานว่ิง  ภาคผนวก 3 เครอ่ื งกระตกุ หวั ใจไฟฟ้า 31 และการปล่อยตวั 14 ชนิดอตั โนมัติ (Automated External (5) นกั กฬี าพกิ าร: นักกฬี าวีลแชร ์ และประเภทอืน่ ๆ Defibrillator: AED) 33 (6) การจดั การและควบคมุ ดแู ลในเสน้ ทาง 14  ภาคผนวก 4 สบื ค้น  ภาคผนวก 5 องคก์ รทีเ่ ก่ยี วข้อง 34 การแขง่ ขัน  ภาคผนวก 6 คณะทํางานพฒั นา 36 15 (7) จดุ บรกิ ารน�ำ้ แนวทางและมาตรฐานการจดั งานว่ิง (8) ระบบการสอื่ สารภายในสนามแขง่ ขัน 17 17 (9) หนว่ ยแพทยแ์ ละพยาบาล และการเตรียมรับเหตฉุ กุ เฉิน 2

ข้อปฏิบัติที่ดี ในการจัดกิจกรรมวิ่ง ประเภทถนน Best Practices for Organizing Road Race

I แนวคิด เบ้ืองต้น ผู้จดั งานวิ่งต้องพิจารณาถึงเรือ่ งตา่ งๆ เหล่าน้ี 1.  เพ่อื ประชาสมั พนั ธ์องคก์ ร วัตถุประสงค์  เพอ่ื การกศุ ลหรือประโยชนส์ าธารณะ ของการจัด  เพอื่ ด�ำเนินธรุ กจิ จากการจดั การแข่งขนั ว่งิ โดยตรง  เพอ่ื ตอบสนองความพึงพอใจส่วนตวั งานวิ่ง  เพือ่ การชงิ ชนะแชมปร์ ะดบั ชาติ 2.  นักวงิ่ ช้นั น�ำของโลก กลุ่มนักวิ่ง  นกั ว่งิ แนวหน้าระดับชาติของไทย เป้าหมายท่ีอยาก  นักวง่ิ ทีม่ ีความสามารถในระดับที่อาจชนะในประเภทกลุ่มอายุ ให้เข้าร่วม  นกั วงิ่ ชมรม การแข่งขัน  นกั วิง่ การกศุ ล  นกั ว่งิ ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาติ  ผทู้ ่ีเรม่ิ สนใจการวงิ่ แต่ยงั ไม่จรงิ จงั  หรอื ...เปา้ หมายของผู้จดั คอื นักว่ิงทกุ ประเภท 3. ปริมาณของนักว่ิงท่ีเข้าร่วมงาน 4. ระดับความจริงจังของการวัดผลการแข่งขัน 5. ระดับคุณภาพ/มาตรฐานของการจัดงานหรือการจัดการแข่งขัน 6. ช่วงเวลาของการจัดงานว่ิง ลักษณะภูมิอากาศ การจราจร ความสะดวกของท้องถิ่น ความสามารถ ในการบริการด้านที่พัก งานว่ิงอื่นๆ ที่จัดใกล้กัน หรือมีกลุ่มนักว่ิงเป้าหมายคล้ายกัน 7. การเลือกพื้นท่ีเพ่ือจัดงานวิ่ง 8. ความปลอดภยั ของผมู้ ีสว่ นรว่ มทกุ ฝา่ ย รวมไปถึงประชาชนท่ีจะได้รบั ผลกระทบจากการจัดงานดว้ ย 9. ความรับผิดชอบตามกฎหมายและข้อบังคับท้องถิ่น 4 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานว่ิง

II การบริหาร จัดการ 1. องค์กรของผจู้ ดั งานว่ิงควรมบี คุ คลและหนว่ ยงานซ่งึ รับผดิ ชอบดูแลงาน การจัด ตา่ งๆ ดังนี:้ องค์กร  ผอู้ ำ� นวยการแขง่ ขนั (Race Director)  ฝา่ ยออกแบบและจัดการเส้นทาง/สนามแขง่ ขนั  ฝ่ายการแพทยแ์ ละพยาบาล  ฝา่ ยทะเบยี น รับสมคั ร ประสานงานกับนกั วิง่ ท้งั ระหวา่ งการรบั สมคั รและในวนั รับอุปกรณ์การแข่งขัน (Race Kit)  ฝา่ ยดูแลบริเวณปล่อยตัวและเสน้ ชยั การสรา้ ง ประกอบ ติดตั้งวสั ดุ ตา่ งๆ อนั ได้แก่ ห้องน�้ำ สถานท่เี ปลยี่ นชดุ จดุ รบั ฝากสัมภาระ จุด บรกิ ารเคร่ืองดมื่ อุปกรณ์กัน้ คุมฝงู ชน โครงสรา้ งเพ่อื ตดิ ต้งั ระบบจับ เวลา เป็นตน้ ท้ังนี้ รวมถึงการรอ้ื ถอนและขนยา้ ยออกเม่อื แขง่ ขัน เสร็จสนิ้  ฝ่ายดูแลจดุ บรกิ ารน�้ำ และจดุ บรกิ าร  ฝ่ายเจา้ หน้าท่ีและกติกาการแข่งขนั  ฝ่ายประสานงานกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพนื้ ท่ี ตำ� รวจ รถพยาบาล กลุ่มอาสาสมัครสาธารณชน ทมี งานสนบั สนนุ ดแู ลการตดิ ต่อส่ือสาร  ฝา่ ยดูแลการคมนาคมโดยรอบและทีจ่ อดรถ  ฝ่ายรักษาความปลอดภัย  ฝา่ ยสอ่ื สารทางสอ่ื ออนไลน์ เวบ็ ไซต์ อเี มล เฟสบคุ๊ แฟนเพจ เปน็ ตน้  ฝ่ายสอ่ื สาร วิทยุสอ่ื สาร โทรศพั ท์ ทุกช่องทางในวนั แขง่ ขัน  ฝ่ายท�ำความสะอาด และดูแลการกลบั คนื สภาพ ซึ่งมักเป็นส่งิ แรกท่ี จำ� เป็นต้องทำ� กอ่ นท่จี ะเปิดถนนอีกครัง้ ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 5

 ฝา่ ยจัดซ้อื จัดจ้าง เส้ือ ของทร่ี ะลึก เหรียญ รางวัล อปุ กรณจ์ บั เวลา และอนื่ ๆ  ฝา่ ยสทิ ธิประโยชน์ การคัดเลอื กสปอนเซอร์ การเงิน การควบคมุ รายรบั และรายจ่าย  ฝ่ายประสานงานสือ่ การโฆษณา  ฝ่ายกิจกรรมพเิ ศษ เชน่ งานเอก็ ซโ์ ป และการแสดงต่างๆ  ฝา่ ยอ�ำนวยความสะดวกและพิธีการ พิธเี ปดิ และพิธีมอบรางวัลตอน จบ การรบั รองผู้สนับสนุน และบคุ คลส�ำคัญทม่ี าร่วมงาน 2. ผจู้ ัดงานวง่ิ ควรใหข้ ้อมลู เกยี่ วกบั งานแกผ่ ้ทู ีจ่ ะสมคั รร่วมงาน การประชาสัมพันธ์ ซึง่ ควรมีรายละเอยี ดตามนี้เปน็ อยา่ งน้อย ก่อนการรับสมัคร  ชื่อองค์กร นติ ิบคุ คล บุคคล หรอื ชมรมของผจู้ ดั งานว่ิงน้นั  วนั เวลา และสถานท่ีของการจดั งาน  ระยะทางการจัดการแขง่ ขัน  โครงสร้างรางวัล (อายุ เพศ ระยะ หรืออ่นื ๆ)  ข้อจำ� กัดด้านอายุสำ� หรบั เด็ก  ระบวุ ่าการแขง่ ขนั จะยึดกตกิ าขององคก์ รว่งิ ใด มกี ตกิ าพิเศษของการ แขง่ ขันอยา่ งไรบา้ ง  เวลาปลอ่ ยตวั ของการแข่งขันแตล่ ะระยะ  จำ� นวนสูงสดุ ของนักวิ่งทีจ่ ะรบั สมคั รในการแข่งขันแตล่ ะระยะ และ เงือ่ นไขต่างๆ ในการรับสมัคร  ค่าสมคั รและวธิ กี ารช�ำระเงิน  ข้อมูลการเดินทางสงู่ านว่ิง จุดจอดรถ และปรมิ าณรถทจ่ี อดได้ใน แตล่ ะจุด  ข้อมูลการจราจรบนเส้นทางการแข่งขนั แสดงลกั ษณะการปดิ ก้ันการ จราจรบนเส้นทางวง่ิ ท่อี าจแตกต่างกันในเส้นทางชว่ งตา่ งๆ ดังนี้     ช่วงถนนทปี่ ิดการจราจร ช่วงถนนที่มกี ารจราจร ถนนทม่ี กี ารจราจร แต่ ช่วงถนนทเ่ี ปดิ การ (ปลอดการเดนิ รถ) แตม่ ีแนวรวั้ แบ่งก้นั นกั วิ่ง มกี ารก้นั แบ่งการจราจร จราจร และไมม่ ีการปดิ จากการจราจร “อย่าง “เปน็ ระยะๆ” ห่างกันไม่ ก้นั ใดๆ ชัดเจน” โดยแผงกัน้ เกนิ จุดละ 20 เมตร กรวยยาง หรืออุปกรณ์ อืน่ ๆ ทวี่ างติดกนั เปน็ แนว 6 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

 เวลาตัดตวั (Cut off time) (ถา้ มี)  เวลาเปดิ การจราจรเปน็ ปกติ (ถา้ ม)ี  คำ� แนะนำ� ใหผ้ เู้ ขา้ แขง่ ขนั เขยี นขอ้ มลู ทางสขุ ภาพ อาการเจบ็ ปว่ ย และ เงอ่ื นไขการรกั ษาพยาบาลทดี่ า้ นหลงั ของปา้ ยหมายเลขการแขง่ ขนั  วันเวลา สถานท่ี วธิ กี ารสมัคร และการแจกจา่ ยป้ายหมายเลขการ แข่งขนั และของที่ระลกึ 3. ผจู้ ดั งานวงิ่ ควรใหข้ อ้ มลู “ขอ้ มลู สรปุ สดุ ทา้ ยเกยี่ วกบั การแขง่ ขนั ” ข้อมูลสรุปสุดท้าย (Final Details) ใหก้ บั ผทู้ สี่ มคั รรว่ มการแขง่ ขนั ในวนั สมคั ร หรอื ภายใน เก่ียวกับการแข่งขัน วนั ทก่ี ำ� หนดไวก้ อ่ นการแขง่ ขนั ไมต่ ำ่� กวา่ 7 วนั ซง่ึ ควรมรี ายละเอยี ดตามนี้ เปน็ อยา่ งนอ้ ย (Final Details)  การเดนิ ทางสจู่ ุดปล่อยตัวหรอื กองอ�ำนวยการแขง่ ขนั  รายละเอียดกระบวนการปล่อยตัว (เช่น ระบุช่องทางเดินเขา้ คอก ปลอ่ ยตวั ระบุการจดั ลำ� ดบั การปลอ่ ยตวั เปน็ ตน้ )  กระบวนการตา่ งๆ หลังเขา้ เส้นชัย (เช่น การรับป้ายอนั ดับ รบั เหรยี ญ รับของที่ระลึก น้ำ� ดม่ื อาหาร เป็นต้น)  ข้ันตอนการประทว้ งผลการแข่งขนั  สง่ิ อ�ำนวยความสะดวกในบริเวณงาน เชน่ สขุ า ห้องอาบน้ำ� การ ฝากสมั ภาระ เปน็ ตน้  ก�ำหนดการของพิธกี ารตา่ งๆ  บริการแจ้งผลการแขง่ ขนั  แผนท่ีแสดงกองอำ� นวยการและสง่ิ อำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ  ระยะทางและลักษณะของเส้นทางการแขง่ ขนั ท่ชี ัดเจน  แผนท่เี สน้ ทางการแข่งขันฉบบั ลา่ สุด ระบกุ ารปดิ การจราจรตามท่ี ปรบั แก้ล่าสดุ แล้ว  ระบชุ ว่ งระยะทจ่ี ะต้ังจุดบริการนำ้� 4.  ผจู้ ัดงานอาจใชห้ ลายช่องทางในการลงทะเบยี นหรอื รบั สมัคร ข้นึ อยู่ การลงทะเบียน กบั ขนาดของงาน มีทง้ั การสมัครผ่านระบบออนไลน์ และสมัครโดย ผู้เข้าแข่งขัน ใชใ้ บสมคั ร  งานว่งิ ที่ได้รับความนยิ ม อาจตอ้ งก�ำหนดวิธีการคัดเลือกผไู้ ด้รบั สิทธ์ิ ในการเข้ารว่ มการแข่งขนั เช่น ใชร้ ะบบล็อตเตอรหี่ รอื อนื่ ๆ ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 7

 งานว่ิงขนาดเล็กและขนาดกลางอาจยอมใหม้ ีการสมัครในวนั แขง่ ขัน แต่จะต้องจ�ำกดั ปริมาณผู้เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั ไมใ่ หส้ ่งผลกระทบตอ่ การบริหารจัดการการแข่งขนั  งานวง่ิ ขนาดใหญจ่ �ำนวนมากจะมีการแจกเบอร์วงิ่ ร่วมกบั งานเอ็กซ์ โป และไมอ่ นญุ าตใหร้ บั เบอรว์ ง่ิ ในวันแขง่ ขัน  วธิ ีการแจกเบอรว์ ิง่ และของทร่ี ะลกึ (หลกั ๆ คือ เสื้อยืด) ข้นึ อยู่กบั จำ� นวนผเู้ ขา้ ร่วมงาน พื้นท่ี เวลา และเจ้าหนา้ ที่ การวางแผนอยา่ ง รอบคอบจำ� เป็นตอ่ การเตรยี มจ�ำนวนจดุ บริการทีเ่ พยี งพอ เพือ่ บริหารจัดการใหม้ ีประสทิ ธิภาพสูงสุด  มีกำ� หนดการโดยรายละเอียดงานในทุกดา้ น เผยแพร่ตอ่ เจ้าหนา้ ท่ี ในองคก์ รทเี่ ก่ยี วข้อง 24 ชั่วโมงก่อนหนา้ งานวิง่ 5.  มีแผนการประกอบตดิ ตงั้ และร้ือถอน อปุ กรณ์สนามและสง่ิ อ�ำนวย อ่ืนๆ ความสะดวกตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อกำ� หนดดา้ นความปลอดภยั 8 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

III การวางแผนเส้นทาง การแข่งขัน และองค์ประกอบในเส้นทาง 1. ไดร้ บั อนุญาตจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องตามกฎหมาย เบื้องต้น  แจง้ ใหโ้ รงพยาบาลและสถานพยาบาลในทอ้ งถ่ินและย่านใกล้เคียง ทราบล่วงหนา้ ว่าจะมีการจัดงานว่งิ  มีแผนปฏิบตั กิ ารทางการแพทย์และพยาบาล ทง้ั การบรกิ ารทวั่ ไป และกรณฉี ุกเฉิน  แจง้ ให้ผู้อยอู่ าศัยในพ้นื ท่ีและโดยรอบเส้นทางวิง่ ทราบลว่ งหน้าวา่ จะ มีการจดั งานวงิ่  การเลือกเสน้ ทางการแขง่ ขันควรค�ำนงึ ถงึ  ทกุ อย่างทอี่ าจเกิดขน้ึ วา่ เลือกใชเ้ ส้นทางการ  ตำ� แหนง่ ท่ีเหมาะสม การวางแผนป้องกันและ แข่งขันท่ีผู้คนในชมุ ชน มีแสงสว่างเพยี งพอ ส�ำหรบั เป็นจุดปลอ่ ยตัว ลดระดบั ความเสี่ยงนัน้ ๆ สามารถหลบเลี่ยงได้ และเส้นชยั ตอ้ งมพี น้ื ที่ หากตอ้ งปิดการจราจร  กว้างขวางเพียงพอต่อ  หากเส้นทางว่ิงตอ้ งตัด เสน้ ทางวง่ิ กว้างเพยี งพอ ปริมาณผูม้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ความสะดวกในการเขา้ กบั กระแสการจราจร เมื่อเทยี บกับจ�ำนวนผู้ ในงานว่งิ และเพยี ง ถงึ กองอำ� นวยการ จุด ตอ้ งพจิ ารณาระยะเวลา เข้ารว่ ม พอต่อการจัดวางองค์ ปลอ่ ยตวั และเสน้ ชัย ที่ผู้ขับข่ตี อ้ งหยดุ รอ เส้น ประกอบและสง่ิ อ�ำนวย ทางว่ิงตอ้ งไมป่ ิดกนั้  ความสะดวกต่างๆ  การเขา้ ถึงสถานที่อนั พน้ื ผวิ สนามแข่งขันเรยี บ พยายามให้ชมุ ชนใน เกย่ี วเนื่องกับความชว่ ย แขง็ ตลอดเส้นทาง หาก  บรเิ วณที่จดั งานวงิ่ ได้ เหลือฉุกเฉิน เชน่ สถาน มีช่วงใดที่ผดิ จากนตี้ อ้ ง ความปลอดภยั ของนกั รบั ผลกระทบนอ้ ยท่ีสุด พยาบาล สถานดี ับเพลิง แจ้งให้ชดั เจน วง่ิ พิจารณาความเสีย่ ง เทา่ ทเ่ี ปน็ ไปได้ เป็นตน้ ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 9

 ข้อพจิ ารณาเรื่องปา้ ย   งาน มีความสงู อยา่ ง  มีการตัง้ ปา้ ยแสดงระยะ เนอ่ื งจากโดยปกตจิ ะมี นอ้ ยอยูใ่ นระดับสายตา มปี า้ ยแจง้ เตอื นอยา่ ง ทางทีถ่ ูกตอ้ งแมน่ ยำ� ทกุ นกั วิ่งจำ� นวนมากในเขต (ความสงู ของปา้ ยท่ีดี ชดั เจนอยา่ งนอ้ ย 100 กโิ ลเมตร รวมถงึ ที่จุด บริเวณการจัดงานและ เยีย่ มคอื ระดบั ท่สี งู กวา่ เมตรกอ่ นถงึ ทกุ จดุ บรกิ าร ครึ่งทาง ในเสน้ ทาง ป้ายตา่ งๆ ที่ ศีรษะ) การต้ังปา้ ยควร นำ้� และจดุ อำ� นวยความ ตัง้ เพอ่ื ใหข้ ้อมลู จงึ ควร คำ� นงึ ถงึ ความมั่นคงจาก สะดวกตา่ งๆ  เห็นไดช้ ดั เจน ขนาด แรงลมดว้ ยและไม่บดบงั มีปา้ ยสญั ลักษณบ์ อก ปา้ ย ขนาดตวั อกั ษร ป้ายจราจรหรอื เสน้ ทาง  ทิศทางการวง่ิ บนเส้น และสญั ลกั ษณใ์ หญ่เพยี ง สัญจรปกติ มปี ้ายเพิ่มเตมิ เพอ่ื บอก ทางอยา่ งชดั เจนทกุ ทาง พอทจี่ ะเห็นชัดไดจ้ าก ระยะ 400 เมตร และ แยก เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มใช้ ระยะไกลพอสมควร ไม่ 200 เมตร กอ่ นถงึ เสน้ ชยั เส้นทางไดอ้ ย่างถูกต้อง ถกู บดบงั จากผูร้ ว่ ม  จัดระบบบริเวณจดุ ปลอ่ ยตัวใหส้ ามารถรับมอื กบั ฝงู ชนจ�ำนวนมาก เพื่อใหท้ ง้ั นักว่งิ และผชู้ มมคี วามปลอดภัย  การจัดวางทิศทางและผงั บริเวณจดุ ปลอ่ ยตวั โดยตอ้ งคำ� นึงถงึ กระแสการเคลื่อนทขี่ องนกั วิ่งเขา้ สคู่ อกปล่อยตวั เพื่อไม่ใหเ้ กิดการ ติดขัด และไมเ่ ดนิ ตดั เข้าไปยงั บริเวณปลอดคนหนา้ จดุ ปล่อยตัว หรือ เดนิ ลดั ควิ เข้าคอกปลอ่ ยตวั  กรณไี มส่ ามารถปดิ การจราจรได้ทัง้ หมด ต้องมอี ปุ กรณก์ ้ันแบ่งเสน้ ทางวง่ิ กบั เส้นทางยานพาหนะเพอ่ื ความปลอดภยั หากทำ� ตามนี้ไม่ ได้ ต้องแจง้ ต่อนักวง่ิ อย่างชัดเจนกอ่ นการสมคั รหรอื โดยรวดเร็วหลัง จากผจู้ ัดทราบ  ปญั หาทพี่ บร่วมกันในพืน้ ทกี่ ารแขง่ ขนั คือ สญั ญาณโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี ลม่ เนื่องจากปรมิ าณความต้องการใช้งานสูง ผ้จู ัดการแข่งขนั ต้อง ประสานงานกับผ้ใู หบ้ ริการโทรคมนาคมเพอื่ ให้แน่ใจวา่ จะให้บรกิ าร ได้อยา่ งเพียงพอ 10 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

2.  ระยะทางการจดั การแขง่ ขนั ควรไดร้ ับการวัดและรับรองจากสมาคม การวัดเส้นทาง กฬี ากรีฑาแห่งประเทศไทย (ในพระบรมราชูปถมั ภ์) หรอื ผไู้ ด้รบั การอนญุ าตจากสมาคมกีฬากรฑี าฯ น่นั คือ การวดั ระยะทางดว้ ย การแข่งขัน จกั รยานท่ีสอบเทยี บแลว้ (Calibrated Bicycle)  หากผ้จู ดั การแขง่ ขันทำ� การวัดระยะเอง ต้องระบุเครอ่ื งมอื และวธิ กี าร วัดระยะด้วย 3.  ก่อนถงึ บรเิ วณจดั งาน ควรมีป้ายแสดงเส้นทางไปยังจดุ จอดรถทที่ กุ การให้ข้อมูล ทางแยกในระยะ 3 กิโลเมตร โดยค�ำนึงวา่ นักว่งิ อาจเดินทางมาจาก บริเวณงานและ หลายทศิ ทาง การจัดการ ก่อนปล่อยตัว  ควรมีแผนผังแสดงทต่ี ง้ั ของจุดอำ� นวยความสะดวกของงานอยา่ ง ชดั เจนทุกดา้ นของทางเขา้  มีปา้ ยที่เห็นชัดเจนเพื่อแสดงทศิ ทางและสถานทต่ี ้งั ของจดุ อ�ำนวย ความสะดวกตา่ งๆ     จดุ ประชาสมั พันธ์ ผังชอ่ งทางการเดินเขา้ สู่ จดุ รับฝากสมั ภาระ ทจี่ อดรถ  คอกปลอ่ ยตัว   จดุ ปลอ่ ยตวั  จุดพยาบาล จดุ บรกิ ารอาหาร/เครอ่ื งดมื่ ห้องสุขา  ฯลฯ  ควรมีป้ายใหญ่แสดงผังเสน้ ทางวง่ิ เลขกิโลเมตร และพิกดั ของจุด บริการน�ำ้ และจดุ อำ� นวยความสะดวกต่างๆ ตลอดเสน้ ทางวง่ิ หาก เป็นเสน้ ทางว่ิงทไ่ี ม่ใช่ทางราบ ต้องมีกราฟแสดงระดับความสงู ของ พื้นที่ด้วย  ควรมีกองอำ� นวยการ โต๊ะ หรอื เต็นท์ประชาสมั พันธอ์ ย่บู รเิ วณ ศนู ยก์ ลางของงาน โดยมีเจา้ หนา้ ทปี่ ระชาสมั พนั ธ์ประจำ� อยตู่ ลอด การจดั งาน  มีการประกาศย้�ำให้นักว่ิงกรอกขอ้ มูลตดิ ต่อฉกุ เฉินและข้อมลู ด้าน สุขภาพบนหมายเลขตดิ หนา้ อกใหค้ รบถ้วน ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 11

 มปี า้ ยบอกทางไปยงั หอ้ งสขุ า/หอ้ งอาบน้�ำ (ซึ่งควรแยกเพศ) อย่าง ทวั่ ถงึ และชัดเจน    จำ� นวนห้องสุขาควร ควรมผี ูร้ บั ผดิ ชอบดูแล หอ้ งสุขาควรถกู สุข การแขง่ ขนั ทม่ี ีระยะเกนิ สัมพนั ธ์กบั ปริมาณนกั วิ่ง ท�ำความสะอาดหอ้ งสุขา อนามัย อยา่ งน้อย ฮาล์ฟมาราธอน ควร เพอ่ื มิใหม้ ีการรอควิ ใช้ อยา่ งต่อเนอื่ ง ควรมีอา่ งล้างมือและ พจิ ารณาเพม่ิ หอ้ งสขุ า หอ้ งสขุ านานเกินไป กระดาษช�ำระ ระหวา่ งเส้นทางการ แขง่ ขนั ดว้ ย  ควรมปี ้ายใหญ่แสดงผังเสน้ ทางวง่ิ เลขกโิ ลเมตร และพกิ ดั ของจดุ บริการน�ำ้ และจดุ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ตลอดเส้นทางว่ิง หาก เปน็ เส้นทางว่งิ ที่ไม่ใชท่ างราบ ต้องมีกราฟแสดงระดับความสงู ของ พน้ื ทด่ี ้วย  ควรมีกองอ�ำนวยการ โต๊ะ หรอื เต็นท์ประชาสมั พันธอ์ ยู่บรเิ วณ ศูนย์กลางของงาน โดยมีเจา้ หน้าทปี่ ระชาสัมพันธป์ ระจำ� อยตู่ ลอด การจดั งาน  มกี ารประกาศย้ำ� ใหน้ ักว่งิ กรอกขอ้ มูลตดิ ตอ่ ฉกุ เฉนิ และขอ้ มูลด้าน สขุ ภาพบนหมายเลขติดหน้าอกใหค้ รบถ้วน 4.  มีการแต่งตง้ั ผ้อู ำ� นวยการจดุ ปล่อยตวั เปน็ ผู้ควบคุมคณะทำ� งานด้าน องค์ประกอบ การปล่อยตัว ของจุดปล่อยตัว และการปล่อยตัว  มีแนวเสน้ ปล่อยตวั ซ่ึงมีขนาดทนี่ กั วิ่งและกรรมการทุกคนมองเห็น ได้ชดั เจน  กนั พืน้ ทีป่ ล่อยตัวใหเ้ ปน็ พนื้ ท่สี ำ� หรบั นักวง่ิ โดยเฉพาะ แบ่งแยกจากผู้ ตดิ ตาม ผู้ชม และบุคคลอืน่ ๆ ท่ไี ม่เก่ียวข้อง โดยแบ่งกั้นกอ่ นนกั ว่งิ เข้าสคู่ อกปล่อยตวั พื้นท่สี �ำหรบั คอกปล่อยตวั ค�ำนวณโดยประมาณ ไมเ่ กิน 3 คน ตอ่ ตารางเมตร  กั้นช่องทางเข้าสจู่ ุดปลอ่ ยตัวเปน็ ซอง (ความยาวของซองขึน้ กับ ปริมาณนักวิ่ง) และกัน้ ชอ่ งทางวิง่ หลงั จดุ ปล่อยตัวและปดิ ไวเ้ พอ่ื ไม่ ใหน้ กั ว่งิ ทีม่ าทหี ลงั สามารถแทรก/แซงผมู้ าถงึ ก่อน  ช่วงระยะเวลาหนึ่งกอ่ นการปล่อยตวั (10-30 นาที) เส้นทางวงิ่ หน้าจดุ ปลอ่ ยตัวตอ้ งปลอดการกดี ขวางจากนักวง่ิ ผเู้ ดินเขา้ คอก ปล่อยตวั ล่าช้า ช่างภาพ และผู้ไม่มีสว่ นเกีย่ วขอ้ งท้ังหมด 12 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

 การออกแบบจดุ ปลอ่ ยตัวควรมลี ักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี    สงู กวา่ (ควรมกี ารตดิ ตงั้ มีพน้ื ท่สี �ำหรับนกั วิ่งชั้น หลงั จากพน้ื ท่สี �ำหรบั หลังจากน้ันจะจดั แบง่ สญั ลกั ษณ์แสดงความเรว็ นำ� โดยเฉพาะ โดยอยู่ นักว่ิงชั้นน�ำ จะมพี ้นื ท่ี ลำ� ดบั กลุ่มนักวิง่ ออก ที่ผ้เู ข้าแข่งขนั คาดวา่ จะ ลำ� ดับแรกจากเส้นปล่อย ฟาล์วซ่งึ ปลอดจากนัก เป็นชว่ งๆ ตามความเรว็ ทำ� ไดใ้ ห้เหน็ เดน่ ชัด เพ่ือ ตัว วิ่งอยรู่ ะยะหนึง่ (3-5 ลดหล่นั จากเร็วไปชา้ ชว่ ยใหผ้ เู้ ข้าแขง่ ขันทราบ เมตร) เพื่อกันมิให้นกั วิง่ (กลุ่มนักวงิ่ ความเรว็ ต�ำแหน่งรอปลอ่ ยตวั ที่ กลุ่มตอ่ ไป ไหลมาผลกั สงู กวา่ อย่ดู ้านหนา้ ) เหมาะสม) ดันนักวิ่งชนั้ น�ำจนนักวิง่ เพ่อื ป้องกันไม่ใหน้ กั วิ่ง ช้ันน�ำอาจล�ำ้ เส้นปลอ่ ย ความเร็วต่�ำกีดขวางทาง ตวั ได้ วง่ิ ของนกั วง่ิ ทม่ี คี วามเรว็  เร่ิมต้งั ขบวนนักวง่ิ ท้ังหมดใหห้ า่ งจากจุดปล่อยตวั ไประยะหนง่ึ แลว้ คอ่ ยๆ กระเถิบเข้าใกลจ้ ดุ ปล่อยตัวเม่อื พร้อม หรือเมื่อมกี ารท�ำ เคร่อื งหมายออกจากจดุ ปล่อยตัว (Check-In)  มกี ระบวนการการปล่อยตวั ทีเ่ ห็นและไดย้ นิ ชัดเจนโดยต้องมีระดบั เสยี งท่ีดงั กว่าระบบกระจายเสยี งประชาสัมพนั ธ์ เพอ่ื ใหก้ ารปลอ่ ยตัว ราบรื่น  ควรใช้ผปู้ ล่อยตวั ทีม่ ีประสบการณเ์ พอ่ื ลดความผิดพลาด หาก เปน็ การปล่อยตัวโดยผ้มู เี กยี รตทิ ไี่ ดร้ บั เชิญ ต้องมีระบบสำ� รองดว้ ย  ผตู้ ัดสนิ ผู้ปล่อยตวั และผู้จับเวลา จะตอ้ งอยู่ในต�ำแหน่งที่เหน็ เส้น ปล่อยตัวได้อยา่ งชัดเจน ควรจัดเวทีท่ียกพื้นสงู ให้เปน็ ที่อยขู่ องผู้ ปล่อยตัว  ผปู้ ระกาศควรบอกเวลาถอยหลงั ก่อนถึงการปล่อยตวั ตามกติกาขอ้ ท่ี 240.6 ควรบอกทเี่ วลา 5, 3 และ 1 นาทกี อ่ นการปลอ่ ยตัว  ในกรณที ี่มีเหตุจำ� เป็นทำ� ใหก้ ารปล่อยตวั ลา่ ชา้ จะดำ� เนินการตาม แผนส�ำรองท่เี ตรยี มไว้ โดยต้องค�ำนงึ ถงึ สขุ ภาวะและความปลอดภัย ของนกั วง่ิ และผู้มีสว่ นรว่ มอนื่ ๆ รวมท้งั ตอ้ งแจง้ ใหท้ ุกคนรบั ทราบ และเข้าใจในสถานการณ์  จัดตำ� แหน่งของรถนำ� ขบวนนกั วิง่ ใหอ้ อกตวั ไดส้ ะดวกและไม่เป็น อนั ตรายต่อนักว่งิ กลมุ่ นำ� ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 13

5.  งานวิ่งหลายงานจดั ใหม้ กี ารแข่งขนั สำ� หรบั นักกีฬาพกิ าร/วลี แชรด์ ้วย นักกีฬาพิการ: จะต้องมีการเตรียมปล่อยตวั นักกฬี าประเภทนแ้ี ยกตา่ งหาก เพื่อให้ นักกีฬาวีลแชร์ แน่ใจวา่ ผ้เู ขา้ แข่งขันทุกคนจะไดร้ บั ความปลอดภัย และประเภทอื่นๆ  ปลอ่ ยตัวนักกฬี าวลี แชรก์ ่อนนกั วง่ิ 5 นาทขี น้ึ ไป  ในระหวา่ งเส้นทางการแข่งขัน ถา้ มจี ุดเลี้ยวหรือเนินทีอ่ าจเปน็ อันตรายตอ่ นกั กฬี าวลี แชร์ ก็ตอ้ งมีการปรับเปล่ียนเส้นทางเพ่ือ ความปลอดภยั เช่นกนั  นักกฬี าพิการประเภทอ่นื มกั ต้องใช้เวลาในการแขง่ ขนั และต้องการ ความชว่ ยเหลือมากกว่านักวงิ่ ทวั่ ไป ผ้จู ดั งานจึงมักให้สิทธิใ์ นการ ปลอ่ ยตัวก่อน และอนญุ าตใหน้ กั กีฬาเหลา่ น้ีพาผชู้ ่วยประจำ� ตวั ว่งิ ไป ด้วยตลอดเส้นทาง 6.  มกี ารแตง่ ตั้งหวั หนา้ สารวัตรสนาม (Chief Course Marshal) เพ่อื การจัดการและ ควบคุมดูแลและสง่ั การกจิ กรรมต่างๆ ในเส้นทางการแข่งขัน ควบคุมดูแล  มสี ารวัตรสนาม (Marshal) เพียงพอทว่ั พน้ื ท่ีการแข่งขัน คณะ ในเส้นทาง สารวัตรสนามต้องมีวฒุ ิภาวะเพียงพอในการควบคมุ ดุแลผมู้ สี ว่ น การแข่งขัน ร่วมในการแขง่ ขนั ดูแลตลอดเสน้ ทางการแขง่ ขัน โดยเฉพาะจดุ เสี่ยง ตา่ งๆ เชน่ ทางร่วมทางแยก จดุ ตัดตา่ งๆ เปน็ ตน้  ก�ำหนดช่วงพืน้ ที่ (โซน) เพื่อมอบหมายให้สารวัตรสนามประจำ� พน้ื ที่ (Zone Marshal) ควบคุมดแู ลพน้ื ท่นี ้ันๆ  หวั หน้าสารวตั รสนามจะต้องบรรยายสรุปเก่ยี วกับความเส่ยี งตา่ งๆ ที่อาจเกดิ ขึ้นภายในแตล่ ะพ้ืนท่ีใหแ้ ก่สารวัตรสนามประจ�ำพื้นที่ แผนส�ำรองเพอื่ รองรับเหตฉุ กุ เฉนิ รายชือ่ และหมายเลขโทรศัพท์ ฉกุ เฉนิ รวมถงึ ข้อมูลตา่ งๆ เชน่ เวลาเริ่มและจบการแข่งขัน นกั วง่ิ จะผา่ นบริเวณน้ใี นเวลาใด ชอ่ื ถนน/ซอย/สถานท่ี/หอ้ งสขุ าใน บรเิ วณทร่ี ับผดิ ชอบ เปน็ ต้น  สารวตั รสนาม ต้องแต่งกายหรอื ตดิ แสดงอปุ กรณ์ที่ท�ำให้ผพู้ บเห็น แยกแยะไดว้ ่าเป็นสารวตั รสนาม  มวี ิทยสุ อ่ื สารระหวา่ งหัวหนา้ สารวตั รสนาม และสารวัตรสนามทรี่ บั ผดิ ชอบดา้ นตา่ งๆ  กอ่ นการแข่งขันจะต้องจัดการบรรยายสรุปใหส้ ารวัตรสนามทุกคน โดยสารวตั รสนาม จะตอ้ งได้รับการแจ้งบทบาท หน้าท่ี ตำ� แหน่งท่ี ประจ�ำการ และขน้ั ตอนการปฏิบตั หิ ากเกดิ เหตุการณฉ์ ุกเฉิน 14 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานว่ิง

7.  สารวตั รสนามประจำ� จุดตัดและทางร่วมทางแยกในเสน้ ทางการ จุดบริการน้�ำ แขง่ ขันสำ� คญั ตอ้ งเปน็ ผ้ใู หญ่  ในการแขง่ ขนั ส่วนใหญ่จะมรี ถน�ำทำ� หน้าทีน่ �ำนกั วงิ่ โดยขบั หรอื ข่ไี ป ตามเส้นทางวงิ่ นำ� หน้านกั วง่ิ คนแรกประมาณ 50-100 เมตร  สารวัตรสนามและทมี ปฐมพยาบาลในรถปิดท้ายจะมวี ทิ ยุสือ่ สาร หรอื โทรศัพท์เคลื่อนทที่ ใ่ี ชต้ ิดตอ่ กบั ผูอ้ �ำนวยการการแขง่ ขัน และทีม แพทย์และพยาบาลได้  สารวตั รสนาม จะอยปู่ ระจำ� การในต�ำแหน่งที่ได้รับมอบหมาย จนกวา่ จะได้รับแจง้ ใหย้ ตุ ภิ ารกิจประจำ� จุดโดยสารวตั รสนามในรถปดิ ท้าย หรอื หัวหนา้ สารวัตรสนาม (Chief Marshal) เท่านัน้  เส้นทางการแขง่ ขนั ตอ้ งไม่มสี งิ่ กดี ขวางที่ทำ� ใหน้ ักวงิ่ จำ� นวนมากตอ้ ง เบย่ี งเส้นทางและแออัดเปน็ คอขวด  หากไม่สามารถเคลื่อนยา้ ยหรอื หลบเล่ียงสิ่งกดี ขวางทางวิ่งได้ จะ ต้องทำ� เคร่อื งหมายวา่ มีสิ่งกีดขวางใหเ้ ห็นเด่นชดั และมีสารวัตร สนามดแู ลจุดนนั้ ๆ อย่างนอ้ ย 1 คน  เก็บกวาดปา้ ยบอกเสน้ ทาง อปุ กรณ์ในการจัดการแข่งขัน และขยะ ต่างๆ ท่ีเกิดจากการแขง่ ขนั ออกจากพืน้ ทแ่ี ข่งขันทัง้ หมดให้เร็วท่สี ุด เทา่ ทจี่ ะทำ� ได้  มีจุดบรกิ ารนำ�้ ตลอดเส้นทางวิ่ง ทกุ ระยะ 2-5 กโิ ลเมตร โดยต้อง ตรงกับท่รี ะบุไว้ใน “ข้อมูลสรปุ สดุ ท้ายเก่ยี วกับการแขง่ ขนั ” (Final Details) ระยะที่นิยมในการแข่งขนั ของไทยคือทกุ 2 กิโลเมตร  ระบบการจัดเตรยี มและการขนส่งนำ�้ ด่ืม/นำ�้ แขง็ รวมถึงอุปกรณ์การ บรกิ าร สอดคล้องตามหลักสขุ อนามัย  มนี �้ำด่มื บริการอยา่ งเพียงพอ ต่อเนอ่ื งและไม่ติดขัด จนนักวง่ิ คน สุดทา้ ยผา่ นไป ซึง่ ตอ้ งคำ� นึงถึงจ�ำนวนของผเู้ ข้ารว่ มการแขง่ ขัน และสภาพอากาศ รวมถึงคำ� นึงดว้ ยว่าจดุ บริการนั้นเปน็ จดุ บรกิ ารท่ี เทา่ ใดในระยะทาง ลักษณะการเขา้ มาถงึ ของนักวงิ่ และปรมิ าณท่ีนกั ว่งิ จะใช้บรกิ ารในจดุ น้นั ๆ  หากใหบ้ ริการน�้ำด่มื เย็น ไม่จำ� เป็นต้องมีนำ้� แขง็ ในแก้ว หรอื หากมีจะ ตอ้ งไม่มนี ำ้� แขง็ มากเกนิ ไป  จดุ บริการน�้ำอยภู่ ายใตก้ ารดูแลของผู้ใหญ่ ทไี่ ดร้ บั การอธบิ าย/สอน งานใหผ้ ปู้ ระจ�ำจดุ บริการเข้าใจ หากจดุ ใดมกี ารเพม่ิ ผูช้ ว่ ยทย่ี ังเดก็ ก็ยังถือเปน็ ความรับผดิ ชอบดูแลของผูใ้ หญ่ ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 15

 ผปู้ ระจำ� จุดบรกิ ารทกุ คนตอ้ งแตง่ กายดว้ ยชุดเฉพาะ หรือมี สัญลกั ษณบ์ ง่ ชัด  มปี ้ายแจง้ เตือนอยา่ งชัดเจนอย่างน้อย 100 เมตรกอ่ นถงึ ทุกจุด บรกิ ารนำ้�  จุดบริการน�ำ้ ต้องไมก่ ดี ขวางเสน้ ทางวิ่ง  ไมต่ งั้ จดุ บริการน้ำ� ตรงกับจุดตรวจสอบระหว่างทาง (Check point)  ใชโ้ ตะ๊ ท่ีแขง็ แรงส�ำหรบั ต้ังวางอุปกรณภ์ าชนะและเคร่ืองดมื่  มีภาชนะและปรมิ าณนำ้� เพียงพอส�ำหรบั นักวง่ิ ทกุ คน พึงพจิ ารณาวา่ โดยเฉลีย่ นักว่งิ 1 คน จะใช้น�้ำมากกว่า 1 แกว้ (นกั ว่ิงจะผา่ นจดุ บริการนน้ั ในเวลาใด ยง่ิ อากาศร้อนจะยิง่ มปี ริมาณการใช้น้ำ� ดื่มมาก นกั วงิ่ บางคนอาจใชร้ าดตวั หรอื ลา้ งหนา้ ดว้ ย ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งคาดเผอื่ ไว)้  นอกจากน�ำ้ เปลา่ แล้ว อาจมีเครอ่ื งดม่ื อืน่ ๆ เช่น เครื่องด่มื เกลือแร่ หรือนำ�้ หวาน หรืออาจมผี ลไมท้ านง่าย เช่น แตงโม กล้วย หรอื กลว้ ยตาก เปน็ ตน้  กรณีมีเครอ่ื งดมื่ หลายประเภท และ/หรือผลไม้ใหบ้ รกิ าร เครื่องด่ืม แต่ละประเภทควรวางไว้แยกโตะ๊ กนั อาจใชภ้ าชนะตา่ งสี และมปี า้ ย บอกชดั เจน จะตอ้ งมนี �ำ้ เปลา่ ไว้บนโต๊ะสุดท้ายของจดุ บรกิ ารนำ้�  หากมกี ารบรกิ ารฟองนำ้� เพือ่ เพมิ่ ความสดช่ืนแกน่ กั ว่งิ ตอ้ ง ประมาณการใหเ้ พยี งพอกับนกั ว่งิ ทุกคนในทุกจดุ ไม่นำ� ฟองนำ้� ที่ใช้ แล้วมาใชซ้ ำ้�  มถี งั ขยะ/ภาชนะรองรบั ขยะหลังจดุ บรกิ ารน�ำ้     ออกแบบให้มปี ากกว้าง ตัง้ ถงั ขยะหา่ งเป็นช่วงๆ อาจวางถังขยะทั้งด้าน เป็นปกติที่นักวงิ่ จะไม่ มีการจดั การให้มนั่ คง ซา้ ยและขวาของเสน้ ทาง สามารถทิ้งขยะลงใหต้ รง ไมล่ ม้ พับ ปากภาชนะ  วิ่ง แตต่ ้องไมก่ ีดขวาง ถังขยะได้ ต้องมอบหมาย รองรับขยะไมพ่ ับหุบง่าย ถังขยะใบสุดทา้ ยควรอยู่ ทางวงิ่ และไมก่ ดี ขวาง ให้มีผ้รู บั ผิดชอบจดั เก็บ หา่ งจากจุดบรกิ ารนำ�้ การจราจร ขยะให้สะอาดเรยี บร้อย  อยา่ งน้อย 100 เมตร โดยเรว็ มีจ�ำนวนมากเพียงพอ เทยี บกับปรมิ าณแกว้ นำ�้ /ขวด 16 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานว่ิง

8.  การสอ่ื สารใหท้ ว่ั ถงึ และตอ่ เนอ่ื งระหวา่ งเจา้ หนา้ ทตี่ า่ งๆ ภายในบรเิ วณ ระบบการสื่อสาร สนามแขง่ เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ในเวลาใดเวลาหนงึ่ หรอื ทใ่ี ดทห่ี นง่ึ ระหวา่ ง ภายในสนามแข่งขัน การแขง่ ขนั อาจมเี หตจุ ำ� เปน็ ทต่ี อ้ งตดิ ตอ่ ประสานงานเรง่ ดว่ นเฉพาะ จดุ หรอื มเี หตจุ ำ� เปน็ ทต่ี อ้ งแจง้ ตอ่ ผมู้ สี ว่ นรว่ มในการแขง่ ขนั อยา่ งทวั่ ถงึ และทนั ที ผจู้ ดั การแขง่ ขนั จงึ ตอ้ งวางระบบการสอื่ สารทที่ ว่ั ถงึ ตอ่ เนอื่ ง และมคี วามมน่ั คง ตลอดเวลาทจ่ี ดั การแขง่ ขนั  มีบุคลากรอาวโุ สและมปี ระสบการณท์ ำ� หน้าท่ีเปน็ ผปู้ ระสานงานการ ส่อื สาร  ผู้ประสานงานการสอ่ื สารจะต้องสามารถตดิ ต่อกับผู้อำ� นวยการการ แข่งขนั (ซงึ่ สามารถตดั สนิ ใจเดด็ ขาดได้ทุกเรื่อง) ไดท้ ันทีทต่ี ้องการ และตลอดการแขง่ ขัน  มศี นู ยก์ ลางการสือ่ สาร ทีเ่ ป็นจุดรวมการส่อื สารทุกรูปแบบทีใ่ ช้ งาน เชน่ อาจใชว้ ทิ ยุสอื่ สารสองทางหลายช่วงความถ่ีสำ� หรบั แต่ละ ภารกิจ โดยศนู ย์กลางการสือ่ สารจะสามารถตดิ ต่อส่อื สารกบั เจา้ หน้าท่แี พทย์และพยาบาลและเจา้ หน้าทีต่ ำ� รวจได้  มรี ะบบกระจายเสียง เพอื่ ใหข้ ้อมลู ต่างๆ และใช้ในการบรรยายการ แข่งขัน  จดั ท�ำเอกสารรายชือ่ เรียงตามล�ำดบั หมายเลขของผ้รู ่วมการแขง่ ขัน ทง้ั หมด รายชื่อนักว่ิงที่เปน็ ท่จี ับตา ข้อมูลจำ� นวนนักวง่ิ ขอ้ มูลใน การปล่อยตัว และสถติ อิ น่ื ๆ ที่น่าสนใจเพ่ือมอบให้กบั โฆษกประจำ� งานและผู้บรรยายการแข่งขันก่อนปล่อยตัว 9.  มหี วั หนา้ แพทยส์ นามซงึ่ สามารถ/มหี นา้ ทส่ี งั่ การเจา้ หนา้ ทแ่ี พทยแ์ ละ หน่วยแพทย์ พยาบาลทกุ คนได้ และพยาบาล และการเตรียม  มแี ผนปฏบิ ตั กิ ารทางการแพทยแ์ ละพยาบาล และเอกสารการประเมนิ รับเหตุฉุกเฉิน ความเสยี่ งทางการแพทยแ์ ละพยาบาล ทวี่ างแผนรว่ มกนั ระหวา่ งผู้ อำ� นวยการการแขง่ ขนั (Race Director) และหวั หนา้ แพทยส์ นาม เพอ่ื กำ� หนดระดบั การบรกิ ารทางการแพทย์  มหี นว่ ยแพทยแ์ ละพยาบาล และหนว่ ยปฐมพยาบาล ตามจดุ ตา่ งๆ ทง้ั ในเสน้ ทางการแขง่ ขนั ทบี่ รเิ วณจดุ ปลอ่ ยตวั และบรเิ วณเสน้ ชยั  ผจู้ ดั การแขง่ ขนั ควรหาความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานทางการแพทย์ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารทจี่ ดุ บรกิ ารพยาบาลตลอดเสน้ ทางการแขง่ ขนั ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 17

   จุดบริการพยาบาลหลัก จดุ บริการพยาบาลรอง ควรมจี ดุ บรกิ ารพยาบาล ควรต้งั อย่ใู นต�ำแหน่งทีม่ ี ควรต้งั อย่คู ่กู ับจดุ บริการ ทกุ ๆ ไม่เกนิ 5 กม. ความเสีย่ งสูงวา่ อาจมผี ู้ น�ำ้ เพื่อปฐมพยาบาล บาดเจ็บ หรอื ต�ำแหน่งท่ี และช่วยใหน้ ักว่งิ คลาย การเขา้ ถงึ เพือ่ น�ำผบู้ าด ความไมส่ บายกายเลก็ ๆ เจบ็ สง่ โรงพยาบาลเปน็ น้อยๆ (เช่น อาการพอง ไปไดย้ าก จดุ บรกิ าร และเสยี ดส)ี และเพือ่ พยาบาลหลกั ควรมี ขนยา้ ยผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการ เครอื่ งมือและบุคลากร หนักไปยังสถานท่ซี ึง่ มี เทียบเทา่ กบั จดุ บริการ อปุ กรณ์รองรับที่เหมาะ พยาบาลหลงั เสน้ ชัย สมต่อไป  มีทีมกู้ชพี ฉุกเฉนิ ทีส่ ามารถชว่ ยฟ้ืนคนื ชีพ (นวดหวั ใจผายปอดกูช้ ีพ - Cardiopulmonary resuscitation : CPR) และมเี ครือ่ งกระตุก หวั ใจดว้ ยไฟฟา้ ( AED/Defibrillator ) ประจำ� ทีมท่ีมีพาหนะ เคลื่อนท่ีเรว็ เช่น จกั รยานหรือมอเตอร์ไซค์ สามารถที่ถึงเหตุฉุกเฉิน ในทกุ ต�ำแหน่งในสนามแข่งขันไดภ้ ายใน 4 นาที  มรี ถพยาบาลท่มี ีอุปกรณท์ างการแพทยส์ �ำหรับชดุ ปฏบิ ตั ิการแพทย์ ชน้ั สงู ประจำ� รถ เพอ่ื รับช่วงดูแลผปู้ ระสบเหตฉุ กุ เฉิน และส่งตอ่ สถานพยาบาล โดยให้มีจำ� นวนรถพยาบาลท่ีสัมพันธก์ บั ท้งั จ�ำนวน ผ้เู ขา้ แขง่ ขันและระยะทาง ดงั น:้ี   เงอ่ื นไขดา้ นจำ� นวนผู้เขา้ ร่วมการแขง่ ขัน เง่อื นไขดา้ นระยะทางของการแขง่ ขนั  ถา้ มผี ูเ้ ขา้ รว่ มการแข่งขันไมเ่ กนิ 2,000 คน  มีรถพยาบาลจอดเตรียมพร้อมปฏิบตั งิ านท่ี ให้มรี ถพยาบาล 2 คัน (เพ่อื ให้มคี นั หนง่ึ สามารถเขา้ ถงึ เหตุฉุกเฉินภายใน 4 นาที คดิ ประจ�ำทีส่ นาม ในกรณที ่ีอีกคันหนงึ่ ต้องขน เปน็ ระยะหา่ งของการจอดรถพยาบาลทุก 5 ยา้ ยผู้ป่วย) ก.ม. และหากมเี ศษท่ีไมถ่ ึง 5 กม.ต้องเพ่ิม  ให้มรี ถพยาบาลเพ่มิ หนึง่ คัน เมอื่ มผี ูเ้ ขา้ ร่วม รถอีก 1 คนั ตวั อย่างเช่น หากระยะทางการ แข่งขนั เพม่ิ ขึ้นจากขอ้ แรกทุก 2,000 คน แข่งขันเปน็ 6 กม. จะตอ้ งมรี ถพยาบาล 2 คนั เพื่อจอดทหี่ ัวและทา้ ยสนามต�ำแหน่งละคนั ท้งั น้ี เม่อื พจิ ารณาทง้ั สองเงือ่ นไขประกอบ กันแล้ว ให้ยดึ จำ� นวนรถพยาบาลตามเงื่อนไขทจ่ี ะมี มากกว่าเป็นหลัก 18 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

IV การแข่งขัน 1.  การแขง่ ขนั วง่ิ ถนนจะตอ้ งมเี จา้ หนา้ ที่ “ผผู้ า่ นการอบรม” จำ� นวนท่ี เจ้าหน้าท่ี เพยี งพอ เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ การแขง่ ขนั จะเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ ส�ำหรับ บอ่ ยครงั้ ทงี่ านจะถกู มอบหมายแก่ “อาสาสมคั ร” ทงั้ ทเ่ี ปน็ งานทเ่ี จา้ การแข่งขัน หนา้ ท่ี “ผผู้ า่ นการอบรม” ตอ้ งทำ� ซงึ่ ถา้ เปน็ เชน่ น้ี จะถอื วา่ งานวง่ิ ครง้ั นไ้ี มส่ ามารถบรหิ ารจดั การใหเ้ ปน็ ไปตามกฎของการแขง่ ขนั ได้ และผล การแขง่ ขนั อาจไมถ่ กู ยอมรบั อยา่ งเปน็ ทางการ ใหต้ ระหนกั ดว้ ยวา่ แม้ จะเปน็ เจา้ หนา้ ทผ่ี ไู้ ดร้ บั การอบรมเกยี่ วกบั การกรฑี า เจา้ หนา้ ทเี่ หลา่ นนั้ จำ� นวนมากกอ็ าจไมเ่ ชย่ี วชาญกฎกตกิ าของการวงิ่ ถนน  เจา้ หนา้ ทอ่ี าจประกอบดว้ ย:     ผู้ตัดสนิ เจ้าหนา้ ทป่ี ระจ�ำจุด ผชู้ ี้ขาดด้านการตัดสนิ ผ้วู ดั ระยะทาง – รับผิด บรกิ ารนำ้� (ต้องมีเพยี ง ดว้ ยภาพถา่ ย (Photo- ชอบการวัดระยะทางและ  พอกับจดุ บริการนำ้� ) Finish Judge) การออกใบรบั รองเส้น ผพู้ จิ ารณาค�ำรอ้ ง – ใช้ ทางการแข่งขนั ในกรณที ่ีเปน็ การแขง่ ขนั   ระดบั ชงิ ชนะเลศิ เท่านั้น สารวตั รสนาม ผขู้ านเวลาและผู้บนั ทกึ เวลาดว้ ยมอื (อยทู่ ี่เส้น   ชัยและจดุ ตรวจสอบ ชขี้ าดประจำ� ห้องเรยี ก ผู้ชี้ขาดส�ำหรบั อปุ กรณ์ อุปกรณจ์ ับเวลาระหว่าง (Call Room Judges) จับเวลาแบบไรส้ าย เส้นทาง) (ส�ำหรับนกั วง่ิ ชนั้ นำ� ) (Transponder Judge) – เพื่อให้แนใ่ จวา่   อปุ กรณจ์ ับเวลาถกู จดั ผชู้ ข้ี าดอันดบั (อย่ทู ่เี ส้น กรรมการปล่อยตวั เตรยี มและทำ� งานอย่าง ชยั ) ถกู ตอ้ ง ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 19

 มรี ถนำ� ทำ� หนา้ ทน่ี ำ� ทางนกั วง่ิ ดว้ ยการขบั ไปบนเสน้ ทางการแขง่ ขนั นำ� หนา้ นกั วง่ิ คนแรกประมาณ 50-100 เมตร มสี ารวตั รสนามบนรถที่ 2. ไดร้ บั มอบหมายใหท้ ำ� หนา้ ทน่ี ำ� การวงิ่ (Lead Marshal) มกี ารตดิ ตง้ั รถน�ำ นาฬกิ าดจิ ติ อลไวบ้ นหลงั คารถใหน้ าฬกิ าหนั มาทางนกั วง่ิ ซงึ่ ตามรถนำ� มา  รถนำ� จะตอ้ งว่งิ นำ� นักวง่ิ คนแรกตลอดการแข่งขันในระยะที่ไม่เกะกะ กีดขวาง  ผู้ขบั ขีห่ รือผนู้ �ำทางจะต้องรูจ้ กั เสน้ ทางการแขง่ ขันเปน็ อยา่ งดี และ ต้องรูว้ า่ บรเิ วณไหนท่ีจะตอ้ งขับขร่ี ถน�ำใหท้ ้งิ ระยะหา่ งจากนกั ว่ิงมาก ขึน้ เพอ่ื ชดเชยเวลาทีต่ อ้ งสูญเสยี ไปกับสภาพถนนบางช่วงซ่งึ อาจ เป็นปญั หาต่อการขับข่ี  ควรมีแผนส�ำรองกรณเี กดิ เหตุไมพ่ งึ ประสงคก์ บั รถนำ� ด้วย เช่น เครื่องยนตข์ ัดข้อง การจราจรคับคัง่  ในกรณีทีใ่ ชร้ ถจกั รยานยนตห์ รอื จักรยานเป็นรถนำ� ผูข้ ับขต่ี ้องสวมใส่ เสอ้ื ผ้าทม่ี องเห็นไดเ้ ดน่ ชัด กรณจี กั รยาน ผขู้ ตี่ ้องมีความสามารถที่ จะขใี่ หเ้ รว็ และนานพอทจี่ ะน�ำนักว่งิ คนแรกตลอดเส้นทางได้  อาจมรี ถเบกิ ทาง (Pilot Vehicle) ซ่งึ จะขับลว่ งหน้ากลมุ่ นักวงิ่ ด้วย ระยะไกลมาก เพ่ือตรวจสอบวา่ เส้นทางไดถ้ กู จดั การอยา่ งเหมาะสม  ถ้าการแข่งขนั ใด แยกปล่อยตัวกลุ่มนกั วง่ิ ชนั้ น�ำหญิงและชายต่าง เวลากนั ก็ควรจัดรถนำ� นักวิ่งทกุ ชนิดขา้ งตน้ แยกเปน็ สองชดุ ด้วย (ยกเว้นรถเบิกทาง) ถ้ากลุ่มนักวง่ิ ชัน้ น�ำหญงิ ถกู ก�ำหนดใหป้ ลอ่ ยตวั พรอ้ มนักวง่ิ มวลชนทั้งหมด รถนำ� กลุ่มที่แยกมากย็ งั คงตอ้ งท�ำหนา้ ที่ นำ� นกั วิ่งชนั้ นำ� หญงิ คนแรก ซึ่งคนขบั จะต้องใชค้ วามระมดั ระวงั เปน็ อยา่ งสูง เพราะอาจมีนักวิง่ ชายในกลมุ่ มวลชนวิง่ ดว้ ยความเร็วใกล้ เคียงกับนักว่ิงหญิงคนแรก ในกรณนี ี้การใชร้ ถจักรยานยนตห์ รอื รถยนต์อาจจะเหมาะสมกวา่ รถยนตข์ นาดใหญ่  มรี ถปิดทา้ ยซ่งึ มสี ารวัตรสนามปดิ ท้ายขบวน (Sweep Marshal) ควบคมุ เพ่ือคอยใหส้ ญั ญาณยกเลิกการใชเ้ สน้ ทางการแขง่ ขนั และยุติ การประจ�ำตำ� แหน่งของบคุ ลากรต่างๆ ในเสน้ ทางการแข่งขัน กรณี การแขง่ ขันขนาดเล็ก รถปิดทา้ ยจะทำ� หน้าที่เก็บนักว่งิ ทีไ่ มส่ ามารถ วิง่ จนจบการแข่งขนั ไดด้ ว้ ย แตใ่ นกรณีการแข่งขนั ขนาดใหญ่จะไม่ สามารถทำ� เชน่ นไี้ ด้ โดยในทางปฎบิ ตั ิ ส่ิงทท่ี ำ� ได้ทงั้ กรณสี นามเลก็ และใหญค่ อื แจง้ ลว่ งหน้าใหน้ กั วิง่ ทราบวา่ จะเปดิ การจราจรเม่อื ใด และถ้ายงั ว่ิงอยู่ จะถอื ว่านักว่ิงเปน็ ผู้ใช้ทางเท้าคนหน่งึ ซ่งึ ต้องวงิ่ บน ทางเท้าและต้องข้ามถนนตามสัญญาณไฟจราจร 20 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

 ในรถปดิ ท้ายมที มี ปฐมพยาบาลซงึ่ ประเมนิ อาการเจ็บป่วยได้ เช่น นักว่งิ ทเ่ี หน่อื ยล้าเกนิ ไป นักวิ่งทีม่ อี าการขาดนำ้� เกลอื แร่ อย่าง รุนแรง เปน็ ต้น และมเี วชภณั ฑ์ทางการแพทย์ส�ำหรบั ภาวะฉกุ เฉินที่ เหมาะสม  อาจมรี ถชนดิ อ่ืนๆ ทตี่ ้องใช้เส้นทางการแขง่ ขัน โดยรถเหลา่ นีไ้ มไ่ ด้ เป็นส่วนหนึ่งของขบวนรถนำ� นกั วิ่ง เชน่ ถา้ การแข่งขันมีจดุ ปลอ่ ย ตัวกับเส้นชัยอยู่คนละทก่ี นั จะตอ้ งมีรถทท่ี �ำหน้าท่ขี นสัมภาระของ นักวิง่ จากจุดปล่อยตวั ไปยงั เสน้ ชัย ซงึ่ รถเหล่านอ้ี าจว่งิ ไปตามเสน้ ทางการแขง่ ขนั โดยว่งิ นำ� หน้ารถเบิกทาง (ซึง่ ตอ้ งขับออกไปกอ่ น ปล่อยตวั ไมน่ ้อยกว่า 15 นาที) หรืออาจใชเ้ ส้นทางอ่นื เลยกไ็ ด้ 3.  มีปา้ ยบอกระยะ 400 เมตร และ 200 เมตร กอ่ นถึงเส้นชยั เส้นชัย  กอ่ นถึงเส้นชยั จะมีการกน้ั เปน็ ช่องทางวง่ิ แยกตามระยะการแขง่ ขัน  ให้นกั ว่ิงทุกคนมองเห็น และกันผู้ไมม่ สี ว่ นร่วมออกจากเส้นทางวง่ิ โดยเด็ดขาด ได้  มปี า้ ยชัดเจนเพื่อส่งสญั ญาณใหน้ ักวง่ิ แตล่ ะระยะเขา้ เส้นชยั ในช่องที่ ถกู ต้อง  เส้นชยั จะมีขนาดท่นี ักวิ่งและกรรมการทกุ คนมองเห็นได้ชดั เจน  มกี รรมการกำ� กบั เสน้ ชยั เป็นผ้ดู แู ลควบคมุ คณะท�ำงานด้านเส้นชยั เพอ่ื ดูแลรบั ผดิ ชอบทง้ั การตัดสนิ อันดบั และการจบั เวลา (ถา้ ม)ี  มีการตดิ ตงั้ นาฬิกาจบั เวลา    ตั้งเวลาใหถ้ ูกตอ้ ง ตรวจสอบว่านาฬกิ าเดนิ พจิ ารณาป้องกันความเป็น อยา่ งเท่ียงตรง ไปได้ทีน่ าฬิกาจะหยดุ เดิน ระหว่างการแขง่ ขนั (โดย เฉพาะปัญหาจากการจ่าย ไฟฟา้ )  มกี ารกน้ั คอกหลังเสน้ ชัยใหเ้ ปน็ เขตปลอดภยั มีพ้นื ท่กี วา้ งขวางเพียง พอ เอื้อให้การตดั สนิ ถกู ต้องแม่นย�ำและปลอดการกีดขวางชอ่ งทาง ของนกั วงิ่ ทผ่ี า่ นเสน้ ชยั แลว้ รวมถงึ มเี จา้ หนา้ ทเี่ ฉพาะเพอื่ กำ� กบั ใหน้ กั วงิ่ เดนิ ออกจากคอกเสน้ ชยั โดยไมก่ ดี ขวางนกั วง่ิ ทก่ี ำ� ลงั เขา้ เสน้ ชยั  ถ้าบันทกึ เวลาด้วยชปิ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตอ้ งมีระบบส�ำรองเพื่อเกบ็ ขอ้ มูลเวลาและข้อมลู ล�ำดับการแข่งขนั ในกรณที ่ีระบบหลกั ไม่ สามารถใชง้ านได้ ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 21

 บนั ทกึ ล�ำดบั ผู้เข้าเส้นชยั อยา่ งแม่นย�ำจากทีมงานผ้จู บั เวลาทมี่ ี ประสบการณ์/ไดร้ ับการฝึกแลว้ /ผ่านการรับรองจากสมาคมกีฬา กรีฑาแหง่ ประเทศไทย (ในพระบรมราชปู ถัมภ์)  งานวงิ่ ควรใชร้ ะบบจบั เวลาสำ� รองแบบบนั ทึกวิดีโอ เพอื่ ใหส้ ามารถ เรียงอนั ดับการเข้าเส้นชัยไดแ้ ม่นย�ำขึน้ และสามารถตรวจสอบได้ กรณมี กี ารประทว้ งผลตัดสนิ  ผจู้ ดั งานว่ิงควรสรา้ งวิธีปฏิบตั เิ พ่อื ยืนยันลำ� ดับการเขา้ เสน้ ชยั แบบ ทันทว่ งทสี ำ� หรับนักว่งิ ที่ได้รบั รางวลั จนถึงอนั ดับส�ำรอง (ซง่ึ ต้องมี เพอ่ื ใช้ในกรณีผู้ได้รับรางวัลขนั้ ต้นท�ำผดิ กตกิ าใดๆ) โดยใชข้ อ้ มูลทม่ี ี อยู่ทง้ั หมด เช่น  หมายเหตุ งานว่ิงท่ี อยา่ งเปน็ ทางการจะยึด ใช้ระบบจบั เวลาดว้ ย ตามเวลาสนาม) แตใ่ น จากการจบั เวลาดว้ ย อปุ กรณ์จบั เวลาแบบไร้ อุปกรณ์ไร้สายและมี งานว่งิ ขนาดใหญห่ ลาย มือและการจดั อนั ดับ สาย (Transponder) จดุ ตรวจสอบเวลาทจ่ี ุด งานที่ไมใ่ ช่ระดับชงิ ชนะ ด้วยคณะกรรมการซ่งึ มี (อาจเปน็ แบบแอคทีฟ ปล่อยตวั จะทำ� ใหน้ ัก เลศิ จะบอกเวลาเฉพาะ ความช�ำนาญ ผา่ นการ หรอื แพสซฟี ก็ได้) โดย วิง่ ได้รูเ้ วลาเฉพาะบุคคล บุคคลดว้ ย และใชเ้ วลานี้ ท�ำความเข้าใจวธิ ีปฏบิ ัติ จะมอบอุปกรณน์ ใ้ี ห้กับ “net time” ของแตล่ ะ เพอ่ื หาผู้ชนะในประเภท ทตี่ ง้ั ไวร้ ่วมกนั ระบบการ นักวิง่ ทุกคน เพือ่ ให้เกิด คนได้ ค่านห้ี มายถงึ กล่มุ อายุ จับเวลาและจัดอนั ดับที่ การบันทกึ สถติ ิเขา้ ไป ระยะเวลานับตั้งแตน่ ัก มีประสทิ ธิภาพ คือการ ยงั คอมพิวเตอร์โดย วิ่งคนนัน้ ข้ามเส้นปลอ่ ย  มที มี ของ อัตโนมตั ิเม่ือนักวง่ิ แต่ละ ตวั จนถงึ ข้ามเสน้ ชัย ซง่ึ รูปถ่ายทเี่ สน้ ชยั  คูผ่ ขู้ านเวลาและ คนวง่ิ ข้ามเส้นชยั วิธีนี้ ค่านี้แตกต่างจากเวลา ผบู้ นั ทึกเวลา เปน็ วิธีบันทึกเวลาการ สนาม “gun time” ซึง่   ผจู้ ดั อันดับ แข่งขนั ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ จะเริม่ จับเวลาต้งั แตส่ ิ้น วดิ โี อ  ผ้ชู ี้ขาดอนั ดบั สงู สดุ อาจมีข้อแตก เสยี งปืนปล่อยตัว เวลา ตา่ งกันก็ในรปู แบบของ เฉพาะบคุ คลให้ข้อมลู  ซง่ึ จ�ำนวนของคู่ผขู้ าน อุปกรณ์ ซ่ึงขน้ึ กับงบ ทเี่ ป็นประโยชนส์ ำ� หรับ และอื่นๆ เพอ่ื จะได้ เวลาและผบู้ นั ทกึ เวลา ประมาณของผจู้ ดั ผล นกั วิง่ ที่เขา้ แขง่ ขันในงาน ประกาศผลการแขง่ ขนั ได้ และผจู้ ดั อนั ดบั ตอ้ งมี การแขง่ ขนั สามารถ วงิ่ ขนาดใหญ่ ซ่ึงนกั วิ่ง อยา่ งถูกตอ้ งและรวดเร็ว มากเพยี งพอเมอ่ื เทียบ แสดงไดท้ นั ที แตจ่ ะ แตล่ ะคนอาจข้ามเสน้ กบั ปริมาณนกั วิ่งทจ่ี ะเข้า ตอ้ งหมายเหตวุ า่ “ผล ปลอ่ ยตวั ด้วยเวลาท่ตี ่าง เส้นชยั ในเวลาใกลเ้ คียง การแขง่ ขนั อยา่ งไมเ่ ปน็ กนั หลายนาที (ตาม กนั ด้วย ทางการ” จนกวา่ จะมกี าร กตกิ าของ IAAF เวลา ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 22 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานว่ิง

4.  มเี จา้ หนา้ ที่เพอื่ คอยสังเกตและประคองนกั วิ่งที่อาจหมดแรงหรอื การบริการ หมดสตหิ ลงั เส้นชยั หลังเส้นชัย  มีการจัดการเพือ่ ให้ทมี ปฐมพยาบาลเขา้ -ออก เขตคอกเส้นชยั ได้ อยา่ งสะดวกรวดเร็ว หากจำ� เป็นรถพยาบาลฉุกเฉนิ ตอ้ งเข้าถึงและ ออกจากเขตคอกเส้นชยั ไปยงั สถานพยาบาลโดยไม่ตัดกระแสการวง่ิ  ลำ� ดบั การใหบ้ รกิ ารทแ่ี นะนำ�  นำ�้ ด่ืม  เหรยี ญท่ีระลึก / เสอื้ Finisher (ถา้ ม)ี  บริการถา่ ยรปู นกั วง่ิ คู่กับเหรยี ญ  เครื่องบรโิ ภคเพือ่ คืนความสดชื่น  บรกิ ารฝากกระเป๋า หากบรกิ ารขา้ งต้นอยใู่ นเขตบริเวณท่ีปิดก้นั เฉพาะนักว่งิ ที่เขา้ เส้นชัยแลว้ เทา่ นนั้ จะทำ� ให้การจัดการต่างๆ สะดวกและเรียบรอ้ ยมาก (ทง้ั นี้ ขน้ึ อยู่ กบั การพิจารณาของผจู้ ัด)  จดุ นัดพบ  มจี ดุ บริการเครอ่ื งดื่มเย็นในระยะเหมาะสมและเพยี งพอส�ำหรับนกั ว่ิง ทีเ่ ข้าเสน้ ชยั ทกุ คน  มีการก�ำกบั ใหน้ ักวิ่งเดนิ ออกจากบรเิ วณเส้นชัยเพื่อไปยังบริเวณรับ เหรียญที่ระลึก/เส้อื ทีร่ ะลกึ  มีปา้ ยก�ำกบั บรเิ วณรับเหรยี ญทรี่ ะลกึ /เสอ้ื ท่ีระลกึ อยา่ งชัดเจน  การมอบเหรยี ญทร่ี ะลกึ /เสื้อที่ระลึกเปน็ ไปอยา่ งเป็นการใหเ้ กียรติและ ยนิ ดกี บั นกั วงิ่ และมีกระบวนการจัดการเพือ่ ไม่ใหม้ กี ารมอบซ�้ำ/มอบ ผดิ และไม่เกดิ แถวคอย  จดุ บรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดม่ื ตา่ งๆ อยหู่ า่ งจากเสน้ ชยั ในระยะทเ่ี หมาะสม  มจี ดุ จ่ายอาหารมากเพียงพอทีจ่ ะไมใ่ ห้เกดิ แถวคอย และเพยี งพอ สำ� หรบั นกั ว่งิ ทเ่ี ขา้ เส้นชยั ทุกคน  อาหารและเคร่อื งดมื่ ทีจ่ ัดเตรยี มไวจ้ ะสะอาดถกู ตอ้ งตามสขุ อนามยั  จัดระบบคนื สัมภาระใหก้ ับนักวิ่งทกุ คน โดยมวี ิธรี ะบุความเปน็ เจ้าของ อยา่ งชัดเจน มกี ารจดั การท่ดี ี ไม่เกิดการรอคอย  กรณีเสน้ ชยั ไม่ได้อย่จู ุดเดยี วกันกับจดุ ปลอ่ ยตัว ตอ้ งจัดเตรยี มระบบ การขนส่งนักว่งิ ไปยังจุดปลอ่ ยตัวหรอื ระบบการขนสง่ สมั ภาระรับฝาก มายงั เขตบริเวณเสน้ ชัย ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 23

5.  ประกาศและจดั แสดงผลการแขง่ ขนั เบอื้ งตน้ เพอ่ื การรบั รางวลั ภายใน การด�ำเนินงาน เวลาทสี่ มเหตผุ ลในวนั แขง่ ขนั หลังการแข่งขัน  ประกาศผลการแขง่ ขนั เบอื้ งตน้ ทง้ั หมดลงอนิ เตอรเ์ นต็ ในวนั แขง่ ขนั  ประกาศ “ผลการแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ ทางการ” ลงในอนิ เตอรเ์ นต็ ภายใน 3 วนั หลงั จากการแขง่ ขนั  เกบ็ กวาดขยะ รอื้ ถอนเตน็ ทแ์ ละโครงสรา้ งชว่ั คราวสำ� หรบั การแขง่ ขนั อยา่ งรวดเรว็ โดยมแี ผนงานและเตรยี มทมี ไวล้ ว่ งหนา้ 24 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานว่ิง

ภาคผนวก 1 จุดบริการน้�ำ 1. มีจุดบริการน้ำ� ตลอดเสน้ ทางว่ิง ทกุ ระยะ 2-5 กโิ ลเมตร โดยต้องตรงกบั ทรี่ ะบุไว้ใน “ขอ้ มูล สรุปสดุ ทา้ ยเก่ียวกับการแขง่ ขัน” (Final Details) ระยะทน่ี ิยมในการแขง่ ขันของไทยคือทุก 2 กิโลเมตร 2. ระบบการจดั เตรียมและการขนสง่ น้�ำดม่ื /น้ำ� แขง็ รวมถงึ อปุ กรณก์ ารบริการ สอดคลอ้ งตามหลกั สขุ อนามัย 3. มีนำ้� ด่มื บรกิ ารอยา่ งเพยี งพอ ต่อเน่ืองและไม่ตดิ ขดั จนนักวิ่งคนสดุ ทา้ ยผ่านไป ซ่งึ ต้องค�ำนึง ถึงจำ� นวนของผู้เข้ารว่ มการแข่งขนั และสภาพอากาศ รวมถึงค�ำนงึ ดว้ ยวา่ จดุ บริการน้ันเป็นจุด บริการทเี่ ท่าใดในระยะทาง ความเพียงพอและต่อเนอ่ื งต้องพิจารณาถงึ 3.1. ปริมาณน้ำ� ปริมาณแกว้ หรือภาชนะใสน้�ำ ท่ีเตรยี มไว้ 3.2. โตะ๊ ตั้งวางน้ำ� มขี นาด จำ� นวน ความยาวรวมตลอดจดุ (ในหนึ่งจดุ ใหน้ �้ำอาจต้ัง โตะ๊ วางน�้ำแบ่งเป็นช่วงๆ เพอ่ื ลดความแออัด) 3.3. ปรมิ าณแกว้ ทรี่ ินน�้ำตัง้ วางบนโต๊ะเตรียมรอนักวิ่ง (หรอื ขวดทเี่ ปดิ ฝาไวแ้ ล้ว) 3.4. ระบบการตักรินน้�ำช่วงที่มีนักว่ิงเข้ามาสู่จุดบริการน้�ำพร้อมกันจ�ำนวนมาก ต้อง ทำ� ได้อย่างรวดเร็ว มภี าชนะ/อปุ กรณต์ กั รนิ และเจ้าหนา้ ทีม่ ากเพยี งพอ 3.5. ท่จี ุดบริการน�ำ้ แหง่ แรกจะมีความแออดั มากท่ีสุด 3.6. โต๊ะน�้ำโต๊ะแรกของแต่ละจุดบริการน้�ำ จะมีความแออัดมากที่สุด หากผู้จัด เตรียมโต๊ะต้ังวางน�้ำไว้หลายตัวในแต่ละจุดบริการน�้ำ ควรประชาสัมพันธ์ล่วง หนา้ และควรมีผ้ปู ระกาศทจ่ี ุดบริการนำ้� ด้วย ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 25

4. จดุ บริการน้ำ� อย่ภู ายใต้การดูแลของผูใ้ หญ่ ท่ไี ดร้ บั การอธิบาย/สอนงานใหผ้ ปู้ ระจ�ำจดุ บริการ เข้าใจ หากจดุ ใดมีการเพม่ิ ผ้ชู ่วยที่ยังเดก็ กย็ งั เป็นความรับผดิ ชอบดูแลของผใู้ หญ่ 5. ผปู้ ระจ�ำจุดบริการทุกคนตอ้ งแตง่ กายดว้ ยชุดเฉพาะ หรือมีสญั ลกั ษณบ์ ่งชัด 6. มปี า้ ยแจ้งเตอื นอย่างชดั เจนอยา่ งนอ้ ย 100 เมตรกอ่ นถึงทุกจดุ บริการน�้ำ 7. จดุ บรกิ ารน�ำ้ ต้องไมก่ ดี ขวางเส้นทางวิ่ง 8. ไมต่ ั้งจดุ บรกิ ารน�ำ้ ตรงกับจุดตรวจสอบระหวา่ งทาง (Check point) 9. ใช้โตะ๊ ทแ่ี ขง็ แรงส�ำหรับต้งั วางอปุ กรณภ์ าชนะและเครื่องดืม่ 10. มภี าชนะและปรมิ าณน้�ำเพยี งพอส�ำหรบั นกั วิง่ ทกุ คน พงึ พจิ ารณาวา่ โดยเฉลี่ยนกั ว่ิง 1 คน จะใช้ น�้ำมากกว่า 1 แก้ว (นักว่งิ จะผ่านจดุ บริการน้ันในเวลาใด ยิ่งอากาศรอ้ นจะยิง่ มีปริมาณการใช้ นำ้� ดม่ื มาก นักว่ิงบางคนอาจใช้ราดตวั หรือล้างหนา้ ด้วย ต้องคาดเผอื่ ไว้) 11. นอกจากนำ�้ เปล่าแลว้ อาจมีเครอ่ื งดม่ื อื่นๆ เช่น เครื่องดมื่ เกลือแร่ หรือน�้ำหวาน หรืออาจมีผล ไม้ทานงา่ ย เช่น แตงโม กล้วย หรอื กลว้ ยตาก เป็นตน้ 12. กรณีมีเครอ่ื งดม่ื หลายประเภท และ/หรอื ผลไมใ้ ห้บริการ เคร่อื งด่มื แตล่ ะประเภทควรวางไว้ แยกโต๊ะกนั อาจใช้ภาชนะต่างสี และมปี ้ายบอกชดั เจน ใหว้ างนำ�้ เปล่าไว้บนโต๊ะสดุ ทา้ ยของจดุ บริการน�ำ้ 13. การจัดเรียงลำ� ดับโตะ๊ เคร่ืองดื่มต่างๆ ในแตล่ ะจุดบรกิ ารตอ้ งมลี �ำดบั เหมือนกัน 14. การบรกิ ารเคร่ืองดืม่ เยน็ ทด่ี ี ไม่ควรมีกอ้ นนำ�้ แข็งอยใู่ นแก้ว หรอื มีแตเ่ พียงนอ้ ย 15. ภาชนะใส่เครอื่ งด่ืม ถังน้�ำ อปุ กรณ์ตักแบง่ น�้ำแขง็ และเคร่อื งดื่มต่างๆ ตอ้ งมีขนาดใหญแ่ ละมี จำ� นวนมากพอ ทจ่ี ะจดั แช่ ผสม และแบง่ รินใส่แกว้ โดยพจิ ารณาจากจำ� นวนนกั วิ่ง 16. ภาชนะใสเ่ ครอื่ งดื่ม ถังน�ำ้ อปุ กรณต์ กั แบง่ นำ้� แข็ง เคร่ืองดืม่ ต่างๆ ต้องสะอาดถกู สุขอนามยั ผูเ้ ติมน�้ำควรใชถ้ งุ มือ 17. การจดั เตรยี มผลไม้ควรคำ� นึงถงึ ความสะอาด เชน่ ต้องมีการลา้ งก่อนหรือไม่ เมอ่ื มกี ารปอก เปลือก จะทิ้งสว่ นท่ีไม่ตอ้ งการท่ีใด จดั วางบนถาดอยา่ งไรไมใ่ ห้เปรอะเป้ือน นักวิ่งจะหยบิ ผลไม้ อยา่ งไร 18. ควรใช้ผา้ ปูโตะ๊ มผี ้าทำ� ความสะอาด 19. ขนาดแกว้ พลาสตกิ ทแ่ี นะนำ� คือ 6 ออนซ์ (180 มิลลิลิตร) รินนำ�้ ไวป้ ระมาณ 2 ใน 3 ของ แกว้ (120 มิลลลิ ติ ร) 20. กรณบี รกิ ารดว้ ยแกว้ ควรรินเครอื่ งด่มื ไว้มากทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะเป็นไปได้ ก่อนนักวิง่ จะว่งิ มาถึงจุด บริการน�้ำ ทัง้ น้ี ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ การละลายของน�้ำแข็ง/อณุ หภมู นิ ำ้� ทสี่ ูงขึ้น และฝ่นุ ละอองทอ่ี าจ ตกลงในน้ำ� 26 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

21. กรณีเครือ่ งดืม่ บรรจุขวด ควรเปดิ ฝาขวดไว้มากทส่ี ดุ เทา่ ทีจ่ ะเปน็ ไปได้ ก่อนนักว่ิงจะวิ่งมาถึงจุด บรกิ ารน้ำ� ปรมิ าณบรรจขุ วดไมค่ วรมากเกนิ ไป 22. การจดั เรียงแก้ว/ขวด ตอ้ งไมช่ ิดกนั มากเกินไป เพราะจะท�ำใหแ้ กว้ /ขวด ล้มกระจายคร้ังละ หลายใบได้ 23. จุดบริการทอี่ ยชู่ ่วงต้นของระยะทางว่งิ จะมปี รมิ าณนกั วิ่งโถมเขา้ มาถงึ ในเวลาไลเ่ ล่ียกันมากกว่า จุดบริการทีอ่ ยู่ช่วงทา้ ยๆ ของระยะทางวง่ิ ดังน้นั พื้นทโ่ี ตะ๊ บริการท่ีมีอยู่อาจไมเ่ พยี งพอต่อการ วางแก้วเคร่ืองด่มื ให้เพยี งพอ แนะนำ� ใหพ้ จิ ารณาทางเลือกตอ่ ไปน้ี 23.1. เพิ่มพื้นที่วางโดยการใช้แผ่นพลาสติกวางซ้อนบนแก้ว โดยที่ต้องค�ำนึงถึงความ สะอาดของแผ่นพลาสติกดว้ ย หากเปน็ ไดแ้ ละไมก่ ีดขวางการจราจร 23.2. เพิม่ โต๊ะบริการนำ�้ ท้งั 2 ฝ่ังของเสน้ ทางว่งิ 23.3. เสริมป้ายแจ้งจ�ำนวนโตะ๊ บริการท่มี ี เพ่อื ให้นักว่งิ ไมอ่ อกันท่โี ตะ๊ แรก 24. ควรมีเครื่องมอื เชน่ กระบอกน�ำ้ และบุคลากรเพียงพอท่จี ะจัดเตมิ เครื่องดืม่ อย่างรวดเร็ว 25. หากจดั บริการยื่นส่งเคร่ืองดืม่ ให้นักว่ิง ไมค่ วรให้เดก็ เล็กท�ำหนา้ ทนี่ ี้ 26. การยืน่ สง่ เคร่ืองด่มื ควรย่ืนส่งในระดับหนา้ อก อาจคบี ปากแกว้ ดว้ ยนว้ิ โปง้ และนวิ้ ชี้ (ไม่จมุ่ ลงใน เครอื่ งดื่ม) หรอื วางอยบู่ นฝา่ มอื ท่หี งาย และไมย่ นื ขวางทางนกั ว่ิง 27. อยา่ ใช้ขวดหรอื แกว้ ท่ีตกพน้ื แล้ว 28. หากมกี ารบรกิ ารฟองนำ้� เพอ่ื เพมิ่ ความสดชน่ื แกน่ กั วง่ิ ตอ้ งประมาณการใหเ้ พยี งพอกบั นกั วง่ิ ทกุ คน ในทกุ จุด ไม่นำ� ฟองน้�ำทีใ่ ชแ้ ล้วมาใช้ซ�ำ้ 29. มถี ังขยะ/ภาชนะรองรบั ขยะหลงั จดุ บรกิ ารนำ้� 29.1. ออกแบบใหม้ ปี ากกว้าง มกี ารจดั การให้มน่ั คง ไม่ล้มพับ ปากภาชนะรองรับขยะ ไม่พบั หบุ ง่าย 29.2. มจี �ำนวนมากเพียงพอเทยี บกบั ปรมิ าณแกว้ นำ้� /ขวด 29.3. ตัง้ ถังขยะห่างเปน็ ช่วงๆ 29.4. ถังขยะใบสุดทา้ ยควรอยูห่ า่ งจากจดุ บริการน�้ำอย่างน้อย 100 เมตร 29.5. อาจวางถังขยะทั้งด้านซ้ายและขวาของเส้นทางว่ิง แต่ต้องไม่กีดขวางทางวิ่ง และไม่กดี ขวางการจราจร 29.6. เป็นปกติที่นักวิ่งจะไม่สามารถทิ้งขยะลงให้ตรงถังขยะได้ ต้องมอบหมายให้มี ผู้รบั ผิดชอบจัดเก็บขยะใหส้ ะอาดเรยี บร้อยโดยเร็ว ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 27

ภาคผนวก 2 การกู้ชีพและ การติดต่อหน่วยงาน องค์กร และคณะท�ำงานที่สามารถ สนับสนุนการกู้ชีพในงานวิ่ง การกู้ชีพฉุกเฉินมีความจ�ำเป็นต่อการจัดงานวิ่งถนนเป็นอย่างย่ิง เพราะการว่ิงระยะไกล เป็นการออกก�ำลังกายอย่างหนกั มคี วามเปน็ ไปได้สงู ท่ีนกั วิง่ อาจเกดิ ความผิดปกติของหัวใจ ซง่ึ หาก ผู้จัดการแข่งขันมิได้เตรียมพร้อมรับมือ ก็อาจเกิดเหตุถึงขั้นสูญเสียชีวิตได้ ดังที่พบเห็นจากข่าวอยู่ เนอื งๆ อยา่ งไรก็ตาม เป็นทน่ี ่ายนิ ดวี า่ ในงานวงิ่ ถนนหลายงาน ผจู้ ดั งานสามารถก้ชู ีพนักว่งิ จากเหตุ ฉกุ เฉนิ ได้ เนอ่ื งจากมีแผนงาน ทีมงานปฏิบัตกิ าร และอุปกรณท์ างการแพทยท์ เ่ี ก่ียวขอ้ งเพียงพอ ทัง้ การกู้ชพี ฉกุ เฉิน ณ จดุ เกดิ เหตุ และระบบการส่งตอ่ ยงั โรงพยาบาลใกลเ้ คียง แผนภูมิห่วงโช่ของการกู้ชีพเบื้องต้น (Scenario of Basic Life Saving) ของสถาบันการ แพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาติ (สพฉ.) แสดงไว้ดงั นี้ 28 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

การช่วยชีวิตฉุกเฉิน เมือ่ พบเห็นคนหัวใจหยุตเตน 1 ปลกุ เร�ยก หร�อหยุดหายใจกระทนั หนั 2 โดยใชม ือทง้ั 2 ขาง จบั บรเ� วณไหล เขยา ขอความชว ยเหลอื 3 พรอ มเร�ยกเสยี งดังๆ โทร 1669 4 ตรวจดวู า ผูปว ย พรอ มนำเคร�่อง AED มา 5 หายใจไดห ร�อไม หากไมหายใจ/ไมรูส ึกตวั วางสนั มือตรงกงึ่ กลาง AED 6 หร�อหมดสติ กระดกู หนาอก ใหก ดหัวใจ จดั ใหผ ูป วยนอนหงาย ลกึ 2 น้ิว ดว ยอัตราเรว็ AเมEื่อDเคมรา�่อถงงึ เปด 100 ครงั้ ตอนาที (CPR) 7 เครอ่� ง วางแผน Pad แผน หนง่ึ 8 หากผปู ว ยต่ืนหร�อรสู ึกตวั ท่ชี ายโครงดา นซาย และอกี แผน ใหพ ลิกตะแคงตัว ท่ตี ่ำกวา ไหปลาราดานขวา ตามภาพตวั อยา ง หยดุ ทำการนวดหัวใจ (CPR) หามสมั ผสั ผปู ว ยขณะเครอ�่ ง หากบร�เวณหนา อก มคี วามช้น� ใหเชด็ จนแหง ทำการวเ� คราะห หากมีวตั ถนุ ำไฟฟา เชน สรอยคอ ทำ CPR ตอเนอ่ื ง ใหถอดออก ตามคำแนะนำของ เคร่อ� ง AED จนกวา กดปุมช็อค (Shock) ไฟฟา ตามคำแนะนำของเคร�่อง AED ทมี กชู �พจะมาถงึ หา มสัมผัสผปู ว ยอยางเด็ดขาด หากผปู ว ยรสู กึ ตัว 9 สงตอ ผูป ว ยใหกบั ทมี กชู �พช้นั สงู ใหพ ลิกตะแคงตัว 10 เพอื่ นำสงรกั ษาตอ ท่โี รงพยาบาล ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนน 29

ในปัจจุบันมีองค์กรธุรกิจหลายแห่งที่รับฝึกอบรมการปฏิบัติการกู้ชีพฉุกเฉิน ผู้จัดการแข่งขัน สามารถติดต่อเพื่อรับบริการฝึกอบรมบุคคลากรได้ (เช่น มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ หรือ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ หรือ สพฉ. เป็นต้น) หรือติดต่อขอรับการ สนับสนุนบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินได้จากโรงพยาบาลต่างๆ หรือหน่วยงาน/องค์กรการกุศลท่ี ท�ำงานด้านการปฏิบัติการฉุกเฉินในพ้ืนท่ีท่ีจัดการแข่งขัน นอกจากนี้ ยังมีองค์กรจิตอาสาบางแห่งท่ี ยินดีให้ความสนับสนุนทั้งบุคลากรและอุปกรณ์ทางการแพทย์ด้วย (เช่น ชมรมจักรยานอาสากู้ชีพ เปน็ ต้น) 30 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

ภาคผนวก 3 เคร่ืองกระตุกหัวใจไฟฟ้า ชนิดอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator: AED) เคร่ือง AED เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบอิเล็กทรอนิกส์พกพา เอกสารของ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ระบุว่า สถิติอัตราการรอดชีวิตของประชาชนมากขึ้นถึง 45 เปอรเ์ ซน็ ต์เมอ่ื ไดใ้ ชเ้ คร่ือง AED ในปัจจุบันสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ได้รณรงค์ให้มีการใช้เครื่อง AED เพ่ือ ช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน สนับสนุนให้หน่วยงานเอกชนติดตั้งเครื่อง AED ในพ้ืนที่แออัด/สาธารณะ เช่นห้างสรรพสินค้า และโรงงานต่างๆ การใช้งานท่ีแพร่หลาย อีก ทั้งการแข่งในการจัดจ�ำหน่ายเครื่อง AED ก็มีสูง มีบริษัทผู้ผลิตและตัวแทนจ�ำหน่ายหลายแห่งท�ำให้ ราคาของเครือ่ ง AED ลดต่�ำลงเรอื่ ยๆ จนไม่น่าเปน็ อปุ สรรคต่อการจดั หามาเป็นอปุ กรณ์ส�ำคญั ประจ�ำ สนามแข่งขันวงิ่ ถนน เคร่ือง AED เป็นอุปกรณ์ท่ีประชาชนท่ัวไปสามารถใช้งานได้ หากได้รับการอบรม โดยหลัง จากผู้ใชง้ านกดป่มุ เปดิ สวทิ ชก์ ารท�ำงาน ระบบอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นเครือ่ งจะออกคำ� ส่งั ใหป้ ฏบิ ัตติ ามอยา่ ง ง่ายดาย (บางยีห่ ้อออกคำ� สงั่ เป็นภาษาไทย) โดยทัว่ ไปมขี ้ันตอนดงั นี้ 1. ผู้ท่ีท�ำการช่วยเหลือจะต้องเปิดฝาเครื่อง AED และฉีกซองบรรจุอิเล็กโทรด โดยแผ่นอิเล็ก โทรดจะมีอยู่ 2 ช้นิ 1.1. ชน้ิ แรกจะตอ้ งน�ำไปติดบนทรวงอกตอนบนของผปู้ ่วย 1.2. แผ่นท่ีสองจะต้องตดิ บนผวิ ทรวงอกตอนลา่ งของผู้ป่วย ข้อปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 31

2. จากนั้นเคร่ือง AED จะท�ำการวิเคราะห์จังหวะการเต้นของหัวใจ ซึ่งขณะน้ีห้ามผู้ท่ีช่วย เหลือสมั ผสั ตวั ผูป้ ว่ ยเดด็ ขาด 3. เมื่อเคร่ืองวินิจฉัยเสร็จแล้วจะข้ึนสัญญาณให้ท�ำการช็อคไฟฟ้า ให้ผู้ช่วยเหลือกดที่ปุ่มช็อค ตามสัญญาณท่ีปรากฏอยู่บนตัวเคร่ือง สลับกับการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพอย่างต่อเนื่อง จนกว่าเจ้าหน้าที่กชู้ พี จะมาถึง 4. การช่วยเหลอื ควรท�ำภายใน 3-5 นาที จะชว่ ยเพมิ่ โอกาสการรอดชีวติ ของผู้ป่วยฉกุ เฉินได้ มากข้ึน ท่านสามารถค้นหาบริษัทตัวแทนจ�ำหน่าย และคลิปสาธิตการใช้เครื่อง AED ได้ทาง อินเตอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น คลิป “การปฐมพยาบาลด้วยเคร่ือง AED (เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าแบบ อตั โนมตั )ิ ” ที่ หรอื https://www.youtube.com/watch?v=_KLzZRpAoEo หรือ สแกนคิวอารด์ โค้ดนี้ 32 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานว่ิง

ภาคผนวก 4 สืบค้น  กติกาการแขง่ ขนั ของสหพันธส์ มาคมกรีฑานานาชาติ (IAAF) สามารถสบื ค้นได้จาก https://www.iaaf.org/about-iaaf/documents/rules-regulations กติกาที่เก่ียวข้องกับการวิง่ ถนน  ขอ้ 144 การให้ความช่วยเหลือนักกีฬา  ข้อ 145 การตดั สทิ ธิก์ ารแขง่ ขนั  ขอ้ 165.24 และ 165.25 ระบบจบั เวลา  ขอ้ 240 การว่ิงประเภทถนน  ขอ้ 260 สถติ โิ ลก  ข้อ 261 การแข่งขนั ทม่ี สี ถิตโิ ลก  ข้อกำ� หนดส�ำหรับงานว่งิ ถนนทีไ่ ดร้ บั ป้ายรบั รอง (Label Road Races) สามารถสืบค้นไดจ้ าก https://media.aws.iaaf.org/competitioninfo/446efa54-7567-429c-9e1b- 5472158c0999.pdf  การวัดระยะทางสำ� หรบั การว่ิงถนน สามารถสบื คน้ ไดจ้ าก https://aims-worldrunning. org/measurement/MeasurementOfRoadRaceCourses.pdf  ผวู้ ัดระยะทางทไ่ี ด้รับการรับรองจาก IAAF/AIMS สามารถสบื คน้ ได้จาก http://aims-worldrunning.org/measurers.html  ค่มู ือการแพทยข์ องสหพนั ธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (IAAF) สามารถสบื ค้นได้จาก http://richwoodstrack.com/physiology/Medical%20Manual%20IAAF%202012.pdf  ขอ้ มลู สมาคมกฬี ากรฑี าแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สามารถสบื คน้ ไดจ้ าก http://www.aat.or.th ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 33

ภาคผนวก 5 องค์กร ท่ีเก่ียวข้อง สำ� นักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) เปน็ หนว่ ยงานของรัฐท่มี ใิ ชส่ ว่ นราชการหรือรฐั วสิ าหกจิ มนี ายก รัฐมนตรีเป็นประธานกองทุน จัดต้ังขนึ้ ตามพระราชบัญญตั ิกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ พ.ศ. 2544 โดยมหี นา้ ที่รเิ รมิ่ ผลกั ดนั กระตนุ้ สนับสนุน และรว่ มกับหนว่ ยงานต่างๆ ในสังคม ในการขบั เคลอื่ นกระบวนการสร้างเสริมสขุ ภาพ เพ่อื ให้คนไทย มีสุขภาพดีครบ 4 ด้าน กาย จิต ปัญญา สังคม และรว่ มสรา้ ง ประเทศไทยใหน้ ่าอยู่ เว็บไซต์ www.thaihealth.or.th สมาคมกฬี ากรฑี าแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ (Athletic Association Of Thailand: AAT) เป็นสมาคมกีฬา ในประเทศไทยทีอ่ ยใู่ นความดูแลของการกีฬาแห่งประเทศไทย เปน็ องคก์ รกฬี าระดบั ชาติส�ำหรับบรหิ ารกฬี ากรีฑาในประเทศไทย และ เป็นสมาชิกของสหพันธ์สมาคมกรฑี านานาชาติ (IAAF) ท่ผี า่ นมา สมาคมกีฬากรีฑาแห่งประเทศไทยฯ มีบทบาทอย่างมากในกีฬาเพือ่ ความเป็นเลศิ ทงั้ ประเภทล่แู ละประเภทลาน เวบ็ ไซต์ www.aat.or.th 34 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง

สมาพันธ์และมูลนธิ สิ มาพนั ธ์ชมรมเดิน-ว่ิงเพอื่ สขุ ภาพไทย เกดิ จากการรวมตัวของชมรมว่ิงต่างๆ และไดร้ บั การสนับสนนุ จาก สสส. เป็นองคก์ รที่ดำ� เนนิ การโดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือรณรงค์สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมีกิจกรรมทางกายท่เี หมาะสมและออกก�ำลังกาย เพื่อสุขภาพเปน็ วถิ ีชวี ติ เร่มิ ด�ำเนนิ การมาตัง้ แต่ปี 2545 มีภาคี เครือข่ายท่วั ทุกภมู ิภาค ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ตอนบน ภาคเหนอื ตอน ล่าง ภาคกลาง ภาคตะวนั ตก ภาคตะวันออก ภาคอิสานตอนบน ภาคอสิ านตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน ภาคใต้ตอนล่าง เฟสบุ๊ค สมาพันธ์ชมรมเดินว่งิ เพ่ือสุขภาพไทย สมาคมการแขง่ ขนั วิ่งมาราธอนและวง่ิ ระยะไกลนานาชาติ (Association of International Marathons and Distance Races: AIMS) เป็นสมาคมเกี่ยวกบั การวิ่งระยะไกล มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ส่งเสรมิ การว่งิ ระยะไกลทว่ั โลก AIMS ทำ� งาน รว่ มกบั IAAF ในทกุ เรอ่ื งทเ่ี กยี่ วกบั การแข่งขันวง่ิ ประเภทถนนใน ระดับนานาชาติ เพอ่ื ม่นั ใจวา่ เส้นทางการแข่งขันจะถูกวัดระยะทาง อยา่ งแมน่ ย�ำ โดยทีจ่ ะต้องถกู วดั โดยผูว้ ัดเสน้ ทางท่ไี ด้รบั การรับรอง จาก AIMS/IAAF นอกจากน้ี ยังแลกเปลี่ยนข้อมลู องคค์ วามรู้ และความเชย่ี วชาญในบรรดาสมาชิกของสมาคม เวบ็ ไซต์ aims-worldrunning.org สหพันธ์สมาคมกรฑี านานาชาติ (International Association of Athletics Federations: IAAF) เป็นองคก์ ร นานาชาติที่ทำ� หน้าท่คี วบคุมดูแลกฬี ากรีฑา ทงั้ ทางด้านการแข่งขัน และความเปน็ มาตรฐานของอุปกรณเ์ พ่ือใหก้ ารทำ� สถิติโลกอย่างเปน็ ทางการมีมาตรฐาน อย่างไรกต็ าม โลกทเ่ี ป็นพลวตั ท�ำให้ IAAF ปรบั ในเชงิ รกุ เพ่ือให้เขา้ ถึงกลมุ่ ชนทีก่ วา้ งขวางขนึ้ จากมมุ มองทว่ี ่า กรีฑาไม่ใชเ่ รือ่ งเกี่ยวกบั สถิตแิ ละสมรรถนะของนักกีฬาท่ีพชิ ติ เหรียญ เท่านั้น แตเ่ ป็นกีฬาส�ำหรับทุกคนและเป็นกีฬาทีม่ วลชนมสี ว่ นร่วม เว็บไซต์ www.iaaf.org ข้อปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน 35

ภาคผนวก 6 คณะทํางานพัฒนาแนวทาง และมาตรฐานการจัดงานวิ่ง 1. นาย ฐิติ ยะกลุ (โตง้ ) 2. นาง บัญจรัตน์ สหุ ฤทด�ำรง (ต)ู๋ 3. ดร. องคอ์ ร รัตนาถถาวร (ป้อม) 4. นาย ภคั พงษ์ ภาคภูมิ (เพชร) 5. นางสาว ปณุ ยนุช หริ ัญอร (ปอนด์) 6. นาย พรี ะ โสภติ นกิ ลุ (แบงค)์ 7. นางสาว สมญั ชา คล้ายเคลอ่ื น (แซม) 8. นาย กัมปนาท เปรมรตั นานนท์ (บอย) 9. นาย สมภพ แจ่มจนั ทร์ (เอก) 36 คณะท�ำงานพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดงานวิ่ง