ประเด็นยุทธศาสตร4ที่ 2 : ส-งเสริมการคา การลงทุน และการท-องเที่ยวเชิงสรางสรรค4 และวัฒนธรรม เปPนมิตรกับสิ่งแวดลอม 1. โครงการก-อสรางถนนลาดยางสายทางหลวง มค 2004 แยก ทล-บานดงใหญ- อ.วาป>ปทุม จังหวัดมหาสารคาม งบประมาณ 5,250,000 บาท ๔๘
๔๙
2. โครงการเปQดประตูมหาสารคาม 150 ป> สู-อาเซียน เพื่อส.งเสริมการลงทุนในจังหวัดมหาสารคาม โดยใชศักยภาพทางกายภาพพื้นที่ตั้งของจังหวัดที่เป น เสนทางเชื่อมต.อเสนทางระเบียงเศรษฐกิจ East-West Economic Corridor (EWEC) และจังหวัดยังมีศักยภาพ พื้นที่เหมาะแก.การปลูกพืชเศรษฐกิจ ไดแก. ขาว ออย และมันสําปะหลัง ซึ่งทําใหจังหวัดมีระบบเศรษฐกิจโดย พึ่งพาการเกษตรกรรมเป นหลัก ดังนั้น เพื่อเป นการเปrดประตูมหาสารคามสู.เวทีอาเซียนใหภูมิภาคอื่นๆ ไดรับรู ศักยภาพของจังหวัดใหสามารถเชื่อมต.อไปยังกลุ.มประเทศ CLMV โดยจังหวัดมีวัตถุประสงค2เพื่อให ผูประกอบการ SME OTOP พ.อคา ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร ไดรับทราบเทคโนโลยีในการผลิต ภาคอุตสาหกรรม การคา การลงทุน สามารถนําขอมูลที่ไปพัฒนาการประกอบธุรกิจใหดียิ่งขึ้น กิจกรรมสําคัญ การจัดงานเริ่มตั้งแต.วันที่ 30 มีนาคม 2559 – วันที่ 3 เมษายน 2559 กิจกรรมสําคัญ ไดแก. การแถลงข.าวประชาสัมพันธ2 การจัดเสวนาทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ จังหวัดมุ.งสู.อาเซียน ทิศทางการผลิตขาวไทย และการแปรรูป กิจกรรมการนําเสนอนวัตกรรมการวิจัยมัน สําปะหลังเพื่อเพิ่มมูลค.าการผลิต การปรับตัวของ SME OTOP พ.อคา ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และการจัดแสดงนิทรรศการ (งานแฟร2) ดานการคา การลงทุน การท.องเที่ยวและการศึกษา กลุ.มเป\\าหมาย หน.วยงานภาครัฐ หน.วยงานทางการศึกษา ผูประกอบการ พ.อคา เขาร.วมแสดง นิทรรศการและจําหน.ายสินคา จํานวน 100 คูหา ผูร.วมงาน ประมาณ 5,000 คน ผลสําเร็จของโครงการ 1. มีผูประกอบกิจการโรงงานผูประกอบการธุรกิจการคา กลุ.มวิสาหกิจชุมชน นักศึกษาประชาชน เชา ร.วมงาน 4 วัน รวมกว.า 5,000 คน 2. ผูประกอบการโรงงาน ผูประกอบการ OTOP SMEs เกษตรกรและประชาชนเขาร.วมสัมมนามากกว.า 900 คน 3. กลุ.มเป\\าหมายไดรับทราบเทคโนโลยี นวัตกรรม เครื่องจักรกลเพื่อการเกษตร การผลิต ต.าง ๆ มากมาย รวมถึงผลงานวิจัยจากสถาบันการศึกษาต.าง ๆ มากมาย ๕๐
ประเด็นยุทธศาสตร4ที่ 3 : ส-งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสู-การเปPนศูนย4กลางบริการ ทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในดานการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษายังต่ํา เป นปeญหาทําใหผูจบการศึกษามีความรูและ ทักษะไม.สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ส.งผลต.อปeญหาการว.างงาน ดังนั้น จึงมีความจําเป นที่ จะตองแกไขปeญหาการศึกษาของจังหวัดอย.างเป นระบบ โดยเพิ่มการศึกษานอกระบบโรงเรียนใหมากขึ้น และ เนนการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาเพื่อเพิ่มความรูและทักษะของนิสิตนักศึกษา และพัฒนาครูใหมีคุณภาพ มากขึ้น แนวทางแกปKญหา คือ จัดใหมีการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย.าง ทั่วถึง เท.าเทียม และมีคุณภาพ พัฒนาครูใหเป นมืออาชีพตลอดจนใหเด็กและเยาวชนทั้งหมดสามารถอ.าน ออก เขียนได และเรียนจบแลวมีงานทํา ในขณะที่ตัวชี้วัดระดับการศึกษามีเป\\าประสงค2เพื่อการบูรณาการ ส.งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ ส.งเสริมการศึกษาวิจัย และพัฒนาองค2ความรูเพื่อ บริการทางวิชาการสู.ชุมชน และสรางเครือข.าย/ความร.วมมือทางการศึกษาและวัฒนธรรม ทั้งในและ ต.างประเทศ สถาบันการศึกษาในจังหวัด จําเป นจะตองพัฒนาและส.งเสริมหลักสูตรภาษาต.างประเทศเพื่อรองรับ การเขาสู. AEC ซึ่งมีตัวแปรที่สําคัญ คือ นิสิตนักศึกษาที่ตองการเรียนภาษาต.างประเทศเพิ่มขึ้นในแต.ละปR และ อาจารย2ที่มีความพรอมและมีคุณภาพที่สามารถสอนนิสิต ใหมีคุณภาพ รวมทั้งหลักสูตรที่ผ.านการรับรองจาก ประเทศในกลุ.มอาเซียน ดังนั้น สามารถเขียนสมการ คือ Y (การเรียนและการสอนที่เขาสู.หลักสูตร ภาษาต.างประเทศ = (X1)จํานวนนักศึกษาที่มีความพรอม + (X2) จํานวนอาจารย2ที่มีความพรอม + (X3) จํานวนหลักสูตรที่เรียนภาษาต.างประเทศ แผนภูมิแสดงความสัมพันธ;ของจํานวนอาจารย;ตอความพรอมของนักศึกษาที่ เขาสู การรับรอง AEC ระหวาง ป@ 2550 - 2556 จํานวนอาจารย์ 2,500 2,346 2,029 2,275 2,236 2,000 1,686 1,819 1,801 1,500 y = 110.9x + 1583. R² = 0.825 1,000 500 0 2550 จํานวนอาจารย? 2552 2553 เชิงเส'น (จํานวนอาจารย?) 2556 2551 2554 2555 แผนภูมิแสดงความสัมพันธ;ของจํานวนอาจารย;ตอความพรอมของนักศึกษาที่ เขาสูการรับรอง AEC ระหวาง ป@ 2550 - 2556 จํานวนนักศึกษา 90,000 80,000 76,498 77,236 80,800 70,000 60,000 58,847 50,000 51,267 55,742 61,688 40,000 y = 5219x + 45135 R² = 0.899 30,000 20,000 ๕๑ 10,000 0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 จํานวนนักศึกษา เชิงเส'น (จํานวนนักศึกษา)
จากปริมาณขอมูลที่มีอยู. ทําใหกําหนดสมการความสัมพันธ2ของขอมูล จํานวนอาจารย2และสมการ การเรียนการสอนที่เขาสู.หลักสูตรภาษาต.างประเทศ เป นการอธิบายแนวโนมการเปลี่ยนแปลงตามกัน ระหว.างจํานวนอาจารย2ที่เพิ่มขึ้น และนักศึกษาที่ที่เพิ่มขึ้น ที่มีแนวโนมแปรผันกัน โดยสมการจํานวนอาจารย2 ที่เพิ่มขึ้น Y = 110.9X + 1583 มีค.าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค.าเป นบวก 111 สามารถสรุปไดว.า จํานวน อาจารย2มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปRละ 111 คน ในขณะที่สมการจํานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น Y = 5,219X + 45,135 มีค.าสัมประสิทธิ์ของสมการมีค.าเป นบวก 5,219 สามารถสรุปไดว.า จํานวนนักศึกษามีแนวโนม เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปRละ 5,219 คน ซึ่งเป นไปในทิศทางเดียวกันกับจํานวนอาจารย2 ดังนั้น แนวโนมที่จะพัฒนา นักศึกษาเพื่อเขาสู.หลักสูตรภาษาต.างประเทศสามารถที่จะทําได เพื่อคุณภาพของนักศึกษาที่จบ และสามารถ เขาสู.ตลาดแรงงานของกลุ.มอาเซียน ยกตัวอย-างโครงการที่ดําเนินการในป>ที่ผ-านมา ไดแก. ชื่อโครงการ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน (การสอบ O-NET) ชั้นประถมศึกษาปRที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปRที่ 6 และ ชั้นมัธยมศึกษาปRที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1, 2, 3 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 และสังกัดการปกครองส.วนทองถิ่น ระยะเวลาดําเนินการ มกราคม 2559 - กันยายน 2559 1. หลักการและเหตุผล ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน( O - NET) ปRการศึกษา 2556 โรงเรียนใน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของจังหวัดมหาสารคาม พบว.า ผลสัมฤทธิ์ชั้นประถมศึกษาปRที่ 3 ชั้น ประถมศึกษาปRที่ 6 และ ชั้นมัธยมศึกษาปRที่ 3 ค.าเฉลี่ยต่ํากว.าระดับประเทศ และไม.เป นไปตามเป\\าหมายที่ กําหนดการหาแนวทางและวิธีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสูงขึ้น ประกอบกับสถานการณ2ในปeจจุบัน ปeญหาคุณภาพการจัดการศึกษา ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม.เป นไปตามเป\\าหมาย และมีแนวโนมต่ําลง การเตรียมนักเรียนใหมีความพรอมในการสอบระดับชาติ O – NET เพื่อเร.งระดมทรัพยากร สรางบรรยากาศ และกระตุนใหเกิดความตระหนักโดยมุ.งใหครูผูบริหาร นําไปสู.การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น 2. วัตถุประสงค2ของโครงการ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้นอย.างนอยรอยละ 3 3. วิธีดําเนินการแนวทางการดําเนินงาน 3.1 สัมมนาทางวิชาการเพื่อพัฒนาผูบริหารโรงเรียน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ครูชั้นประถมศึกษาปRที่ 3 ครูผูสอน 5 กลุ.มสาระการเรียนรู ไดแก. ภาษาไทย คณิตศาสตร2 วิทยาศาสตร2 สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ ทุกเขตพื้นที่การศึกษา 3.2 จัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนดานวิชาการเพื่อยกระดับคะแนนเฉลี่ยดานการอ.าน การคิด คํานวณ และการมีเหตุผล และผลการสอบ O-NET นักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปRที่ 3 ชั้นประถมศึกษา ปRที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปRที่ 3 โดยจัดสรรงบประมาณใหแต.ละเขตพื้นที่ตามศูนย2พัฒนาคุณภาพการศึกษา ของแต.ละเขตพื้นที่การศึกษา ในแต.ละสังกัด 3.3 พัฒนาการอ.าน การคิดคํานวณ และการมีเหตุผล นักเรียนชั้นประถมศึกษาปRที่ 3 3.4 พัฒนาเครื่องมือนิเทศ ติดตามและประเมินผลนักเรียนดานวิชาการ และพัฒนา แบบทดสอบวัดดานการอ.าน การคิดคํานวณ และการมีเหตุผล พรอมทั้งจัดทําขอสอบกลาง ๕๒
4. กลุ.มเป\\าหมาย 4.1 ผูบริหารโรงเรียน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และกลุ.มครูผูสอนสาระ การเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร2 วิทยาศาสตร2 สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ ทุกโรงเรียน 4.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปRที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปRที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปRที่ 3 5 ระยะเวลาดําเนินโครงการ 1 ปR เริ่มตั้งแต. เดือน มกราคม 2559 ถึง เดือนกันยายน 2559 6. งบประมาณดําเนินการ 3,000, 000 บาท 7. ผลสําเร็จการดําเนินงาน โดยวัดจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-net ในเบื้องตน จากขอมูลว.าในปR 2558 ผลคะแนนสอบของเด็กนักเรียนมีมาตรฐานใกลเคียงเมื่อ เปรียบเทียบกับระดับประเทศ ดังนี้ ผลการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-net) จังหวัดมหาสารคาม ปRการศึกษา 2558 คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ระดับชั้น คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (โดยรวม) (โดยรวม) ชั้นประถมศึกษาปRที่ 6 44.98 43.02 ชั้นมัธยมศึกษาปRที่ 3 37.91 37.13 ชั้นมัธยมศึกษาปRที่ 6 34.81 32.76 ภาพประกอบกิจกรรมโครงการ ๕๓
ประเด็นยุทธศาสตร4ที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สู-สังคมรูรักสามัคคี เทิดทูนสถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท4 1. โครงการมหาสารคามนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาคุณภาพในชุมชน 2. สาระสําคัญ การพัฒนาหมู.บานตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยกําหนดเกณฑ2ชี้วัดหมู.บาน เศรษฐกิจพอเพียง 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด เพื่อจัดระดับหมู.บานเศรษฐกิจพอเพียงเป น 3 ระดับ คือ ระดับพออยู. พอกิน ระดับอยู.ดีกินดี และระดับมั่งมีศรีสุข จังหวัดมหาสาคาม จึงไดกําหนดดําเนินโครงการมหาสารคาม นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาคุณภาพในชุมชนขึ้น เพื่อใหเป นหมู.บานตนแบบ ที่สามารถเป น แหล.งเรียนรูและศึกษาดูงาน เพื่อขยายผลสู.หมู.บานอื่นต.อไป หมู-บานเป3าหมาย ป> 2559 โดย 1) ฝ
กอบรมสรางแกนนําหมู.บานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบปR 2559 จํานวน 1 รุ.น 80 คน (แกนนําชุมชน หมู.บานละ 5 คน,จนท.พช.อําเภอละ 1 คน และ จนท.พช.จ. 2 คน) ดําเนินการ 3 วัน 2) ฝ
กอบรมสรางความรูความเขาใจประชาชน/ครัวเรือนเขาร.วมโครงการฯ จํานวน 13 หมู.บานหมู.บาน ละ 50 คน รวม 650 คน (อําเภอละ 1 หมู.บาน) ดําเนินการ 3 วัน/รุ.น และ 3) สนับสนุนปeจจัยการผลิต/ขับเคลื่อนกิจกรรม หมู.บานเศรษฐกิจพอเพียง ปR 2559 หมู-บานเป3าหมาย ป> 2558 1) รักษามาตรฐานหมู.บานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ปR 2558 โดยขยายผลการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 13 หมู.บาน ๆ ละ 30 คน รวม 390 คน (อําเภอละ 1 หมู.บาน) ดําเนินการ 1 วัน/รุ.น และการสรางเครือข.ายการเรียนรูหมู.บานเศรษฐกิจพอเพียง ปR 2558-2559 พรอมทั้ง การเชิดชูเกียรติ (ประกวดหมู.บานเศรษฐกิจพอเพียงดีเด.น) 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ผลการดําเนินงาน หมู.บานเป\\าหมาย ปR 2559 พบว.า 1) มีการฝ
กอบรมสรางแกนนํา หมู.บานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบปR 2559 2) ฝ
กอบรมสรางความรูความเขาใจประชาชน/ครัวเรือนเขาร.วม โครงการฯจํานวน 13 หมู.บาน ในพื้นที่ 13 อําเภอ ดําเนินการระหว.างวันที่ 20 พฤศจิกายน – 30 ธันวาคม 2559 และการ 3) สนับสนุนปeจจัยการผลิต/ขับเคลื่อนกิจกรรม หมู.บานเศรษฐกิจพอเพียง ปR 2559 จํานวน 13 หมู.บาน ในพื้นที่ 13 อําเภอของจังหวัดมหาสารคาม หมู-บานเป3าหมาย ป> 2558 ผลการดําเนินงานพบว.า 1) รักษามาตรฐานหมู.บาน เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ปR 2558 2) ขยายผลการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 13 หมู.บานในพื้นที่ 13 อําเภอของจังหวัดมหาสารคาม 3) สนับสนุนปeจจัยการผลิต/ขับเคลื่อนกิจกรรมปR 2558 และ 4) สรางเครือข.ายการเรียนรูหมู.บานเศรษฐกิจพอเพียง ปR 2558-2559 ดําเนินการวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2558 ณ โรงแรมวสุ อําเภอเมืองมหาสารคาม - ติดตามและประเมินผล จํานวน 26 หมู.บานในพื้นที่ 13 อําเภอของจังหวัดมหาสารคาม ๕๔
บทที่ 3 การวิเคราะหสภาวการณและศักยภาพ จังหวัดมหาสารคาม ในบทนี้เปนการวิเคราะหสภาวการณและศักยภาพของจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดได$จําแนก องคประกอบไว$จํานวน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 วิเคราะหความต$องการและศักยภาพของประชาชนในท$องถิ่น ตอนที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ตอนที่ 3 การวิเคราะหสภาวะแวดล$อมจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดตั้งอยู/บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 5,291.683 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,307,301.875 ไร/ หรือตั้งอยู/ในกลุ/มร$อยแก/นสารสินธุ (กลุ/มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง) ประกอบด$วย จังหวัดร$อยเอ็ด จังหวัดขอนแก/น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ จังหวัดมีอาณาเขต ติดต/อกับจังหวัดใกล$เคียง ได$แก/ ทางทิศเหนือติดต/อกับจังหวัดขอนแก/น และจังหวัดกาฬสินธุ ทิศใต$ติดต/อกับ จังหวัดสุรินทรและจังหวัดบุรีรัมย ทิศตะวันออกติดต/อกับจังหวัดกาฬสินธุ และจังหวัดร$อยเอ็ด ทิศตะวันตก ติดต/อกับจังหวัดขอนแก/นและจังหวัดบุรีรัมย มีลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดมีสภาพพื้นที่ทั่วไปค/อนข$างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความสูงจาก ระดับน้ําทะเล ประมาณ 130 - 230 เมตร ด$านทิศตะวันตกและทิศเหนือเปนที่สูงในเขตอําเภอโกสุมพิสัย อําเภอเชียงยืน และอําเภอกันทรวิชัย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของจังหวัด และลาดเทมาทางทิศ ตะวันออกและทิศใต$ แบ/งเขตปกครอง ออกเปนอําเภอ 13 อําเภอ องคการบริหารส/วนตําบล 124 แห/ง เทศบาล 18 แห/ง และหมู/บ$าน 1,944 หมู/บ$าน รายละเอียดตามภาพแผนที่จังหวัดและอาเขตจังหวัด ภาพที่ 2 ภาพที่ 1 แสดงอาณาเขตพื้นที่ติดต/อใกล$เคียงจังหวัดมหาสารคาม ๕๓
ตอนที่ 1 วิเคราะหความต\"องการและศักยภาพของประชาชนในท\"องถิ่น จากภาพแผนที่อาณาเขตติดต/อทางกายภาพของจังหวัดมหาสารคาม พบว/า จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ทําการเกษตรกรรมประมาณ 2.6 ล$านไร/ คิดเปนร$อยละ 78.79 ของพื้นที่จังหวัด (3.3 ล$านไร/) ปEญหาคือ จังหวัดยังขาดระบบชลประทานเพื่อส/งเสริมการเพาะปลูกเปนอย/างมาก เห็นได$ว/า จังหวัดมีพื้นที่ การเพาะปลูกพืชในระบบชลประทานเพียงร$อยละ 20 แต/มีพื้นที่เพาะปลูกพืชนอกเขตระบบชลประทานมาก ถึงร$อยละ 80 ประกอบกับจังหวัดได$ประสบปEญหาฝนทิ้งช/วงเกิดภัยแล$งแผ/วงกว$างเกือบทั้ง 13 อําเภอ ในขณะเดียวกันจังหวัดมีพื้นที่ปลูกข$าวที่ไม/เหมาะสมถึงจํานวน 793,095 ไร/ แต/มีพื้นที่ปลูกข$าวที่เหมาะ เพียงจํานวน 1,385,902 ไร/ ดังนั้น จังหวัดจึงมีนโยบายที่จะเร/งสนับสนุนและส/งเสริมการปลูกพืชใช$น้ํา น$อย เช/น อ$อยโรงงาน พืชอื่น การปศุสัตว โดยเฉพาะ การเลี้ยงโคเนื้อ และการเลี้ยง ไก/งวง เปนต$น สรุปได$ว/า แนวทางการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม นอกจากจะเน$นนโยบายการพัฒนาให$เชื่อมโยง สอดคล$องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห/งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนยุทธศาสตรชาติ 20 ปJ (พ.ศ. 2560 – 2579) นโยบายไทยแลนด 4.0 จะพัฒนาให$เกิดผลจริงต$องมีการพัฒนาวิทยาการ ความคิดสร$างสรรค นวัตกรรม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา โดยที่จังหวัดได$เน$นการพัฒนา ตามศักยภาพและความต$องการของพื้นที่ซึ่งเน$นด$านอาหาร การเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ ให$สอดคล$องกับ แนวทางการพัฒนาประเทศเพื่อให$พ$นจากกับดักความยากจน จากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับปEญหาและความต$องการ ประกอบการจัดทํา แผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคามนั้น จากประชากรเพศชายร$อยละ 72.4 หญิงร$อยละ 27.6 ส/วนใหญ/มีช/วง อายุ 50 - 59 ปJ ร$อยละ 48.0 รองลงมา คือ ช/วงอายุ 40 - 49 ปJ ร$อยละ 37.0 ช/วงอายุ 30 - 39 ปJ ร$อยละ 9.4 อายุ 60 ปJขึ้นไป ร$อยละ 3.0 ช/วงอายุ 20 - 29 ปJ ร$อยละ 2.2 และอายุต่ํากว/า 20 ปJ ร$อย ละ 0.4 สําหรับระดับการศึกษาสูงสุดของผู$ตอบแบบสัมภาษณ พบว/า ส/วนใหญ/ผู$ตอบสัมภาษณสําเร็จ การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร$อยละ 39.2 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต$น ร$อยละ 19.8 ระดับประถมศึกษา ร$อยละ 16.0 ระดับปริญญาตรี ร$อยละ 11.4 ระดับ ปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญา ร$อยละ 11.3 และระดับสูงกว/าปริญญาตรี ร$อยละ 2.3 ส/วนสถานภาพของผู$ตอบสัมภาษณ พบว/า ส/วนใหญ/เปนคณะกรรมการหมู/บ$าน ร$อยละ 74.9 รองลงมา คือ ผู$ประกอบการ/SME ร$อยละ 18.3 สถานภาพอื่นๆ ได$แก/ ข$าราชการ อาชีพอิสระร$อยละ 6.2 และองคกรธุรกิจเอกชน ร$อยละ 0.6 ตารางที่ 13 ร$อยละของผู$ตอบสัมภาษณ จําแนกตามลักษณะทางประชากรและสังคม ลักษณะประชากรและสังคม ร$อยละ เพศ 100.0 ● ชาย 72.4 ● หญิง 27.6 อายุ 100.0 ● ต่ํากว/า 20 ปJ 0.4 ● 20 – 29 ปJ 2.2 ๕๔
ลักษณะประชากรและสังคม ร$อยละ ● 30 – 39 ปJ 9.4 ● 40 – 49 ปJ 37.0 ● 50 – 59 ปJ 48.0 ● 60 ปJ ขึ้นไป 3.0 ระดับการศึกษาสูงสุด 100.0 ● ประถมศึกษา 16.0 ● มัธยมศึกษาตอนต$น 19.8 ● มัธยมศึกษาตอนปลาย 39.2 ● ปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญา 11.3 ● ปริญญาตรี 11.4 ● สูงกว/าปริญญาตรี 2.3 ตารางที่ 14 ร$อยละของผู$ตอบสัมภาษณ จําแนกตามลักษณะทางประชากรและสังคม (ต/อ) ลักษณะประชากรและสังคม ร$อยละ สถานภาพ 100.0 ● ผู$ประกอบการ/SME 18.3 ● คณะกรรมการหมู/บ$าน 74.9 ● องคกรธุรกิจเอกชน 0.6 ● อื่นๆ ได$แก/ ข$าราชการ และอาชีพอิสระ 6.2 ผลจากการสํารวจและวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่เพื่อแก$ไขปEญหาความเดือดร$อนใน พื้นที่ทั้ง 13 อําเภอ โดยรวม พบว/า ประชาชนยังต$องการให$ภาครัฐแก$ไขปEญหาที่สําคัญด$านต/าง ๆ ดังนี้ 1. ด\"านอุตสาหกรรม จากข$อมูลของสภาอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว/า อุตสาหกรรมที่น/าลงทุนใน จังหวัดมหาสารคาม คือ อุตสาหกรรมการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากมีผลผลิตทางการเกษตร เช/น อ$อย มันสําปะหลัง ข$าว เปนจํานวนมากและเพียงพอต/อการขยายตัวของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข$อง และ อุตสาหกรรมใช$แรงงานกึ่งฝJมือ เนื่องจากมีปEจจัยเอื้อต/อการลงทุน เช/น มีโครงสร$างสาธารณูปโภคพอเพียง ด$านอุตสาหกรรมของจังหวัด เราพบว/า สถิติข$อมูลสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ได$รับอนุญาต ให$ประกอบกิจการ (สะสม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จํานวน 442 แห/ง เพิ่มขึ้นจากเดิม 9 แห/ง มีจํานวนเงินทุนรวมทั้งสิ้น 11,255,856,285 บาท สําหรับประเภทสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่มีมาก ที่สุดคือ อุตสาหกรรมอโลหะ มี 81 แห/ง รองลงมาคือ อุตสาหกรรมไม$และผลิตภัณฑจากไม$ มี 53 แห/ง ๕๕
สถานประกอบการอุตสาหกรรม ที่มีเงินทุนจดทะเบียนมากที่สุดคือ อาหาร มีเงินทุน 3,352.96 ล$านบาท รองลงมาคือ การเกษตร มีเงินทุน 2,362.57 ล$านบาท ดังนั้น จากทิศทางการพัฒนาประเทศภายใต$ระบบการค$าเสรี ภาคการผลิตเพื่อการค$ามีการ แข/งขันกันสูงและมีแนวโน$มที่จะรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการพัฒนาขีดความสามารถให$ผู$ประกอบการและ บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมมีศักยภาพและมีความพร$อมที่จะแข/งขันในเวทีการค$าระดับประเทศได$ จําเปนที่ ภาครัฐจะต$องเข$าไปส/งเสริมและสนับสนุนอย/างจริงจัง เพื่อให$เกิดการพัฒนาสินค$าและบริการที่มีคุณภาพ ซึ่งจะเปนการสร$างมูลค/าเพิ่มให$กับสินค$าและบริการ จากการสํารวจความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ต$องการให$มีการจัดทําแผนแม/บท พัฒนาภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม การรวมกลุ/มผู$ประกอบการในรูปแบบ Cluster และส/งเสริมและพัฒนาเขต ประกอบการอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังต$องการให$มีการส/งเสริมและพัฒนาด$านเกษตรอุตสาหกรรม อาทิข$าว มันสําปะหลัง อ$อย โคเนื้อ และสินค$าเด/นในตัวจังหวัด อาทิ เสื่อกก เฟอรนิเจอรหวาย ปลาร$าบอง รวมทั้งยังต$องการให$เพิ่มปริมาณผลผลิตให$เพียงพอต/อการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม และเพิ่มการศึกษา งานวิจัยในอุตสาหกรรมสะอาด เพื่อพัฒนาสินค$าให$มีคุณภาพเปนที่ต$องการของตลาดแข/งขัน 2. ด\"านเกษตรกรรม เนื่องจากจังหวัดมหาสารคามมีแหล/งน้ําต$นทุนสายหลัก คือ แม/น้ําชี แต/การบริหารจัดการ ใช$แม/น้ําชี ยังไม/มีประสิทธิภาพมากพอ ประกอบกับสภาพดินมีความสามารถในการอุ$มน้ําต่ํา ขาดความอุดม สมบูรณ และระบบชลประทานไม/ทั่วถึง นั่นคือ พื้นที่ศักยภาพปลูกข$าว 2,114,524 ไร/ คิดเปนร$อยละ 75.01 ของเนื้อที่ถือครองทางการเกษตร และคิดเปนร$อยละ 63.94 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น แยกเปน 1. พื้นที่เหมาะสมมากถึงปานกลาง 1,443,089 ไร/ คิดเปนร$อยละ 51.20 ของเนื้อที่ถือครอง การเกษตร และคิดเปนร$อยละ 43.63 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น 2. พื้นที่ความเหมาะสมน$อยถึงไม/เหมาะสม 671,435 ไร/ คิดเปนร$อยละ 23.81 ของเนื้อที่ ถือครองการเกษตร และคิดเปนร$อยละ 20.30 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น 3. อําเภอที่มีความเหมาะสมในการปลูกมากที่สุด (เหมาะสมมากถึงปานกลาง) คือ อําเภอโกสุม พิสัย 261,682 ไร/ รองลงมาคือ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย 225,257 ไร/ และอําเภอวาปJปทุม 210,234 ไร/ จากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับระดับความรุนแรงของประเด็นปEญหาด$าน การเกษตรนั้น ระบุว/า ปEญหาที่เปนประเด็นสําคัญ คือ ปEญหาแหล/งน้ําเพื่อการเกษตรมีความรุนแรงของ ปEญหาอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 62.8 รองลงมา คือ ปEญหาภัยธรรมชาติ มีความรุนแรงอยู/ใน ระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 53.4 ปEญหาการเพิ่มมูลค/าให$กับสินค$าทางการเกษตรมีความรุนแรงอยู/ใน ระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 53.2 ปEญหาตลาดรองรับสินค$าเกษตร มีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมาก ที่สุด ร$อยละ 48.6 ปEญหาการขนส/งสินค$าเกษตรมีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 34.5 ตารางที่ 15 ร$อยละของระดับความรุนแรงของปEญหาด$านการเกษตร ระดับความรุนแรงของปEญหา ไม/มี ไม/ ประเด็นปEญหา รวม มาก ปาน น$อย ปEญหา มาก น$อย ตอบ ที่สุด กลาง ที่สุด ปEญหาด$านการเกษตร 1. ปEญหาแหล/งน้ําเพื่อการเกษตร 100.0 7.0 41.1 21.7 16.9 2.9 2.0 8.4 ๕๖
ระดับความรุนแรงของปEญหา ไม/มี ไม/ ประเด็นปEญหา รวม มาก ปาน น$อย ปEญหา มาก น$อย ตอบ ที่สุด กลาง ที่สุด 2. ปEญหาภัยธรรมชาติ 100.0 6.2 26.1 27.3 26.8 2.8 2.3 8.5 (ภัยแล$ง น้ําท/วม ฯลฯ) 3. ปEญหาตลาดรองรับสินค$าเกษตร 100.0 10.4 22.0 26.6 26.8 4.7 0.9 8.6 4. ปEญหาการขนส/งสินค$าเกษตร 100.0 12.7 12.8 21.7 35.4 7.5 1.3 8.6 5. ปEญหาการเพิ่มมูลค/าให$กับ สินค$าทางการเกษตร 100.0 10.4 22.9 30.3 21.6 4.2 1.3 9.3 สําหรับประเด็นปEญหาด$านการเกษตร พบว/า มีความรุนแรงอยู/ในระดับน$อยถึงน$อยที่สุดนั้นซึ่งกลุ/ม ตัวอย/างได$แสดงความคิดเห็นหรือเหตุผลดังตารางที่ 16 ตารางที่ 16 ความคิดเห็นหรือเหตุผลของปEญหาด$านการเกษตรที่มีระดับความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด ประเด็นปEญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร$อยละ ด$านการเกษตร 1. ปEญหาแหล/งน้ําเพื่อการเกษตร รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 38.1 แสดงความคิดเห็น 61.9 - มีแหล/งน้ําหลายแห/ง 61.9 2. ปEญหาภัยธรรมชาติ (ภัยแล$ง รวม 100.0 น้ําท/วม ฯลฯ) ไม/แสดงความคิดเห็น 43.2 แสดงความคิดเห็น 56.8 - สามารถแก$ปEญหาได$ เนื่องจากเปนภัยที่ไม/รุนแรง 56.8 3. ปEญหาตลาดรองรับสินค$า รวม 100.0 เกษตร ไม/แสดงความคิดเห็น 83.3 แสดงความคิดเห็น 16.7 - มีแหล/งรองรับสินค$าที่แน/นอน 16.7 4. ปEญหาการขนส/งสินค$าเกษตร รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 77.3 แสดงความคิดเห็น 22.7 - มีรถส/งสินค$าของตนเอง 6.7 - มีหน/วยงานรัฐเข$ามาช/วยเหลือการคมนาคมสะดวก 16.0 ๕๗
ประเด็นปEญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร$อยละ 5. ปEญหาการเพิ่มมูลค/าให$กับ รวม 100.0 สินค$าทางการเกษตร ไม/แสดงความคิดเห็น 74.4 แสดงความคิดเห็น 25.6 - ราคาผลผลิตดี แต/ผลผลิตทางการเกษตรไม/ดี 12.8 - มีหน/วยงานรัฐเข$ามาช/วยเหลือ 12.8 หมายเหตุ : เฉพาะผู$ที่ระบุว/าปEญหามีระดับความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด สําหรับการเกษตรกรรมในจังหวัดได$วิเคราะหปEญหาและความต$องการโดยจําแนกประเภทออก ได$ ดังนี้ ด\"านการปลูกพืช จังหวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 3,307,301.875 ไร/ และจากสถิติเมื่อปJ พ.ศ. 2556 จังหวัดมีพื้นที่ทํา การเกษตรเท/ากับ 2,922,263 ไร/ คิดเปนร$อยละ 88.36 ของพื้นที่จังหวัด โดยมีพืชเศรษฐกิจหลักที่สําคัญ ได$แก/ ข$าวนาปJ อ$อยโรงงาน และมันสําปะหลัง และในรอบปJ 2558 ที่ผ/านมา พบว/า มีพื้นที่ปลูกข$าว จํานวน 2,249,170 ไร/ มีผลผลิต 999,500 ตัน มูลค/า 13,007.39 ล$านบาท มันสําปะหลัง 82,891 ไร/ มีผลผลิต 276,193 ตัน มีมูลค/า 673.91 ล$านบาท และอ$อยโรงงาน 182,315 ไร/ มีผลผลิต 2,352,957 ตัน มูลค/า 2,235.31 ล$านบาท จังหวัดได$พัฒนาคุณภาพและผลผลิตข$าวหอมมะลิจังหวัดด$วยระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดี และเหมาะสมหรือระบบ GAP และเกษตรอินทรีย เพื่อยกระดับขีดความสามารถด$านการแข/งขันด$าน การตลาด รองรับการเชื่อมโยงเข$าสู/ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและเพิ่มช/องทางด$านการตลาดข$าวหอมมะลิ ของจังหวัดภายในประเทศ เพื่อให$เกิดประโยชนสูงสุดทั้งผู$ผลิต และผู$ประกอบการทั้งด$านผลผลิต ปริมาณ คุณภาพ และราคาที่เหมาะสม ซึ่งในปJ 2557 มีพื้นที่ปลูกข$าวในระบบ GAP จํานวน 12,000 ไร/ ปJ 2558 จํานวน 5,000 ไร/ และปJ 2559 มีการปลูกข$าวอินทรียจํานวน 5,000 ไร/ ช/วงที่ผ/านมาภาคการเกษตรประสบกับปEญหาของการขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูกเพราะการ เกษตรกรรมถึงร$อยละ 80 ต$องอาศัยน้ําฝน ดินขาดความอุดมสมบูรณ ขาดแคลนเมล็ดพันธุพืชที่มีคุณภาพ รวมถึงการใช$เทคโนโลยีการผลิตที่ไม/ถูกต$องและเหมาะสม ส/งผลให$ผลผลิตเฉลี่ยต/อไร/ยังอยู/ในเกณฑต่ํา และกิจกรรมต/อเนื่องจากการผลิตทางเกษตรยังไม/ได$รับการส/งเสริมและพัฒนาเท/าที่ควร พื้นที่ของจังหวัดมีศักยภาพทางการผลิต โดยเฉพาะการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ ประกอบกับนโยบายของรัฐบาล ที่ส/งเสริมการพัฒนาเกษตรอินทรีย เปนโอกาสให$ภาคการเกษตรปรับเปลี่ยน ระบบการผลิตจากการพึ่งพาการใช$ปุ`ยเคมีมาเปนการพึ่งพาตนเองโดยใช$วิถีเกษตรธรรมชาติ ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งนอกจากจะก/อให$เกิดความยั่งยืนในการใช$ทรัพยากรทางการเกษตรแล$ว ยังเปนการผลิต อาหารที่ให$ความปลอดภัยต/อผู$บริโภค และเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อม เพื่อลดปEญหา สภาวะการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกอีกด$วย นอกจากนี้ การส/งเสริมให$มีการแปรรูปสินค$าเกษตรเปนการเพิ่มมูลค/าสินค$าเกษตรและเปน ทางเลือกในการสร$างงาน สร$างอาชีพ สร$างรายได$ของเกษตรกรและประชาชนในพื้นที่ โดยภาครัฐจะต$อง สนับสนุนการถ/ายทอดเทคโนโลยีด$านการแปรรูป การตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ เพื่อให$ เกษตรกรและประชาชนมีความพร$อม สามารถดําเนินการได$ด$วยตนเองและพัฒนาเปนอาชีพที่ยั่งยืน ๕๘
นอกจากนั้นยังส/งเสริมให$เกษตรกรดําเนินนโยบายของรัฐด$านการบริหารจัดการพื้นที่เพาะปลูก ส/งเสริมการให$ เกษตรกรหันมาปลูกพืชที่เหมาะสมตามศักยภาพพื้นที่ ปรับพื้นที่ปลูกข$าวที่ไม/เหมาะสมให$หันมาปลูกพืชอื่น ๆ ทดแทนการปลูกข$าว หรือส/งเสริมให$เกษตรกรดําเนินการส/งเสริมการทําการเกษตรแปลงใหญ/ ผลการวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ยังต$องการให$มีการบูรณาการจัดการ เรื่องน้ําจากแหล/งต$นน้ําหลักแม/น้ําชีเข$าสู/พื้นที่เกษตรกรรม ปรับปรุงและพัฒนาระบบคลองชลประทาน พัฒนาแหล/งน้ําขนาดเล็กให$กระจายครอบคลุมในหลายพื้นที่ ส/งเสริมให$เกษตรกรทําเกษตรอินทรียครบวงจร โดยลด เลิก การใช$สารเคมีทั้งหมด พัฒนาที่ดินและการกําจัดศัตรูพืช และเปนศูนยกลางงานวิจัยและองคความรู$ ภาคเกษตรกรรมในเรื่องข$าว มันสําปะหลัง และอ$อย นอกจากนี้แหล/งผลิตพืชเศรษฐกิจและพืชทดแทนพลังงาน จัดตลาดนัดสินค$าเกษตร สร$างคลองส/งน้ําเพื่อการเกษตรให$ทั่วถึงทุกพื้นที่ รวมถึงการเพิ่ม/ขยาย/ปรับปรุงถนน เพื่อขนส/งผลผลิตทางการเกษตร ด\"านการปศุสัตว จังหวัดได$ขับเคลื่อนให$เกษตรกรหันมาเลี้ยงสัตวเปนอาชีพหลักเพิ่มมากขึ้น เพื่อทดแทนการปลูก ข$าวเพื่อสนองตอบนโยบายของรัฐบาลในการลดการใช$น้ําเพื่อการเกษตร โดยจังหวัดมีสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญ เช/น โคเนื้อ โคนม กระบือ และสุกร โดยมีจํานวนเกษตรกรผู$เลี้ยงเท/ากับ 45,146 ราย มีสัตวที่เลี้ยง จํานวน 207,153 ตัว โดยเฉพาะโคเนื้อมีเกษตรกรที่เลี้ยงถึงจํานวน 31,150 ราย มีโคเนื้อถึงจํานวน 116,440 ตัว อย/างไรก็ตาม ถึงแม$ว/าจะมีความพร$อมในด$านบุคลากรที่ทําหน$าที่ส/งเสริมและพัฒนาระบบการ เลี้ยงโคเนื้อ แต/ยังขาดข$อมูลการศึกษาวิจัยด$านพันธุโคและพืชอาหารสัตวท$องถิ่นที่เหมาะสมกับศักยภาพการ เลี้ยงในระดับฟารมของเกษตรกรที่มีข$อจํากัดแตกต/างกันในแต/ละพื้นที่ นอกจากนี้เกษตรกรผู$เลี้ยงโคเนื้อส/วนใหญ/ ยังไม/มีการรวมกลุ/มและสร$างเครือข/ายเชื่อมโยงระหว/างผู$ผลิต ผู$แปรรูป และผู$จําหน/าย ตลอดจนขาดศูนยรวบรวม ข$อมูลในการติดต/อประสานงานระหว/างกัน และยังมีปEญหาการขาดแคลนลูกโคพันธุดีและราคาอาหารสัตว มีแนวโน$มเพิ่มสูงขึ้นอย/างต/อเนื่อง ผลการวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ยังต$องการให$มีการส/งเสริมการผลิต เนื้อโคอินทรียเชิงพาณิชย การศึกษาวิจัยและสร$างเครือข/ายกับมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจ และการให$ความรู$ด$านอาหารปลอดภัยแก/เด็กๆ ในรูปแบบของมหาสารคาม ดังนั้นหน/วยงานที่เกี่ยวข$องจะต$องเร/ง ดําเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต การปรับปรุงพันธุ และวัตถุดิบอาหารสัตว ในท$องถิ่น ตลอดจนการส/งเสริมให$จังหวัดมหาสารคามเปนแหล/งผลิตอาหารปศุสัตวปลอดภัย เพื่อสร$างความ มั่นคงด$านเกษตรอาหารและคุณภาพชีวิตของประชาชน ด\"านการประมง การประมงส/วนใหญ/เปนการประมงตามแหล/งน้ําธรรมชาติ ตามข$อมูลของสํานักงานประมงจังหวัด มหาสารคามพบว/า มีแหล/งน้ําทั้งหมด 2,150 แห/ง รวมพื้นที่ประมาณ 76,954 ไร/ ขนาดไม/เกิน 10 ไร/ มี 935 แห/ง รวมพื้นที่ประมาณ 3,317 ไร/ ขนาด 10-30 ไร/ มี 737 แห/ง รวมพื้นที่ประมาณ 12,827 ไร/ ขนาด 30-100 ไร/ มี 350 แห/ง รวมพื้นที่ประมาณ 17,222 ไร/ และขนาด 100 ไร/ขึ้นไป มี 101 แห/ง รวมพื้นที่ประมาณ 46,911 ไร/ นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงปลาในสระน้ําเพื่อการเกษตรในไร/นา โดยเฉลี่ยจะมีอยู/ รายละ 1 บ/อ แต/จากสภาพปEญหาความแห$งแล$งที่มีมาอย/างต/อเนื่องและทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกปJ ทําให$แหล/ง น้ําธรรมชาติมีปริมาณน้ําน$อย และไม/สามารถกักเก็บน้ําได$ดีเท/าที่ควร ประกอบกับแหล/งน้ําชลประทานยังไม/ ทั่วถึง โดยมีพื้นที่ชลประทานเพียง 74,085 ไร/ หรือคิดเปนร$อยละ 2.89 ของพื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมด ๕๙
นอกจากนี้ ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสัตวเฉลี่ยอยู/ที่ 75.91 กิโลกรัม/ไร/ ซึ่งถือว/าอยู/ในเกณฑที่ต่ํามากเมื่อเทียบ กับเกณฑขั้นต่ําในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําแบบยังชีพที่กรมประมงกําหนดไว$ที่ 400 กิโลกรัม/ไร/ และเพื่อแก$ไข ปEญหาดังกล/าวจึงควรมีการขุดสระน้ําเพิ่มขึ้น และปรับปรุงสระน้ําที่มีอยู/เดิมให$สามารถใช$งานได$ดี ซึ่งนอกจากจะ เปนการเพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ําแล$ว ยังสามารถนํามาเลี้ยงสัตวน้ําได$อีกด$วย โดยเฉพาะการทําเปนบ/อเลี้ยงปลา ซึ่งจะทําให$เกษตรกรมีรายได$เพิ่มขึ้น และยังเปนแหล/งอาหารของผู$บริโภค ซึ่งปEจจุบันอาหารจากสัตวน้ํา มีแนวโน$มได$รับความนิยมจากผู$บริโภคเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ควรมีการให$ความรู$ในด$านการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และการจัดการอย/างถูกต$องให$แก/เกษตรกรผู$เพาะเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อให$สามารถเพิ่มผลิตต/อไร/ให$สูงขึ้น จากการสํารวจความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ต$องการให$มีการส/งเสริมอาชีพประมง น้ําจืด โดยเฉพาะสหกรณพันธุปลาน้ําจืด 3. การพัฒนาด\"านการท9องเที่ยว จากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับระดับความรุนแรงของประเด็นปEญหาด$าน การท/องเที่ยวนั้น ผู$ตอบสัมภาษณระบุว/า ปEญหาที่เปนประเด็นสําคัญ คือ ปEญหาด$านมาตรฐานสถาน ประกอบการและร$านค$ามีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 27.6 (มากที่สุดร$อยละ 9.1 มาก ร$อยละ 18.5) ปEญหาการพัฒนา/ออกแบบผลิตภัณฑของฝากของที่ระลึกมีความรุนแรงอยู/ในระดับมาก ถึงมากที่สุด ร$อยละ 27.3 (มากที่สุดร$อยละ 10.4 มากร$อยละ 16.9) ปEญหาด$านมาตรฐานแหล/งท/องเที่ยว มีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 26.8 (มากที่สุดร$อยละ 12.9 มากร$อยละ 13.9) ปEญหาคุณภาพการบริการมีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 25.3 (มากที่สุดร$อยละ 7.0 มาก ร$อยละ 18.3) ตารางที่ 17 ร$อยละของผู$ตอบสัมภาษณ จําแนกตามระดับความรุนแรงของปEญหาด$านการท/องเที่ยว ระดับความรุนแรงของปEญหา ไม/มี ไม/ ประเด็นปEญหา รวม มาก ปาน น$อย ปEญหา มาก น$อย ตอบ ที่สุด กลาง ที่สุด ปEญหาด$านการท/องเที่ยว 1. ปEญหาด$านมาตรฐานแหล/งท/องเที่ยว 100. 32.2 12.9 13.9 19.3 5.8 4.8 11.1 0 2. ปEญหาด$านมาตรฐานสถานประกอบการ 100. 27.6 9.1 18.5 27.0 4.7 2.4 10.7 และร$านค$า 0 3. ปEญหาคุณภาพการบริการ 100. 28.2 7.0 18.3 27.9 5.7 2.0 10.9 0 4. มาตรฐานโรงแรม ที่พักที่ให$บริการ 100. 35.3 6.4 10.5 25.9 6.3 4.5 11.1 0 5. ศูนยบริการนักท/องเที่ยว 100. 34.3 7.2 12.8 22.3 6.7 5.5 11.2 0 6. ปEญหาอาชญากรรม ความปลอดภัยใน 100. 26.0 9.4 14.7 26.7 8.3 4.1 10.8 ชีวิตและทรัพยสิน 0 ๖๐
ระดับความรุนแรงของปEญหา ไม/มี ไม/ ประเด็นปEญหา รวม มาก ปาน น$อย ปEญหา มาก น$อย ตอบ ที่สุด กลาง ที่สุด 7. ปEญหาการพัฒนา/ออกแบบผลิตภัณฑ 100. 31.4 10.4 16.9 22.1 5.2 3.2 10.8 ของฝากของที่ระลึก 0 8. ปEญหาด$านการประชาสัมพันธ 100. 34.4 7.3 14.6 23.1 5.9 3.6 11.1 การท/องเที่ยว 0 100. 9. ปEญหาด$านงบประมาณสนับสนุน - 0.1 0.1 - - - 99.8 0 สําหรับประเด็นปEญหาด$านการท/องเที่ยวที่ผู$ตอบสัมภาษณระบุว/า มีความรุนแรงอยู/ในระดับ น$อยถึงน$อยที่สุดนั้น ผู$ตอบสัมภาษณได$แสดงความคิดเห็นหรือเหตุผลดังตารางที่ 18 ตารางที่ 18 ความคิดเห็นหรือเหตุผลของปEญหาการท/องเที่ยวที่มีระดับความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด ประเด็นป;ญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร\"อยละ ด$านการท/องเที่ยว 1. ปEญหาด$านมาตรฐานแหล/ง รวม 100.0 ท/องเที่ยว ไม/แสดงความคิดเห็น 65.9 แสดงความคิดเห็น 34.1 - แหล/งท/องเที่ยวมีมาตรฐานอยู/แล$ว 14.3 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 19.8 2. ปEญหาด$านมาตรฐานสถาน รวม 100.0 ประกอบการและร$านค$า ไม/แสดงความคิดเห็น 71.7 แสดงความคิดเห็น 28.3 - มีมาตรฐานอยู/แล$ว 15.0 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 13.3 3. ปEญหาคุณภาพการบริการ รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 74.3 แสดงความคิดเห็น 25.7 - มีการบริการที่ดีอยู/แล$ว 19.7 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 3.0 - มีหน/วยงานรัฐเข$ามาดูแล 3.0 4. มาตรฐานโรงแรม ที่พักที่ รวม 100.0 ให$บริการ ไม/แสดงความคิดเห็น 74.2 แสดงความคิดเห็น 25.8 - มีที่พักที่มีมาตรฐานและมีบริการที่ดี 16.1 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 9.7 ๖๑
ประเด็นป;ญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร\"อยละ 5. ศูนยบริการนักท/องเที่ยว รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 70.5 แสดงความคิดเห็น 29.5 - มีศูนยบริการนักท/องเที่ยว ที่มีบริการที่ดีอยู/แล$ว 18.1 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 11.4 6. ปEญหาอาชญากรรม ความ รวม 100.0 ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ไม/แสดงความคิดเห็น 74.5 แสดงความคิดเห็น 25.5 - มีการดูแลความปลอดภัยโดยหน/วยงานของรัฐ 3.8 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 2.8 - ชุมชนสงบ ไม/มีอาชญากรรมในชุมชน/แหล/งท/องเที่ยว 17.9 - มีการจัดเวรยาม ดูแลรักษาความปลอดภัยตลอดโดยคนในชุมชน 1.0 7. ปEญหาการพัฒนา/ รวม 100.0 ออกแบบผลิตภัณฑของฝาก ไม/แสดงความคิดเห็น 75.0 ของที่ระลึก แสดงความคิดเห็น 25.0 - มีการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑอย/างต/อเนื่อง 20.8 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 4.2 8. ปEญหาด$านการ รวม 100.0 ประชาสัมพันธการท/องเที่ยว ไม/แสดงความคิดเห็น 70.7 แสดงความคิดเห็น 29.3 - มีการประชาสัมพันธอย/างต/อเนื่อง 20.7 - แหล/งท/องเที่ยวมีน$อย 8.6 หมายเหตุ : เฉพาะผู$ที่ระบุว/าปEญหามีระดับความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด จังหวัดมหาสารคาม มีแหล/งท/องเที่ยวทางประวัติศาสตรและศาสนสถานที่สําคัญอยู/หลายแห/ง อาทิ พระธาตุนาดูน วัดมหาชัย พระพุทธรูปยืนมิ่งเมือง พระพุทธรูปยืนมงคล และกู/สันตรัตน นอกจากนี้ยังมี แหล/งท/องเที่ยวธรรมชาติที่น/าสนใจ อาทิ วนอุทยานโกสัมพี วนอุทยานชีหลง แก/งเลิงจาน เขตห$ามล/าสัตว ปaาดูนลําพัน ในปJ 2553 จังหวัดมีรายได$จากนักท/องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต/างประเทศ ประมาณ 288.11 ล$านบาท ผลการวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ต$องการให$พัฒนาแหล/งท/องเที่ยวใน จังหวัดให$เปนรูปธรรม เช/น หมู/บ$านโฮมสเตยในแหล/งท/องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการท/องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เพื่อให$จังหวัดมหาสารคามเปนศูนยกลางการท/องเที่ยวและแหล/งเรียนรู$ทาง ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ด\"านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล\"อม จากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับระดับความรุนแรงของประเด็นปEญหาด$าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อมนั้น ผู$ตอบสัมภาษณระบุว/า ปEญหาขยะมูลฝอย มีความรุนแรงอยู/ในระดับ มากถึงมากที่สุด ร$อยละ 44.7 (มากที่สุดร$อยละ 24.0 มากร$อยละ 20.7) ซึ่งมีปริมาณขยะมูลฝอยสะสม ๖๒
66,000 ตัน ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นใหม/ 960 ตันต/อวัน กําจัดได$ 857 ตันต/อวัน ปEญหามลพิษ สิ่งแวดล$อมมีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 29.8 (มากที่สุดร$อยละ 9.6 มากร$อยละ 20.2) ปEญหาการบุกรุกทําลายปaา มีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 19.9 (มากที่สุดร$อยละ 7.7 มากร$อยละ 12.2) ในปJ 2558 จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ปaา 138,896.37 ไร/ คิดเปนร$อยละ 3.96 ของพื้นที่จังหวัด ตารางที่ 19 ร$อยละของผู$ตอบสัมภาษณ จําแนกตามระดับความรุนแรงของปEญหาด$านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล$อม ระดับความรุนแรงของปEญหา ไม/มี ไม/ ประเด็นปEญหา รวม มาก ปาน น$อย ปEญหา มาก น$อย ตอบ ที่สุด กลาง ที่สุด ด$านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล$อม 1. ปEญหาขยะมูลฝอย 100.0 16.1 24.0 20.7 26.5 3.2 1.6 7.9 2. ปEญหามลพิษสิ่งแวดล$อม 100.0 18.6 9.6 20.2 36.1 5.4 2.2 7.9 3. ปEญหาการบุกรุกทําลายปaา 100.0 25.6 7.7 12.2 27.6 11.7 6.8 8.4 สําหรับประเด็นปEญหาด$านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล$อมที่ผู$ตอบสัมภาษณระบุว/า มีความ รุนแรงอยู/ในระดับน$อยถึงน$อยที่สุดนั้น ผู$ตอบสัมภาษณได$แสดงความคิดเห็นหรือเหตุผลดังตารางที่ 11 ตารางที่ 20 ความคิดเห็นหรือเหตุผลของปEญหาด$านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล$อมที่มีระดับ ความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด ประเด็นปEญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร$อยละ ด$านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อม 1. ปEญหาขยะมูลฝอย รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 65.9 แสดงความคิดเห็น 34.1 - มีระบบการจัดการขยะที่ดี 34.1 2. ปEญหามลพิษสิ่งแวดล$อม รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 76.9 แสดงความคิดเห็น 23.1 - มีระบบจัดการที่ดี/ตรวจสอบเปนประจํา 7.7 - ไม/มีแหล/งก/อมลพิษ 15.4 ๖๓
ประเด็นปEญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร$อยละ 3. ปEญหาการบุกรุกทําลายปaา รวม 100.0 ไม/แสดงความคิดเห็น 60.1 แสดงความคิดเห็น 39.9 - ไม/มีพื้นที่ปaาในชุมชน 39.9 หมายเหตุ : เฉพาะผู$ที่ระบุว/าปEญหามีระดับความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด โดยรวมปEญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อม อาจมีสาเหตุหลักมาจาก การกระทําของมนุษย การแก$ไขปEญหา นอกจากการปลูกฝEงจิตสํานึกให$ประชาชนเห็นถึงความสําคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติแล$ว รัฐจะต$องดําเนินการแก$ไขปEญหาอย/างจริงจัง ทั้งในส/วนที่เกี่ยวกับการเพิ่มเนื้อที่ปaา โดยการสนับสนุนให$ภาคเอกชนเข$ามามีส/วนร/วมและวางแนวทางยับยั้งการบุกรุกทําลายทรัพยากรเหล/านั้น เช/น การจัดหาที่ทํากินให$ราษฎรในพื้นที่ปaาสงวนเสื่อมโทรม การปdองกันมิให$เกิดปEญหามลพิษอันเกิดจากสารเคมี และจากการระบายน้ําโสโครกจากแหล/งชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรมลงสู/แหล/งน้ําโดยมิได$ผ/านการบําบัด เสียก/อน ตลอดจนต$องให$มีการบังคับใช$มาตรการที่เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพ ในการที่จะปdองกันการบุกรุก ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ สรุปได$ว/า ประชาชนในพื้นที่ต$องการให$มีการอนุรักษพื้นที่ปaาธรรมชาติให$อยู/ในสภาพเดิม รวมทั้ง รณรงคให$มีการปลูกปaาและปลูกต$นไม$เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ควรมีการวางระบบบําบัดน้ําเสียให$ครบทุกชุมชนที่มี แหล/งน้ํา การปรับปรุงแหล/งน้ําที่ตื้นเขินเพื่อให$สามารถใช$งานได$ และควรมีมาตรการด$านกฎหมาย และสร$าง กฎระเบียบชุมชน เพื่อกํากับ ควบคุม 5. ด\"านโครงสร\"างพื้นฐาน โครงสร$างพื้นฐานทั้งไฟฟdา ประปา โทรศัพท และการสื่อสารและโทรคมนาคม ถือได$ว/าเปน ปEจจัยพื้นฐานที่มีความสําคัญต/อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัด ผลการวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่ ด$านไฟฟdา พบว/า ต$องการให$มีการขยาย ไฟฟdาให$มีใช$ทุกหมู/บ$าน ขยายไฟฟdาเพื่อการเกษตรและไฟฟdาสาธารณะ (ส/องสว/าง) ตลอดจนให$เพิ่มจุดบริการ ด$านกระแสไฟฟdาขัดข$องเพื่อให$แก$ไขได$ทันการณและรวดเร็วและให$ลดค/าใช$ไฟฟdา (ค/าไฟฟdาต/อหน/วย) นอกจากนี้ ยังต$องการให$มีศูนยพัฒนาเพื่อส/งเสริมการผลิตและใช$พลังงานทดแทน และส/งเสริมพัฒนาแผน พลังงานในชุมชนอย/างทั่วถึง เช/นเดียวกับด$านประปา ต$องการให$จัดระบบประปาให$ครบทุกหมู/บ$าน จัดหา ปริมาณน้ําดิบให$เพียงพอต/อการผลิต ตลอดจนจัดหาแหล/งน้ําให$เพียงพอ นอกจากนี้ ยังต$องการให$มีการแก$ไข ปEญหาความสะอาดของน้ํา ปEญหามลภาวะ เช/น ขยะมูลฝอยใกล$แหล/งน้ํา คอกปศุสัตว และปEญหาน้ําเค็ม (ประปาบาดาล) ในขณะเดียวกัน ด$านโทรศัพท และสื่อสารโทรคมนาคม ต$องการขยายเขตโทรศัพทพื้นฐานให$ ครบทุกหมู/บ$านและทุกครัวเรือน การให$บริการซ/อมบํารุงกรณีโทรศัพทเสียให$มีความรวดเร็วมากกว/านี้ และ ต$องการให$ค/าบริการโทรศัพทบ$านมีอัตราถูกกว/านี้ นอกจากนี้ ยังต$องการให$มีการรักษาสิทธิส/วนบุคคลของเบอร โทรศัพท การแก$ไขปEญหาการละเมิด ส/ง SMS แล$วหักค/าบริการอัตโนมัติ การควบคุมการใช$อินเทอรเน็ตและการ เล/มเกมส และต$องการให$มีศูนยเรียนรู$ที่มีอินเทอรเน็ตพร$อมผู$ดูแลระบบให$ทุกหมู/บ$าน ๖๔
สําหรับการคมนาคม ขนส/ง และโลจิสติกส จากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับระดับความรุนแรงของประเด็นปEญหาด$านการคมนาคม ขนส/ง และโลจิสติกสนั้น ผู$ตอบสัมภาษณ ระบุว/า ปEญหามาตรฐานความปลอดภัยทางถนน มีความรุนแรงอยู/ในระดับมากถึงมากที่สุด ร$อยละ 45.7 (มากที่สุดร$อยละ 18.3 มากร$อยละ 27.4) ปEญหาเส$นทางคมนาคมและขนส/ง มีความรุนแรงอยู/ในระดับมาก ถึงมากที่สุด ร$อยละ 45.3 (มากที่สุดร$อยละ 22.8 มากร$อยละ 22.5) ตารางที่ 21 ร$อยละของผู$ตอบสัมภาษณ จําแนกตามระดับความรุนแรงของปEญหาด$านการคมนาคม ขนส/ง และโลจิสติกส ระดับความรุนแรงของปEญหา ไม/มี ไม/ ประเด็นปEญหา รวม มาก ปาน น$อย ปEญหา มาก น$อย ตอบ ที่สุด กลาง ที่สุด ปEญหาด$านการคมนามคมขนส/ง และ logistic 1. ปEญหาเส$นทางคมนาคมและ ขนส/ง 100.0 21.2 22.8 22.5 23.8 5.6 1.5 2.6 2. ปEญหามาตรฐานความปลอดภัย ทางถนน 100.0 18.5 18.3 27.4 27.4 4.4 1.4 2.6 สําหรับประเด็นปEญหาด$านการคมนาคม ขนส/งและโลจิสติกสที่ผู$ตอบสัมภาษณระบุว/า มีความ รุนแรงอยู/ในระดับน$อยถึงน$อยที่สุดนั้น ผู$ตอบสัมภาษณได$แสดงความคิดเห็นหรือเหตุผลดังตารางที่ 9 ตารางที่ 22 ความคิดเห็นหรือเหตุผลของปEญหาด$านการคมนาคม ขนส/งและโลจิสติกสที่มีระดับความ รุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด ประเด็นป;ญหา ความคิดเห็นหรือเหตุผล ร\"อยละ ด$านการคมนามคมขนส/งและ logistic 1. ปEญหาเส$นทางคมนาคม รวม 100.0 และขนส/ง ไม/แสดงความคิดเห็น 63.9 แสดงความคิดเห็น 36.1 - มีการดูแลปรับปรุง ซ/อมแซมอยู/เสมอ 36.1 2. ปEญหามาตรฐานความ รวม 100.0 ปลอดภัยทางถนน ไม/แสดงความคิดเห็น 72.0 แสดงความคิดเห็น 28.0 - มีการพัฒนาเส$นทางคมนาคม เพื่อให$มีมาตรฐาน และปลอดภัย 28.0 หมายเหตุ : เฉพาะผู$ที่ระบุว/าปEญหามีระดับความรุนแรงน$อยถึงน$อยที่สุด ๖๕
6. ด\"านการเมืองและการบริหารภาครัฐ ความต$องการพัฒนาด$านการเมืองและการบริหารภาครัฐ แบ/งออกเปนด$าน การรวมกลุ/มทาง การเมือง ด$านการมีส/วนร/วมทางการเมือง ด$านการมีส/วนร/วมในการบริหารราชการ และด$านการสะท$อนปEญหา ความต$องการต/อภาครัฐ ดังนี้ 6.1 ด\"านการรวมกลุ9มทางการเมือง ประชาชนได$แสดงความคิดเห็นไว$ว/า นักการเมืองควรมี ความรู$ ความเข$าใจเกี่ยวกับการเมือง ในขณะเดียวกันยังต$องส/งเสริมให$มีการจัดตั้งพรรคการเมืองที่มี อุดมการณที่แท$จริง มีการส/งเสริมให$มีพรรคการเมืองที่มาจากหลากหลายอาชีพ 6.2 ด\"านการมีส9วนร9วมทางการเมือง ประชาชนความคิดเห็นว/า ภาครัฐต$องส/งเสริมให$ ประชาชนเข$าไปตรวจสอบนักการเมืองมากขึ้น ส/งเสริมให$ประชาชนไปใช$สิทธิเลือกตั้ง/การใช$สิทธิทางการเมือง ส/งเสริมให$ประชาชนเข$าชื่อถอดถอนนักการเมืองที่ทุจริตและประพฤติมิชอบ ส/งเสริมให$ประชาชนได$แสดง ประชามติอย/างกว$างขวาง ส/งเสริมอาสาสมัครทางการเมืองอย/างต/อเนื่อง 6.3 ด\"านการมีส9วนร9วมในการบริหารราชการ ประชาชนมีความคิดเห็นว/า รัฐต$องให$ ความสําคัญต/อความต$องการของประชาชน ประชาชนต$องมีส/วนร/วมในการทํายุทธศาสตรการพัฒนาทุกระดับ รวมถึงต$องการมีส/วนร/วมในการตรวจสอบความโปร/งใส ในการทํางานของภาคการเมืองและภาครัฐ และต$องการ สะท$อนและผลักดันปEญหาความต$องการสู/การบริหาร รวมถึงการมีส/วนร/วมในการเปนคณะกรรมการต/างๆ นอกจากนี้ ประชาชนยังต$องการให$มีการจัดเวทีการเรียนรู$กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาระดับชุมชน ตําบล อําเภอ เพื่อสะท$อนถึงสถานภาพชุมชนได$อย/างแท$จริง 6.4 ด\"านการสะท\"อนป;ญหาความต\"องการต9อภาครัฐ ประชาชนมีความคิดเห็นว9า ภาครัฐควร จริงจังและจริงใจ ในการปราบปรามการทุจริต รัฐควรสนับสนุนการศึกษาวิจัยปEญหาความต$องการของประชาชน ด$านต/างๆ สร$างความรู$ความเข$าใจในการมีส/วนร/วมเกี่ยวกับการรวมกลุ/มทางการเมือง รัฐควรให$ประชาชน มีส/วนร/วมในการออกกฎหมาย/บทลงโทษ และรัฐควรสนับสนุนกิจกรรมของอาสาสมัครทางการเมืองอย/าง ต/อเนื่อง 7. ด\"านสังคม จังหวัดมหาสารคาม ดําเนินการจัดเก็บข$อมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ) ทุกครัวเรือนที่อาศัย อยู/จริง ทั้งในเขตชนบทและเขตเมือง ปJงบประมาณ 2559 โดยใช$เครื่องมือในการจัดเก็บคือตัวชี้วัด จปฐ.5 หมวด 30 ตัวชี้วัด มีผลการจัดเก็บข$อมูลด$านรายได$ ดังนี้ 1) รายได$เฉลี่ยจากข$อมูล จปฐ. (เขตชนบท) 131 ตําบล ในพื้นที่ 13 อําเภอ - ครัวเรือนที่ทีรายได$ผ/านเกณฑ จํานวน 188,432 ครัวเรือน คิดเปนร$อยละ 99.61 - ครัวเรือนที่ทีรายได$ไม/ผ/านเกณฑ จํานวน 742 ครัวเรือน คิดเปนร$อยละ 0.39 - รายได$เฉลี่ยของครัวเรือน 70,797 บาท/ คน/ปJ 2) รายได$เฉลี่ยจากข$อมูล จปฐ. (เขตเมือง) 11 เทศบาล ในพื้นที่ 10 อําเภอ - ครัวเรือนที่ทีรายได$ผ/านเกณฑ จํานวน 23,670 ครัวเรือน คิดเปนร$อยละ 99.48 - ครัวเรือนที่ทีรายได$ไม/ผ/านเกณฑ จํานวน 123 ครัวเรือน คิดเปนร$อยละ 0.52 - รายได$เฉลี่ยของครัวเรือน 121,782 บาท/ คน/ปJ 7.1 การศึกษา เปนศูนยกลางการศึกษาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีนิสิตนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย และวิทยาลัย มากกว/า 60,000 คน ส/งผลต/อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดมหาสารคาม ๖๖
โดยมีมูลค/าผลิตภัณฑสูงเปนอันดับ 2 รองจากภาคเกษตร ถึงแม$ว/ารัฐขยายโอกาสทางการศึกษาให$ทั่วถึง โดยจัดโครงการเรียนฟรี 15 ปJ ก็ตาม แต/ปEญหาทางการศึกษาโดยเฉพาะคุณภาพการศึกษาของจังหวัดยังอยู/ใน เกณฑที่จะต$องพัฒนาให$ได$มาตรฐาน โดยเฉพาะบุคลากรทางการศึกษาที่ต$องได$รับการพัฒนาให$เปนมืออาชีพ นอกจากนี้ปEญหาของการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให$ทันต/อความก$าวหน$าของวิทยาการทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลง ไปอย/างรวดเร็ว ทําให$ผู$ที่จบการศึกษามีความรู$และทักษะไม/สอดคล$องกับความต$องการของตลาดแรงงาน ส/งผลต/อปEญหาการว/างงาน ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะต$องแก$ไขปEญหาการศึกษาของจังหวัดอย/างเปนระบบ โดยเพิ่มการศึกษานอกระบบโรงเรียนให$มากขึ้น และเน$นการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา เพื่อเพิ่มความรู$ และทักษะของนิสิตนักศึกษา และพัฒนาครูให$มีคุณภาพมากขึ้น จากการสํารวจความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ต$องการให$มีการจัดการศึกษา ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย/างทั่วถึง เท/าเทียม และมีคุณภาพ พัฒนาครูให$เปนมืออาชีพ ตลอดจนให$เด็กและเยาวชนทั้งหมดสามารถอ/านออก เขียนได$ และเรียนจบแล$วมีงานทํา นอกจากนี้เห็นว/า จังหวัดควรมีการจัดทําข$อมูลสถิติทางการศึกษาที่ครบถ$วนและทันสมัย รวมทั้งการเสริมสร$างและพัฒนานักเรียน/ นักศึกษาทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพให$เพียงพอกับความต$องการของตลาดแรงงาน และพัฒนาให$จังหวัด เปน HUB ทางด$านแรงงานฝJมือ 7.2 ศาสนาและวัฒนธรรม ปEจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีการขยายตัวอย/างรวดเร็ว และเข$ามามีส/วนเกี่ยวข$องกับทุกคน ไม/ทางตรงก็ทางอ$อม ถึงแม$ว/าเทคโนโลยีสารสนเทศจะช/วยส/งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย ทําให$การผลิต ในอุตสาหกรรมดีขึ้น ส/งเสริมสุขภาพและความเปนอยู/ให$ดีขึ้น และทําให$เกิดการค$นคว$าวิจัยสิ่งใหม/ อย/างไรก็ตาม ก็ส/งผลกระทบทางลบต/อสังคม อาทิ ทําให$เกิดอาชญากรรมเทคโนโลยี เกิดการแพร/วัฒนธรรมและกระจาย ข/าวสารที่ไม/เหมาะสมอย/างรวดเร็ว และที่สําคัญคือทําให$เกิดความสัมพันธของมนุษยเสื่อมถอยและเปนสังคม ที่ไม/ต$องพึ่งพาอาศัยกันมาก จากผลกระทบดังกล/าวทําให$สังคมไทยประสบกับปEญหาความเสื่อมโทรมทาง คุณธรรมและจริยธรรม เด็กและเยาวชนขาดแบบอย/างที่ดี รวมถึงผู$คนในสังคมแตกความสามัคคี ซึ่งอาจสร$าง วิกฤติให$แก/สังคมไทยได$ในอนาคต ดังนั้น เพื่อพัฒนาและขับเคลื่อนสังคมไทยเปนสังคมแห/งการเรียนรู$ที่ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม จะต$องมีการเสริมสร$างและพัฒนาบุคลากรด$านการศาสนาและวัฒนธรรมให$มีความรู$ ความเข$าใจที่ถูกต$อง และประพฤติ ปฏิบัติตนในการเปนแบบอย/างที่ดีให$กับเด็กและเยาวชนเพื่อจะได$เปนผู$ใหญ/ที่ดีในสังคมสืบไป นอกจากนี้ จะต$องรณรงคให$ทุกภาคส/วนในสังคมตระหนักถึงปEญหาและให$ความสนใจในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม อย/างจริงจัง ผลการวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ต$องการให$พัฒนาพระภิกษุสงฆ ให$มีความรู$ ความเข$าใจในหลักธรรมและปฏิบัติตนให$เหมาะสมกับสมณะเพศ มีกระบวนการตรวจสอบพระสงฆ ตลอดจนจัดอบรมธรรมะ คุณธรรม จริยธรรมให$แก/เยาวชนและประชาชนเพื่อให$เกิดการเรียนรู$และยึดถือปฏิบัติ ในการดํารงชีวิต นอกจากนี้ ควรมีการส/งเสริมให$จังหวัดมหาสารคามเปนเมืองที่มีคุณธรรมและวัฒนธรรมอันดี งาม โดยจัดให$มีศูนยรวมวัฒนธรรมจังหวัดเพื่อเปนแหล/งเรียนรู$ปลอดภัยอย/างสร$างสรรค 7.3 ด\"านสาธารณสุข ในปJ 2559 จังหวัดมหาสารคาม มีสถานบริการสาธารณสุขทั้งของรัฐและของเอกชน จํานวน 235 แห/ง มีแพทยรวมทั้งหมด 212 คน จํานวนแพทยต/อประชากร 1 ต/อ 4,548.60 ประชาชน เข$าถึงบริการสาธารณสุขมากขึ้น และมีโอกาสได$รับบริการทางการแพทยมากขึ้น อย/างไรก็ตามยังมีปEญหาสุข ภาวะ เนื่องจากประชาชนยังขาดความตระหนักเกี่ยวกับโรคภัยต/างๆ และมีพฤติกรรมด$านสุขภาพที่ไม/ถูกต$อง ๖๗
ผลการวิเคราะหความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/าต$องการให$มีแพทยที่เชี่ยวชาญ เฉพาะทางประจําสถานีอนามัย และกําหนดวาระ “รักษสุขภาพ” เปนวาระด$านการออกกําลังกายของจังหวัด รวมทั้งรณรงค ลด ละ เลิก เหล$า บุหรี่ ในทุกพื้นที่และรณรงคโรคเกี่ยวกับเพศสัมพันธ 7.4 ด\"านอาชญากรรม ด$านความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน ด$านสวัสดิการสังคม และด$าน ยุติธรรม ผลการวิเคราะหข$อมูลจากการสํารวจความต$องการของประชาชน พบว/า ประชาชนให$ความสําคัญประเด็น อาชญากรรมที่สําคัญ ดังนี้ 7.4.1 ด$านอาชญากรรม พบว/า ประชาชนต$องการในเจ$าหน$าที่ของรัฐสร$างความคุ$นเคย ในเครือญาติด$านความผูกพัน ในขณะเดียวกันอยากให$จังหวัดประกาศให$เปนเมืองปลอดภัย และให$ช/วยกันสร$าง วินัยในครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษา 7.4.2 ด$านความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน พบว/า ต$องการสร$างความอบอุ/นในครอบครัว และต$องการให$รัฐช/วยสร$างสังคมให$ปลอดอบายมุข 7.4.3 ด$านสวัสดิการสังคม พบว/า ประชาชนต$องการให$รัฐจัดให$มีสวัสดิการสังคมอย/างเท/า เทียม ทั่วถึง เสมอภาคและเปนธรรม อยากให$รัฐช/วยให$ประชาชนกินอิ่ม นอนอุ/น ทุนมี หนี้หมด มีระบบ สวัสดิการให$ทั่วถึงตามรูปแบบสหกรณ มีการส/งเสริมอาสาสมัครประจําชุมชนเพื่อช/วยเหลือซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ยังต$องการส/งเสริมด$านการประกวดหมู/บ$านปลอดอบายมุข 7.4.4 ด$านยุติธรรม พบว/า ประชาชนต$องการให$รัฐใช$กฎหมายโดยเท/าเทียมกัน ต$องการตั้ง ศูนยไกล/เกลี่ยประนีประนอมข$อพิพาทระดับหมู/บ$าน ตําบล อําเภอ และจังหวัดโดยเฉพาะคดีอาญา ทั้งที่ยอม ความได$และยอมความไม/ได$ ก/อนที่จะมีการดําเนินคดีต/อศาล รวมถึงต$องการอบรมเผยแพร/ความรู$ด$านกฎหมาย ให$แก/ประชาชน นอกจากนี้ประชาชนต$องการให$มีคณะกรรมการปรองดองประจําชุมชน ให$ทุกหมู/บ$านสร$าง เงื่อนไขหรือมีข$อบังคับของหมู/บ$าน รวมถึงประชาชนยังต$องการให$มีการสร$างความเปนธรรมอย/างเปนรูปธรรม ที่ครอบคลุมในทุกระดับ ทุกปEญหา ทุกภาคส/วน และทุกชนชั้น ตารางที่ 23 ผลการจับกุมคดียาเสพติดต/อประชากร ร\"อยละ ปJที่จับกุม จํานวนคดีที่จับกุม จํานวนประชากร (คน) ต9อจํานวนประชากร 2557 588 943,200 16.04 2558 594 943,200 15.88 2559 602 943,200 15.67 ตารางที่ 24 สถิติคดีอาญา 5 กลุ/ม ของตํารวจภูธรจังหวัดมหาสารคาม เกิด จับ จับ (ร\"อยละ) ประเภทข\"อหา 2557 2558 2559 2557 2558 2559 2557 2558 2559 คดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญ 16 18 22 14 14 19 87.50% 77.78% 86.36% ฆ9าผู\"อื่นโดยเจตนา 12 7 18 11 6 15 91.67% 85.71% 83.33% ปล\"นทรัพย 0 1 0 0 1 0 0% 100% 0% ชิงทรัพย(รวม) 2 7 3 1 5 3 50% 71% 100% ลักพาเรียกค9าไถ9 0 0 0 0 0 0 0% 0% 0% วางเพลิง 2 3 1 2 2 1 100% 67% 100% คดีชีวิต ร9างกายและเพศ 214 239 154 131 173 127 61.21% 72.38% 82.47% ๖๘
เกิด จับ จับ (ร\"อยละ) ประเภทข\"อหา 2557 2558 2559 2557 2558 2559 2557 2558 2559 ฆ9าผู\"อื่นโดยเจตนา 12 7 18 11 6 15 91.67% 85.71% 83.33% ฆ9าผู\"อื่นโดยไม9เจตนา 3 9 4 3 8 4 100% 89% 100% ทําให\"ตายโดยประมาท 2 3 2 2 3 2 100% 100% 100% พยายามฆ9า 48 35 32 30 23 25 62.50% 65.71% 78.13% ทําร\"ายร9างกาย 118 154 82 65 108 72 55.08% 70.13% 87.80% ข9มขืนกระทําชําเรา 36 34 20 21 26 12 58.33% 76.47% 60.00% คดีประทุษร\"ายต9อทรัพย 366 467 199 156 181 119 42.62% 38.76% 59.80% ลักทรัพย 327 412 166 142 149 90 43.43% 36.17% 54.22% วิ่งราวทรัพย 2 16 10 1 8 7 50% 50% 70% รีดเอาทรัพย 0 0 1 0 0 1 0% 0% 100% กรรโชกทรัพย 0 2 3 0 2 3 0% 100% 100% ชิงทรัพย(รวม) 2 7 3 1 5 3 50% 71% 100% ชิงทรัพยบาดเจ็บ 1 0 2 1 0 2 100% 0% 100% ชิงทรัพยไม9บาดเจ็บ 1 7 1 0 5 1 0% 71% 100% ปล\"นทรัพย 0 1 0 0 1 0 0% 100% 0% รับของโจร 2 0 1 2 0 1 100% 0% 100% ทําให\"เสียทรัพย 33 31 17 10 16 14 30.30% 51.61% 82.35% คดีที่น9าสนใจ 402 470 244 189 237 158 47.01% 50.43% 64.75% โจรกรรมรถจักรยานยนต 118 129 30 38 33 15 32.20% 25.58% 50.00% โจรกรรมรถยนต 13 7 3 0 4 1 0% 57% 33% โจรกรรมโค-กระบือ 1 2 0 1 2 0 100% 100% 0% โจรกรรมเครื่องมือเกษตร 0 1 0 0 1 0 0% 100% 0% ฉ\"อโกง 164 168 125 89 87 84 54.27% 51.79% 67.20% ยักยอก 111 166 91 61 110 60 54.95% 66.27% 65.93% ประเภทข\"อหา จับ(ราย) จับ(คน) คดีที่รัฐเปQนผู\"เสียหาย 4082 2954 2003 5641 4431 2895 อาวุธปRน (รวม) 236 230 164 247 242 172 อาวุธปRนธรรมดา 231 225 154 242 237 162 อาวุธปRนสงคราม 5 5 11 5 5 11 การพนัน (รวม) 943 864 491 2434 2277 1325 การพนันทั่วไป 767 637 393 2258 2050 1218 การพนันสลากกินรวบ 176 230 105 176 230 114 ยาเสพติด 2905 1858 1350 2968 1910 1400 ปรามการค\"าประเวณี 2 3 0 2 3 0 มีและเผยแพร9วัตถุลามก 0 1 0 0 1 0 แหล/งข$อมูล: ระบบสารสนเทศสํานักงานตํารวจแห/งชาติ (POLIS) ๖๙
8. สถานการณอื่นๆ ที่เกี่ยวข\"องกับการพัฒนาของจังหวัดมหาสารคาม 8.1 สถานการณภัยแล\"ง/น้ําท9วม ปEญหาด$านภัยแล$ง นับวันยิ่งทวีความรุนแรงและขยายวงกว$างออกไป โดยในรอบ 10 ปJ ที่ผ/านมา ปริมาณน้ําฝนที่ตกอยู/ระดับต่ําสุดในรอบ 10 ปJ ส/งผลให$ในหลายพื้นที่ของจังหวัดมหาสารคามประสบ กับปEญหาแหล/งน้ําดิบที่จะนําไปผลิตน้ําประปา แหล/งน้ําเพื่อการเกษตร ซึ่งทางจังหวัดก็ได$ระดม ให$ความช/วยเหลือทั้งการทําฝายดิน เปaาล$างบ/อบาดาล ขุดลอกคลอง รวมถึงการนํารถบรรทุกน้ําอุปโภค บริโภคออกไปแจกจ/ายให$กับราษฎรที่ประสบภัยแล$ง นอกจากนี้ยังได$ส/งเสริมให$เกษตรกรขุดสระน้ํา เพื่อกักเก็บ น้ําไว$ใช$ในหน$าแล$งและปลูกพืชที่ใช$น้ําน$อย ตลอดจนพัฒนาแหล/งน้ําขนาดเล็กให$กระจายในเขตพื้นที่เพื่อจะได$ มีปริมาณน้ําที่เพียงพอสําหรับการใช$อุปโภคบริโภค และการเกษตร ปEญหาน้ําท/วม เนื่องจากจังหวัดมหาสารคามตั้งอยู/ในพื้นที่ลุ/มแม/น้ําชี มีแม/น้ําชีเปนแม/น้ําสาย หลัก เมื่อถึงฤดูฝน น้ําชีจะเอ/อท/วมทั้ง 2 ฝEqง ในพื้นที่อําเภอโกสุมพิสัย อําเภอกันทรวิชัย และอําเภอเมือง มหาสารคาม ซึ่งส/งผลกระทบต/อราษฎรในพื้นที่ทั้ง 3 อําเภอ พื้นที่นาถูกน้ําท/วมเสียหายทุกปJ แนวทางแก$ไข กําหนดจะพัฒนาแก$มลิง เพื่อกักเก็บน้ําในบริเวณพื้นที่ลุ/มน้ําชี 8.2 สถานการณภัยธรรมชาติทางเกษตร จากสภาพอากาศที่ร$อนจัดและแห$งแล$งที่สุดในรอบ 10 ปJ ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามส/งผลให$ เกิดเพลี้ยแปdงระบาดในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังของเกษตรกรแล$วกว/า 1,000 ไร/ โดยเฉพาะพื้นที่อําเภอบรบือ อําเภอ นาเชือก กุดรัง เชียงยืน และอําเภอวาปJปทุม ซึ่งเปนแหล/งเพาะปลูกมันสําปะหลังที่สําคัญของจังหวัด โดยมี พื้นที่เพาะปลูก กว/า 26,000 ไร/ จากสถานการณเพลี้ยระบาดได$สร$างความเสียหายให$แก/เกษตรกรเปน อย/างมาก โดยหน/วยที่เกี่ยวข$องในพื้นที่ ได$ร/วมกันจัดกิจกรรมรณรงคหาทางปdองกันและกําจัดเพลี้ยแปdงไม/ให$ ขยายวงกว$าง เช/น มอบสารเคมีสําหรับฉีดพ/นในแปลงและแช/ท/อนพันธุมันสําปะหลังก/อนนําไปปลูกให$กับ เกษตรกร แนะนําให$เกษตรกรเด็ดยอดมันที่พบการระบาดของเพลี้ยแปdงเพื่อนําไปเผาทําลาย ทั้งนี้ เพื่อควบคุม การระบาดของเพลี้ยแปdงไม/ให$แพร/กระจายไปสู/แหล/งปลูกอื่น ๆ นอกจากนี้ยังพบพื้นที่ข$าวนาปรังได$รับความเสียหายจากเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลและโรคไหม$เข$า ทําลาย กว/า 30,000 ไร/ โดยมีสาเหตุจากสภาพอากาศที่แปรปรวน ทั้งร$อนและชื้นแฉะ รวมทั้งเกษตรกรหว/าน ข$าวหนาแน/นเกินไป ทํานาหลายครั้งในรอบปJ มีการใช$ปุ`ยเคมีผิดประเภทกับความเหมาะสมกับสภาพดิน และ เกษตรกรบางรายใช$สารเคมี ซึ่งเปนตัวทําลายระบบนิเวศน ทําให$แมลงศัตรูธรรมชาติบางประเภทที่เปนตัวทําลาย เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลถูกทําลายไปด$วย จึงเปนช/องทางให$เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลชนิดดังกล/าวเจริญพันธุ และกัด กินน้ําเลี้ยงของต$นข$าวจนแห$งตาย ซึ่งทางจังหวัดได$ประสานกับทุกฝaายที่เกี่ยวข$องเพื่อร/วมกันแก$ไขปEญหาเพื่อ บรรเทาความเดือดร$อนให$กับเกษตรกรที่ปลูกข$าวนาปรัง และหามาตรการในการปdองกันอย/างยั่งยืน ตอนที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม จากสภาวการณด$านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองส/งผลให$ศักยภาพพื้นที่ในจังหวัดมหาสารคามมี ทิศทางการพัฒนา ในด$านต/าง ๆ ที่สําคัญ ได$แก/ ด$านเศรษฐกิจ ด$านการเกษตร ด$านอุตสาหกรรม ด$านการ ท/องเที่ยว ด$านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อม ด$านความมั่นคง โดยมีรายละเอียดแต/ละด$าน ดังนี้ 1. ด\"านเศรษฐกิจ จากสถิติข$อมูลการสํารวจ GPP มูลค/าผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดปJ 2557 ของสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห/งชาติ จังหวัดมีมูลค/าผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดจํานวน 59,038 ล$านบาท โดยมีรายได$เฉลี่ยต/อคน/ปJ จํานวน 56,769 บาท จําแนกเปน ภาคเกษตร มีรายได$ 11,557 ล$านบาท คิดเปนร$อยละ 19.57 และภาคนอกเกษตร มีรายได$ 47,484 ล$านบาท ๗๐
คิดเปนร$อยละ 80.43 (สํานักงานคลังจังหวัดมหาสารคาม. 2559) ได$อธิบายไว$ว/า ประมาณการเศรษฐกิจ จังหวัดมหาสารคาม ไตรมาส 2 ปJ 2559 และพยากรณไตรมาส 3 ปJ 2559 “เศรษฐกิจจังหวัดมหาสารคาม ไตรมาส 2 ปJ 2559 ชะลอตัวร$อยละ 4.2 และคาดว/าในไตรมาส 3 ปJ 2559 จะขยายตัวร$อยละ 6.2” มีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 เศรษฐกิจจังหวัดมหาสารคาม ในไตรมาส 2 ปJ 2559 การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ประเมินว/า ในไตรมาส 2 ปJ 2559 “เศรษฐกิจจังหวัดมหาสารคามชะลอตัวในอัตราร$อยละ 4.2 เมื่อเทียบกับ ช/วงเดียวกันของปJก/อน พิจารณาจาก ด\"านอุปทาน ชะลอตัวร$อยละ 6.8 โดยการผลิตภาคอุตสาหกรรม ชะลอตัวร$อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับช/วงเดียวกันของปJก/อน เนื่องจากการเร/งสะสมสตrอกของผู$ค$าส/งในช/วงก/อนการปรับเพิ่มอัตราภาษี สุรา รวมถึงการผลิตในหลายอุตสาหกรรมยังคงหดตัวจากระยะเดียวกันปJก/อน เพราะอุปสงคจากต/างประเทศ ยังต่ํา ส/วนหนึ่งจากข$อจํากัดเชิงโครงสร$าง เช/น ความสามารถในการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑในการตอบสนองต/อ ความต$องการของผู$บริโภคสินค$าอิเล็กทรอนิกส เปนสําคัญ ภาคบริการและการท/องเที่ยว ชะลอตัวร$อยละ 1.4 เมื่อเทียบกับที่ขยายตัวร$อยละ 8.3 ในไตรมาส 2 ปJ 2559 ตามรายได$และความเชื่อมั่นของผู$บริโภคลดลง ขณะที่ภาคเกษตรกรรม ที่เปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด หดตัวร$อยละ 52.1 เมื่อเทียบกับช/วงเดียวกันของปJก/อนที่ขยายตัวร$อยละ 4.5 โดยเฉพาะผลผลิตข$าวนาปJที่ลดลง เนื่องจากเกษตรกรได$เริ่มเก็บเกี่ยวและทยอยออกสู/ตลาดไปจํานวนมาก ในช/วงก/อนหน$า สําหรับราคาพืชสําคัญ ยังคงหดตัวตามทิศทางของราคาตลาดโลก และปEญหาภัยแล$งที่คลี่คลาย โดยราคาข$าวเปลือกเหนียว ระดับราคายังอยู/ในเกณฑดี ด\"านอุปสงค หดตัวร$อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับช/วงเดียวกันของปJก/อน พิจารณาจาก การ บริโภคภาคเอกชน หดตัวร$อยละ 32.2 เปนผลจากมาตรการกระตุ$นการบริโภคที่ได$ดําเนินการในช/วงที่ผ/านมา อ/อนแรงลง รวมถึงรัฐบาลยังไม/มีมาตรการกระตุ$นการบริโภคใหม/ๆ อีกทั้งสถานการณ หนี้ครัวเรือนที่อยู/ใน ระดับสูง ผู$บริโภคมีความระมัดระวังการใช$จ/ายมากขึ้น สะท$อนจากการบริโภคสินค$าคงทน ในหมวดรถยนต ยังคงลดลง การลงทุนภาคเอกชน หดตัวร$อยละ 2.5 เนื่องจากการฟstนตัวของธุรกิจเอสเอ็มอี ยังอยู/ในระดับต่ํา และจํากัดอยู/เฉพาะในบางธุรกิจเท/านั้น ขณะที่การลงทุนในภาคอื่นๆ ทรงตัวจากภาคอุตสาหกรรมที่มีกําลังการผลิตเหลือ สอดคล$อง กับการระดมทุนของภาคธุรกิจที่มีทิศทางชะลอลง การใช$จ/ายภาครัฐ หดตัวร$อยละ 3.0 พิจารณาจากการ เบิกจ/ายงบรายจ/ายประจํา หดตัวร$อยละ 2.8 งบรายจ/ายลงทุน ชะลอตัวร$อยละ 6.8 โดยเฉพาะด$านการ คมนาคมจากโครงการซ/อมบํารุงถนนของกรมทางหลวงชนบท และกรมทางหลวง ด$านชลประทานจาก โครงการฝายและขุดลอกคลองส/งน้ํา ส/วนงบรายจ/ายองคกรปกครองส/วนท$องถิ่น หดตัวร$อยละ 2.4 ด$านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในจังหวัด อัตราการว/างงานอยู/ในระดับต่ํา โดยด$านการ จ$างงาน มีจํานวน 429,939 คน ลดลง จํานวน 40,717 คน เมื่อเทียบกับช/วงเดียวกันของปJก/อน ตามการ ชะลอตัวทางเศรษฐกิจภาพรวมของจังหวัด อัตราเงินเฟdอทั่วไปในไตรมาส 2 ปJ 2559 หดตัวร$อยละ 0.4 ผลจากแรงกดจากเงินเฟdอด$านต$นทุนสูงขึ้นจากราคาเชื้อเพลิงในประเทศที่ปรับเพิ่มขึ้นตลอดช/วงประมาณการ ตามราคาน้ํามันดิบและราคาสินค$าโภคภัณฑ เปนสําคัญ ประกอบกับแรงกดดันจากด$านอุปสงคที่ยังต่ําตามการ ฟstนตัวทางเศรษฐกิจอย/างช$าๆ 1.2 แนวโน\"มเศรษฐกิจจังหวัดมหาสารคาม ไตรมาส 3 ปJ 2559 ด$านการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ เศรษฐกิจจังหวัดมหาสารคาม ไตรมาส 3 ปJ 2559 คาดว/าจะขยายตัวในอัตราร$อยละ 6.2 (โดยมีช/วงคาดการณ ที่ร$อยละ 4.9-7.3) เมื่อเทียบกับไตรมาส 2 ปJ 2559 โดยมีภาคเกษตร ๗๑
ภาคอุตสาหกรรม ภาคการบริการ การบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และการใช$จ/ายภาครัฐ เปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด จําแนกเปน ด\"านอุปสงค คาดว/าจะชะลอตัวร$อยละ 8.8 (โดยมีช/วงการคาดการณที่ 7.3-9.8) ขยายตัว จากไตรมาส 2 ปJ 2559 โดยคาดว/าการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร$อยละ 7.5 จากที่ หดตัวร$อยละ 32.2 ในไตรมาส 2 ปJ 2559 ตามมาตรการกระตุ$นเศรษฐกิจของภาครัฐ โดยมีแรงสนับสนุนจากรายได$ที่ปรับดีขึ้น ประกอบกับความเชื่อมั่นของครัวเรือนในภาคเกษตรกรรมปรับดีขึ้นตามราคาสินค$าเกษตรที่เพิ่มขึ้น สําหรับการลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร$อยละ 9.6 เนื่องจากพื้นที่อนุญาตก/อสร$างรวม สินเชื่อเพื่อการลงทุนรวม และจํานวนรถยนตเพื่อการพาณิชยต/อทะเบียนใหม/ขยายตัวร$อยละ 2.5 9.7 และ 2.0 ตามลําดับ โดยเฉพาะการลงทุนในหมวดก/อสร$างที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการของภาครัฐซึ่งปรับตัวดีขึ้น การใช$จ/ายภาครัฐ ซึ่งเปนแรงผลักสําคัญต/อเศรษฐกิจ คาดว/าจะขยายตัวร$อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับที่หดตัว ร$อยละ 3.0 ในไตรมาส 2 ปJ 2559 ตามมาตรการเร/งรัดการใช$จ/ายเงินงบประมาณที่ได$รับจัดสรรเพื่อกระตุ$น เศรษฐกิจของภาครัฐ และออกมาตรการกระตุ$นเศรษฐกิจเพิ่มเติมช/วยสร$างความเชื่อมั่นและสนับสนุนการใช$ จ/ายของภาคเอกชนเพื่อกระตุ$นเศรษฐกิจในไตรมาส 3 จนถึงสิ้นปJ 2559 ด\"านอุปทาน คาดว/าจะขยายตัวในอัตราร$อยละ 7.3 (โดยมีช/วงการคาดการณที่ร$อยละ 6.2- 8.6) โดย การผลิตภาคการเกษตร คาดว/าจะขยายตัวในอัตราร$อยละ 3.8 (โดยมีช/วงคาดการณที่ร$อยละ 3.0- 4.7) ขยายตัวจากปJ 2558 ที่หดตัวร$อยละ 13.2 ปEจจัยเสี่ยงที่ต$องระมัดระวัง ได$แก/ ปEญหาภัยแล$ง และโรคระบาดที่อาจส/งผลต/อการขยายตัวในภาคเกษตร ส/วนด$านราคาผลผลิตคาดว/าจะขยายตัวอยู/ในเกณฑดี จากที่หดตัวในปJ 2558 และคาดว/ารายได$เกษตรกรในปJ 2559 จะขยายตัวได$ดี ภาคอุตสาหกรรม คาดว/าจะ ชะลอตัวร$อยละ 4.2 (โดยมีช/วงการคาดการณที่ร$อยละ 3.4-5.4) จากที่ชะลอตัวร$อยละ 5.2 ในปJ 2558 ผลกระทบจากการลดกําลังการผลิตของอุตสาหกรรมแปรรูปสินค$าเกษตรที่มีการเร/งการผลิตไปเปนจํานวนมาก ในปJก/อน รวมทั้งอัตราค/าแรงขั้นต่ําและต$นทุนในการผลิตสินค$ายังอยู/ในระดับสูง และภาคบริการและการ ท/องเที่ยว คาดว/าจะขยายตัวร$อยละ 8.3 (โดยมีช/วงคาดการณที่ร$อยละ7.1-9.4) ขยายตัวต/อเนื่องจากปJ 2558 ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และตามรายได$เกษตรกรที่ขยายตัวในปJ 2559 2.2 ด$านเสถียรภาพ เศรษฐกิจภายในจังหวัดไตรมาส 3 ปJ 2559 มีแนวโน$มอยู/ในเกณฑดี การว/างงานอยู/ในระดับต่ํา คาดว/าอัตรา เงินเฟdอทั่วไปจะอยู/ที่ร$อยละ 1.6 ต/อปJ (โดยมีช/วงคาดการณที่ร$อยละ 1.0-2.0 ต/อปJ) จากที่ติดลบต/อเนื่อง ตลอดทั้งปJ 2558 ต/อเนื่องถึงไตรมาส 2 ปJ 2559 ตามราคาพลังงานและอุปสงคในประเทศที่ยังอ/อนแอ สํานักงานคลังจังหวัด ได$วิเคราะหเกี่ยวกับปEจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจในปJ 2559 ของจังหวัด มหาสารคามที่ต$องติดตามอย/างต/อเนื่อง และพบว/า สาระสําคัญที่มีผลกระทบต/อภาวะเศรษฐกิจ ดังนี้ 1) ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ จากปEญหาภัยแล$งที่ยาวนานและรุนแรงสุดในรอบ 20 ปJ ส/งผลกระทบต/อเนื่องไปยังธุรกิจนอกภาคเกษตรทั้งการผลิตในภาคอุตสาหกรรม และภาคการท/องเที่ยว และมี ผลกระทบต/อรายได$ภาคเกษตรซ้ําเติมจากปEญหาราคาสินค$าเกษตรตกต่ํา แม$อาจจะไม/ลุกลามจนกระทบการ อุปโภคและบริโภคและกิจกรรมในภาคธุรกิจ แต/ทําให$กําลังซื้อในระดับฐานรากยังไม/ดีขึ้น 2) ความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟUอ จากราคาน้ํามันในตลาดโลกที่ผันผวนตลอดเวลา อาจจะ ส/งผลให$อัตรา เงินเฟdอเพิ่มขึ้น โดยได$รับแรงกดดันจากราคาสินค$าโภคภัณฑ ทั้งราคาอาหารและราคาน้ํามันที่ เร/งตัวขึ้นจากเศรษฐกิจโลก และความต$องการภายในประเทศที่ขยายตัวต/อเนื่อง ต$นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะราคาสินค$าอุปโภคบริโภคมีแนวโน$มปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงค/าจ$างแรงงานขั้นต่ําที่ปรับเพิ่มขึ้น ในขณะ ที่ต$นทุนการผลิตสินค$าทางการเกษตรยังคงสูงขึ้นอย/างต/อเนื่อง ส/งผลให$ผู$ประกอบการต$องปรับราคาสินค$า ๗๒
เพิ่มขึ้น เช/น ราคาสินค$าอุปโภคบริโภคและราคาวัสดุก/อสร$างตามความต$องการของผู$บริโภค และการ ดําเนินการก/อสร$างตามโครงการต/างๆ ของภาครัฐและภาคเอกชน 3) ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ส/งผลกระทบต/อผู$ประกอบการและนักลงทุน โดยเฉพาะผู$ประกอบการขนาดกลางและขนาดย/อมที่มีข$อจํากัดในการเข$าถึงแหล/งเงินทุน รวมทั้งการจับจ/ายใช$ สอยในประเทศ ทั้งภาคธุรกิจและครัวเรือน ที่จะเปนแรงสนับสนุนสําคัญให$กับการเติบโตของเศรษฐกิจไทย ในช/วงที่เศรษฐกิจโลกและการส/งออกยังอ/อนแอ มาตรการเสริมที่จะมากระตุ$นจากภาครัฐไม/ควรสะดุดลง การใช$จ/ายด$านต/างๆ โดยเฉพาะการลงทุนภาครัฐ ตลอดจนปEจจัยแวดล$อมทางเศรษฐกิจ เช/น การกู$ยืมที่ยังอยู/ ในระดับต่ํา ความเชื่อมั่นของผู$บริโภค ในการช/วยเปนแรงสนับสนุนให$กิจกรรมทางเศรษฐกิจดําเนินต/อไปได$ไม/ แข็งแกร/งเท/าที่ควร 4) ความเสี่ยงทางการเมือง เริ่มมีสัญญาณร$อนแรงขึ้น โดยเฉพาะการทําประชามติรับร/าง รัฐธรรมนูญ ที่จะมีขึ้นในวันที่ 7 สิงหาคม 2559 ซึ่งหากผ/านประชามติก็จะสามารถเลือกตั้งได$ภายในปJ 2560 ตาม Roadmap แต/หากไม/ผ/าน อาจส/งผลให$การเลือกตั้งจะต$องเลื่อนออกไป ซึ่งจะส/งผลกระทบต/อ ความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั้งไทยและต/างประเทศ และอาจเปนชนวนให$เกิดความวุ/นวายขึ้น 5) ความเสี่ยงจากป;จจัยภายนอกประเทศ ได$แก/ เศรษฐกิจจีนชะลอตัวแรงกว/าที่คาด เงินทุนไหลออกจากตลาดเกิดใหม/หลังธนาคารกลางสหรัฐทยอยขึ้นดอกเบี้ย ราคาโภคภัณฑตกต่ํากดดันราคา สินค$าเกษตรและมูลค/า การส/งออก รวมทั้งปEญหาการเมืองระหว/างประเทศ เช/น การก/อการร$าย 2. ด\"านการเกษตร จังหวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 3,307,301.875 ไร/ และจากสถิติเมื่อปJ พ.ศ. 2556 จังหวัดมีพื้นที่ ทําการเกษตรเท/ากับ 2,922,263 ไร/ คิดเปนร$อยละ 88.36 ของพื้นที่จังหวัด โดยมีพืชเศรษฐกิจหลัก ที่สําคัญ ได$แก/ ข$าวนาปJ อ$อยโรงงาน และมันสําปะหลัง และปJเพาะปลูก 2558/2559 พบว/า มีพื้นที่ ปลูกข$าวจํานวน 2,096,233 ไร/ มีผลผลิตจํานวน 716,286.94 ตัน มันสําปะหลังมีเนื้อที่เพาะปลูก จํานวน 115,200 ไร/ มีผลผลิตจํานวน 375,535.95 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต/อไร/ 3,370 ก.ก./ไร/ และ อ$อยโรงงาน 147,486 ไร/ มีผลผลิต 1,505,328.75 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต/อไร/เท/ากับ 11,250 ก.ก./ไร/ เนื่องจาก จังหวัดมหาสารคามมีแหล/งน้ําต$นทุนสายหลัก คือ แม/น้ําชี แต/การบริหารจัดการใช$ แม/น้ําชี ยังไม/มีประสิทธิภาพมากพอ ประกอบกับสภาพดินมีความสามารถในการอุ$มน้ําต่ํา ขาดความอุดม สมบูรณ และระบบชลประทานไม/ทั่วถึง นั่นคือ พื้นที่ศักยภาพปลูกข$าว 2,114,524 ไร/ คิดเปนร$อยละ 75.01 ของเนื้อที่ถือครองทางการเกษตร และคิดเปนร$อยละ 63.94 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น แยกเปน 1. พื้นที่เหมาะสมมากถึงปานกลาง 1,443,089 ไร/ คิดเปนร$อยละ 51.20 ของเนื้อที่ถือครอง การเกษตร และคิดเปนร$อยละ 43.63 ของพื้นที่จังหวัด 2. พื้นที่ความเหมาะสมน$อยถึงไม/เหมาะสม 671,435 ไร/ คิดเปนร$อยละ 23.81 ของเนื้อที่ ถือครองการเกษตร และคิดเปนร$อยละ 20.30 ของพื้นที่จังหวัด 3. อําเภอที่มีความเหมาะสมในการปลูกมากที่สุด (เหมาะสมมากถึงปานกลาง) คือ อําเภอโกสุม พิสัย 261,682 ไร/ รองลงมาคือ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย 225,257 ไร/ และอําเภอวาปJปทุม 210,234 ไร/ และในจังหวัดมหาสารคามมีพื้นที่ เกษตรกรรม จํานวน 2,257,721 ในจํานวนนี้ มีพื้นที่ ที่ได$รับการพัฒนา คุณภาพดิน ตั้งแต/ปJ 2556 – 2558 จํานวนทั้งสิ้น 369,935 ไร/ (คิดเปนร$อยละ 16.4) สําหรับในด$านการปศุสัตว เปนเกษตรกรรมที่สําคัญที่จังหวัดได$ขับเคลื่อนให$เกษตรกรหันมา เลี้ยงสัตวเปนอาชีพหลักเพิ่มมากขึ้น เพื่อทดแทนการปลูกข$าวเพื่อสนองตอบนโยบายของรัฐบาลในการลดการ ใช$น้ําเพื่อการเกษตร โดยจังหวัดมีสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญ เช/น โคเนื้อ โคนม กระบือ และสุกร โดยมีจํานวน ๗๓
เกษตรกรผู$เลี้ยงเท/ากับ 45,146 ราย มีสัตวที่เลี้ยงจํานวน 207,153 ตัว โดยเฉพาะโคเนื้อมีเกษตรกร ที่เลี้ยงถึงจํานวน 31,150 ราย มีโคเนื้อถึงจํานวน 116,440 ตัว และมีแนวโน$มการเลี้ยงโคเนื้อที่เพิ่มขึ้น ทุกปJ เนื่องจากจังหวัดต$องการให$เกษตรกรหันมาทําการเกษตรที่ใช$น้ําน$อย ทดแทนการปลูกพืชหรือทํานาข$าว 3. ด\"านการอุตสาหกรรม สถิติข$อมูลสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ได$รับอนุญาตให$ประกอบกิจการ (สะสม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จํานวน 442 แห/ง เพิ่มขึ้นจากเดิม 9 แห/ง มีจํานวนเงินทุนรวมทั้งสิ้น 11,255,856,285 บาท สําหรับประเภทสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่มีมากที่สุดคือ อุตสาหกรรมอโลหะ มี 81 แห/ง รองลงมาคือ อุตสาหกรรมไม$และผลิตภัณฑจากไม$ มี 53 แห/ง สถานประกอบการอุตสาหกรรม ที่มี เงินทุนจดทะเบียนมากที่สุดคือ อาหาร มีเงินทุน 3,352.96 ล$านบาท รองลงมาคือ การเกษตร มีเงินทุน 2,362.57 ล$านบาท จากข$อมูลสํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห/งชาติ พบว/า ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในปJ พ.ศ. 2557 เท/ากับ 5,701 ล$านบาท เพิ่มสูงขึ้นจากปJ พ.ศ. 2556 ซึ่งมีค/าเท/ากับ 5,049 ล$านบาท และมีแนวโน$มชะลอตัวตามกระแสตลาดโลก 4. แหล9งท9องเที่ยว จังหวัดมหาสารคาม มีแหล/งท/องเที่ยวทางประวัติศาสตรและศาสนสถานที่สําคัญอยู/หลายแห/ง อาทิ พระธาตุนาดูน วัดมหาชัย พระพุทธรูปยืนมิ่งเมือง พระพุทธรูปยืนมงคล และกู/สันตรัตน นอกจากนี้ยังมี แหล/งท/องเที่ยวธรรมชาติที่น/าสนใจ อาทิ วนอุทยานโกสัมพี วนอุทยานชีหลง แก/งเลิงจาน เขตห$ามล/าสัตว ปaาดูนลําพัน สะพานไม$แกดํา ในปJ 2556 จังหวัดมีรายได$จากการท/องเที่ยวจํานวน 630.24 ล$านบาท เพิ่มขึ้นจากเดิมในปJ พ.ศ. 2555 จํานวน 550.86 ล$านบาท เพิ่มขึ้นจากปJ 2554 จํานวน 435.86 ล$านบาท และเพิ่มขึ้นจากปJ 2553 จํานวน 288.11 ล$านบาท นั่นแสดงให$เห็นว/า รายได$จากการท/องเที่ยว มีแนวโน$มที่เพิ่มขึ้น และเปนไปในทิศทางเดียวกันกับ ที่มีแนวโน$มเพิ่มขึ้นเช/นกัน มีจํานวนนักท/องเที่ยวในปJ 2554 จํานวน 377,476 คน เพิ่มขึ้นในปJ 2555 จํานวน 427,047 คน และเพิ่มขึ้นในปJ 2556 จํานวน 479,083 คน จากการสํารวจความต$องการของประชาชนในพื้นที่ พบว/า ต$องการให$พัฒนาแหล/งท/องเที่ยว ในจังหวัดให$เปนรูปธรรม เช/น หมู/บ$านโฮมสเตยในแหล/งท/องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการท/องเที่ยว เชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เพื่อให$จังหวัดมหาสารคามเปนศูนยกลางการท/องเที่ยวและแหล/งเรียนรู$ทาง ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อพิจารณารายได$จากการท/องเที่ยวในจังหวัดมหาสารคามในระหว/างปJ 2554 – 2556 และจํานวนนักท/องเที่ยวเพิ่มขึ้นทุกปJเช/นกัน พบว/า รายได$จากการท/องเที่ยวมีแนวโน$มเพิ่มขึ้นทุกปJ ตาราง 25 แสดงจํานวนรายได$จากการท/องเที่ยวและจํานวนนักท/องเที่ยว ระหว/างปJ 2554 – 2556 ปJ รายได\"จากการท9องเที่ยว(ล\"านบาท) จํานวนนักท9องเที่ยว 2553 288.11 2554 435.86 377,476 2555 550.86 427,047 2556 630.24 479,083 ที่มา : การท/องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมหาสารคาม ๗๔
จากแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 4 ปJ (พ.ศ. 2557 – 2560) การท/องเที่ยวเชิงสร$างสรรค และวัฒนธรรมในจังหวัดมหาสารคาม เปนผลิตภัณฑที่สําคัญของจังหวัดมหาสารคาม ที่จะต$องมีการปรับปรุง และพัฒนาแหล/งท/องเที่ยวให$เปนน/าสนใจของนักท/องเที่ยว เพื่อก/อให$เกิดรายได$จากการท/องเที่ยวในจังหวัด มหาสารคาม แนวทางการพัฒนา คือ พัฒนาแหล/งท/องเที่ยวในจังหวัดให$เปนรูปธรรม เช/น ต$องการให$พัฒนา แหล/งท/องเที่ยวในจังหวัดให$เปนรูปธรรม เช/น หมู/บ$านโฮมสเตยในแหล/งท/องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการท/องเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เพื่อให$จังหวัดมหาสารคามเปนศูนยกลางการ ท/องเที่ยวและแหล/งเรียนรู$ทางศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในขณะที่ ตัวชี้วัดระดับประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การท/องเที่ยวเชิงสร$างสรรคและวัฒนธรรม โดยมีเปdาประสงคเพิ่ม รายได$จากการบริการด$านท/องเที่ยว โดยมีการกําหนดตัวชี้วัด 1 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. ร$อยละของนักท/องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น (ต/อปJ) 2. จํานวนสานที่ท/องเที่ยวที่ได$รับการฟstนฟูและพัฒนา (แห/ง/ปJ) การท/องเที่ยวเชิงสร$างสรรคและวัฒนธรรม สอดคล$องกับยุทธศาสตรที่ 2 ตามแผนพัฒนาจังหวัด มหาสารคาม พ.ศ. 2557 – 2560 โดยมีการกําหนดกลยุทธที่สําคัญ คือ ฟstนฟูแลพัฒนาการท/องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร และวัฒนธรรม โดยให$ความสําคัญกับแหล/งโบราณสถาน ศาสนา และประเพณีพื้นบ$าน 5. หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) จังหวัดมหาสารคาม ดําเนินงานตามนโยบายหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ ในปJ 2559 ดังนี้ 5.1 แยกตามประเภทผู$ผลิตผู$ประกอบการ จํานวน 834 ราย ดังนี้ 1) กลุ/มผู$ผลิตชุมชน จํานวน 710 ราย 2) ผู$ผลิตชุมชนที่เปนเจ$าของรายเดียว จํานวน 123 ราย 3) ผู$ผลิตวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย/อม (SMEs) จํานวน 1 ราย 5.2 แยกตามประเภทผลิตภัณฑ จํานวน 1,128 ผลิตภัณฑ ดังนี้ 1) ประเภทอาหาร จําวน 177 ผลิตภัณฑ 2) ประเภทเครื่องดื่ม จําวน 10 ผลิตภัณฑ 3) ประเภทผ$าและเครื่องแต/งกาย จําวน 385 ผลิตภัณฑ 4) ประเภทของมใช$ จํานวน 503 ผลิตภัณฑ 5) ประเภทสมุนไพรไม/ใช/อาหาร จําวน 53 ผลิตภัณฑ 5.3 แรงงานที่ใช$ในการผลิตสินค$า/ผลิตภัณฑ OTOP 1) แรงงานที่มีฝJมือและทักษะ จํานวน 767 กลุ/ม 2) แรรงงานทั่วไป จํานวน 155 กลุ/ม 5.4 จํานวนครั้งของการจําหน/าย/ตลาด ของผลิตภัณฑ OTOP 1) ตลาดในจังหวัด 816 ครั้ง 2) ตลาดภายในประเภท 261 ครั้ง 3) ตลาดต/างประเทศ จํานวน 7 ครั้ง 5.5 ความเชื่อมโยงของชุมชนกับกลุ/มผู$ผลิตผู$ประกอบการ OTOP 1) ใช$แรงงานในท$องถิ่น จํานวน 760 กลุ/ม 2) ใช$วัตถุดิบในท$องตลาด จํานวน 567 กลุ/ม ๗๕
3) ชุมชนร/วมบริการ จํานวน 325 กลุ/ม 4) อื่นๆ จํานวน 6 กลุ/ม 6. ด\"านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล\"อม จังหวัดมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อม ที่สําคัญดังนี้ 6.1 ทรัพยากรปZาไม\" ในปJ 2558 จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ปaา 138,896.37 ไร/ คิดเปน ร$อยละ 3.96 ของพื้นที่จังหวัด ส/วนใหญ/เปนปaาเต็งรังอยู/ทางทิศใต$ของพื้นที่จังหวัด ณ บริเวณอําเภอกุดรัง อําเภอบรบือ อําเภอนาเชือก อําเภอนาดูนและอําเภอวาปJปทุม และจังหวัดยังมีปaาสงวนแห/งชาติซึ่งได$ มอบให$ สปก. ปฏิรูปที่ดินแล$ว อีกจํานวน 10 แห/ง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ปaาสงวนแห/งชาติ ได$แก/ วนอุทยาน 2 แห/ง คือ วนอุทยานโกสัมพี ตั้งอยู/อําเภอโกสุมพิสัย เนื้อที่ 177.243 ไร/ และวนอุทยาน ชีหลง ตั้งอยู/ อําเภอกันทรวิชัย เนื้อที่ 279.159 ไร/ สําหรับสวนรุกชาติในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามพบว/า มีจํานวน 2 แห/ง ได$แก/ สวนรุกชาติพุทธมณฑล อําเภอนาดูน และสวนรุกชาติท/าสองคอน อําเภอเมือง มหาสารคาม และยังมีเขตห$ามล/าสัตวปaา 1 แห/ง โดยจังหวัดมีพื้นที่ซึ่งได$ประกาศเปนเขตคุ$มครอง สิ่งแวดล$อม ได$แก/ เขตห$ามล/าสัตวปaาดูนลําพัน อําเภอนาเชือก เนื้อที่ประมาณ 376.025 ไร/ 6.2 ทรัพยากรดิน ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามสามารถจําแนกกลุ/มดินของจังหวัดมหาสารคามได$เปน 3 กลุ/ม ใหญ/ ได$แก/ 1) กลุ/มดินไร/ โดยแบ/งเปน 2 กลุ/มย/อย กลุ/มแรกเปนกลุ/มดินไร/ทั่วไปซึ่งมีพื้นที่เพียงเล็กน$อย เท/านั้น ส/วนใหญ/อยู/ในพื้นที่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด ประกอบด$วย พื้นที่บางส/วนของอําเภอวาปJปทุม และอําเภอแกดํา กลุ/มที่สอง เปนกลุ/มดินไร/ทราย ส/วนใหญ/จะอยู/ในบริเวณทิศตะวันตกของจังหวัด บริเวณอําเภอโกสุมพิสัย อําเภอบรบือ และอําเภอนาเชือก 2) กลุ/มดินนา ครอบคลุมพื้นที่ทางทิศเหนือและทิศ ใต$ของจังหวัดสามารถแยกออกเปนกลุ/มย/อยตามคุณสมบัติของดินได$เปน กลุ/มแรกเรียกว/า กลุ/มดินนาทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่อําเภอเชียงยืน อําเภอวาปJปทุม อําเภอนาดูน อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และบางส/วนของอําเภอ เมือง กลุ/มสองเปนกลุ/มดินนาดี อยู/บริเวณลุ/มแม/น้ําชีทางทิศเหนือของจังหวัด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของอําเภอ โกสุมพิสัยและอําเภอกันทรวิชัย และบางส/วนจะอยู/ทางตอนใต$ของจังหวัด และ 3) กลุ/มดินคละ ส/วนใหญ/ อยู/ในบริเวณตอนกลางของจังหวัด สามารถแบ/งย/อยได$เปน กลุ/มดินไร/ทั่วไป คละกับดินนาทั่วไป ครอบคลุม พื้นที่ของอําเภอเมือง อําเภอบรบือ อําเภอนาเชือก อําเภอนาดูน และอําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และกลุ/มดินไร/ ทรายคละกับดินไร/ทั่วไป อยู/ในพื้นที่อําเภอเมือง อําเภอแกดํา และอําเภอวาปJปทุม และยังพบว/า ในพื้นที่ จังหวัดยังมีปEญหาเรื่องดินเค็ม ดินทรายจัด และดินปนกรวด กระจายทั่วไปทั้งพื้นที่จังหวัดประมาณ 2,442,724 ไร/ สําหรับพื้นที่ดินเค็มพบว/ามีกระจายทั่วไปทางตอนกลางและตอนล/างของจังหวัด จําแนกตาม ระดับความเค็ม ดังนี้ (1) ดินเค็มน$อย (slightly salt affected areas) เปนบริเวณที่พบคราบเกลือมีปริมาณน$อย กว/า 1% ของพื้นที่ มีอยู/ประมาณ 1 ล$านไร/ คิดเปนร$อยละ 32 ของพื้นที่นาในจังหวัดส/วนใหญ/อยู/ในพื้นที่ อําเภอเชียงยืน อําเภอโกสุมพิสัย อําเภอบรบือ อําเภอนาเชือก อําเภอวาปJปทุมและอําเภอพยัคฆภูมิพิสัย ทั้งนี้พื้นที่ดินเค็มน$อยหากมีการใช$ประโยชนดินอย/างไม/เหมาะสม เกลือจากน้ําใต$ดินมีโอกาสที่จะแพร/กระจาย ทําให$ดินแปรสภาพไปเปนดินเค็มปานกลาง หรือ เปนดินเค็มมาก ๗๖
(2) ดินเค็มปานกลาง (moderately salt affected areas) คือพื้นที่บริเวณที่พบคราบเกลือ กระจัดกระจายตามผิวดินมีปริมาณ 1 - 10% ของพื้นที่มีปริมาณรองลงมาครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1.7 แสนไร/ คิดเปนร$อยละ 5 ของพื้นที่จังหวัดอยู/ในที่ราบในเขตอําเภอพยัคฆภูมิพิสัย (3) ดินเค็มมาก (highly salt affected areas) คือบริเวณที่พบคราบเกลือตามผิวดิน กระจัดกระจายอยู/ทั่วไปมีปริมาณมากกว/า 10 % ของพื้นที่ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1.7 แสนไร/ คิดเปน ร$อยละ 5 ของพื้นที่จังหวัดอยู/ในบริเวณอําเภอวาปJปทุม พื้นที่ดินทรายจัดมีความอุดมสมบูรณค/อนข$างต่ําถึงต่ํามาก มีความสามารถในการอุ$มน้ําน$อย มีเนื้อที่ 1,177,256 ไร/ หรือร$อยละ 35.60 ของพื้นที่จังหวัด พบมากด$านทิศตะวันตกของจังหวัด ในเขตอําเภอบรบือ อําเภอโกสุมพิสัย รองลงมา ในเขตพื้นที่ อําเภอนาเชือก และอําเภอนาดูน ดินค/อนข$าง เปนทราย มีเนื้อที่ 1,014,205 ไร/ หรือ ร$อยละ 30.67 ของพื้นที่จังหวัด พบมากในเขตอําเภอวาปJปทุม รองลงมา อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย อําเภอเชียงยืน และอําเภอเมืองดินปนกรวดเปนดินตื้นปนลูกรังปนกรวด ที่มีการระบายน้ําได$ปานกลาง มีเนื้อที่ 4,630 ไร/ หรือ ร$อยละ 0.14 ของพื้นที่จังหวัดพบมากในเขตพื้นที่ อําเภอนาดูน รองลงมาในเขตพื้นที่ อําเภอวาปJปทุม อําเภอกันทรวิชัย และอําเภอบรบือ 7. ด\"านความมั่นคง ด\"านอาชญากรรม ด$านความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน ด$านสวัสดิการสังคม และด$านยุติธรรม ผลการวิเคราะหข$อมูลจากการสํารวจความต$องการของประชาชน พบว/า ประชาชนให$ความสําคัญ ประเด็นอาชญากรรมที่สําคัญ ดังนี้ 7.1 ด$านอาชญากรรม พบว/า ประชาชนต$องการในเจ$าหน$าที่ของรัฐสร$างความคุ$นเคย ในเครือญาติด$านความผูกพัน ในขณะเดียวกันอยากให$จังหวัดประกาศให$เปนเมืองปลอดภัย และให$ช/วยกันสร$าง วินัยในครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษา 7.2 ด$านความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน พบว/า ต$องการสร$างความอบอุ/นในครอบครัว และต$องการให$รัฐช/วยสร$างสังคมให$ปลอดอบายมุข 7.3 ด$านสวัสดิการสังคม พบว/า ประชาชนต$องการให$รัฐจัดให$มีสวัสดิการสังคมอย/างเท/าเทียม ทั่วถึง เสมอภาคและเปนธรรม อยากให$รัฐช/วยให$ประชาชนกินอิ่ม นอนอุ/น ทุนมี หนี้หมด มีระบบสวัสดิการ ให$ทั่วถึงตามรูปแบบสหกรณ มีการส/งเสริมอาสาสมัครประจําชุมชนเพื่อช/วยเหลือซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ยัง ต$องการส/งเสริมด$านการประกวดหมู/บ$านปลอดอบายมุข 7.4 ด$านยุติธรรม พบว/า ประชาชนต$องการให$รัฐใช$กฎหมายโดยเท/าเทียมกัน ต$องการตั้ง ศูนยไกล/เกลี่ยประนีประนอมข$อพิพาทระดับหมู/บ$าน ตําบล อําเภอ และจังหวัดโดยเฉพาะคดีอาญา ทั้งที่ยอม ความได$และยอมความไม/ได$ ก/อนที่จะมีการดําเนินคดีต/อศาล รวมถึงต$องการอบรมเผยแพร/ความรู$ด$านกฎหมาย ให$แก/ประชาชน นอกจากนี้ประชาชนต$องการให$มีคณะกรรมการปรองดองประจําชุมชน ให$ทุกหมู/บ$านสร$าง เงื่อนไขหรือมีข$อบังคับของหมู/บ$าน รวมถึงประชาชนยังต$องการให$มีการสร$างความเปนธรรมอย/างเปนรูปธรรม ที่ครอบคลุมในทุกระดับ ทุกปEญหา ทุกภาคส/วน และทุกชนชั้น ๗๗
ตอนที่ 3 การวิเคราะหสภาวะแวดล\"อมจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมีการประเมินสภาวะแวดล$อมทั้งภายในและภายนอกจังหวัดเพื่อให$รู$ถึงสถานะที่เปนจริง ในด$านจุดอ/อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคามที่ต$องระมัดระวังเพื่อเปนพื้นฐานของการกําหนดยุทธศาสตรการ พัฒนาจังหวัดที่เหมาะสม 1. การประเมินสภาวะแวดล$อม (SWOT Analysis) ของจังหวัด ปEจจัยภายใน (จุดแข็ง จุดอ/อน) และปEจจัยภายนอก (โอกาส ภัยคุกคาม) ซึ่งสามารถสรุปได$ ดังนี้ 1.1 จุดแข็ง (Strengths) (1) เปนแหล/งผลิตพืช ประมงน้ําจืด และสัตวเศรษฐกิจสําคัญ โดยเฉพาะ ข$าวหอมมะลิ โคเนื้อ พันธุปลาน้ําจืด (2) มีที่ตั้งเปนจุดศูนยกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สะดืออีสาน) สามารถเชื่อมโยง ด$านคมนาคมขนส/งและการท/องเที่ยวฯลฯ (3) มีแหล/งน้ําต$นทุนสายหลักคือ แม/น้ําชี (4) มีแหล/งท/องเที่ยวที่หลากหลาย เชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรมทางธรรมชาติ เช/น พระธาตุ นาดูน กู/สันตรัตน พระมิ่งเมือง บึงกุย อุทยานโกสัมพี และพัฒนา edutainment ได$ (5) เปนเมืองแห/งการศึกษา (ตักสิลานคร) ผลิตบุคลากรรองรับการเข$าสู/ AEC (6) มีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรรองรับวัตถุดิบในพื้นที่ เช/น โรงงานน้ําตาลและแปdง มันสําปะหลัง เปนต$น (7) มีภูมิปEญญาท$องถิ่นที่สามารถต/อยอดสร$างมูลค/าเพิ่ม สร$างงาน สร$างรายได$ ให$กับคน ในพื้นที่ เช/น เสื่อกก ผ$าไหมสร$อยดอกหมาก 1.2 จุดอ9อน (Weaknesses) (1) ประชากรบางส/วนมีรายได$ต่ําและยากจน (2) สภาพดินมีความสามารถในการอุ$มน้ําต่ํา ขาดความอุดมสมบูรณ และระบบชลประทาน ไม/ทั่วถึง (3) การผลิตพืชเกษตรส/วนใหญ/ยังไม/เปนไปตามมาตรฐาน GAP และมีการผลิตที่ไม/เหมาะสม กับพื้นที่ (4) การพัฒนาโครงสร$างพื้นฐานไม/ทันต/อการขยายตัวของเมือง มีสภาพชํารุด และเส$นทาง สายยุทธศาสตรยังไม/เปนเชื่อมโยงกับเส$นทางสายหลักและยังไม/เปนสี่ช/องจราจร (5) ประสิทธิภาพแรงงานต่ํา ขาดแคลนแรงงานฝJมือในภาคอุตสาหกรรม และมีการ เคลื่อนย$ายแรงงานออกนอกพื้นที่ (6) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษายังต่ํา และมีปEญหาสาธารณสุข(โรคเบาหวาน ความดัน) (7) มีพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต/อการเกิดอุทกภัยและภัยแล$ง ซึ่งส/งผลกระทบต/อผลผลิตเกษตร และคุณภาพชีวิตของประชาชน 1.3 โอกาส (Opportunities) (1) กระแสความต$องการอาหารคุณภาพสูงของสังคมโลก ทําให$สามารถปรับเปลี่ยนไปสู/การ ผลิตอาหารที่มีคุณภาพและมูลค/าสูง (2) รัฐบาลมีนโยบายส/งเสริมการท/องเที่ยวภายในประเทศ เปนโอกาสในการส/งเสริมการ ท/องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีพุทธของจังหวัด (3) การเป
ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปนโอกาสในการเชื่อมโยงการค$า การลงทุน และท/องเที่ยว และมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว/างกัน รวมทั้งสามารถขยายธุรกิจทางการศึกษา ๗๘
(4) นโยบายสร$างเส$นทางรถไฟรางคู/ของรัฐบาล (ผ/านบ$านไผ/ มหาสารคาม – ร$อยเอ็ด – มุกดาหาร – นครพนม) เปนโอกาสการพัฒนาเมือง ขยายการค$า การลงทุน การท/องเที่ยว และ ลดต$นทุน โลจิสติกสของจังหวัด (5) นโยบายของรัฐให$ความสําคัญกับอาหารปลอดภัย (Food Safety) เมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) เกษตรกรปราดเปรื่อง (SMART Farmer) และการบริหารจัดการน้ําและดินเพื่อการเกษตร จะเปนโอกาสส/งผลดีต/อการพัฒนาสินค$าเกษตร โดยเฉพาะข$าวคุณภาพ หรือข$าวอินทรียของจังหวัด 1.4 อุปสรรค (Threats) (1) ผลกระทบจากการเป
ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สินค$าบางประเภทจะมีการ แข/งขันมากขึ้น และอาจก/อให$เกิดปEญหาการเคลื่อนย$ายแรงงาน การก/อการร$าย และโรคระบาดจากประเทศเพื่อน บ$าน (2) ปEญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ส/งผลให$ผลผลิตด$านการเกษตรลดลง (3) ปEจจัยการผลิตมีการปรับราคาสูงขึ้น ส/งผลให$ต$นทุนการผลิตภาคเกษตร โดยเฉพาะพืช เศรษฐกิจหลักของจังหวัดปรับตัวสูงขึ้น สรุปผลการวิเคราะหสภาวะแวดล\"อมจังหวัดมหาสารคาม (Strengths) (Weaknesses) 1. แหล/งผลิตพืช ประมง สัตวเศรษฐกิจ (ข$าวหอมมะลิ โคเนื้อ 1. ประชากรบางส/วนมีรายได$ต่ําและยากจน พันธุปลาน้ําจืด) 2. สภาพดินมีความสามารถในการอุ$มน้ําต่ํา ขาดความอุดม 2. จุดศูนยกลางของภาคอีสาน เชื่อมโยงการคมนาคมและการ สมบูรณ และระบบชลประทานไม/ทั่วถึง ท/องเที่ยวฯลฯ 3. การผลิตพืชเกษตรส/วนใหญ/ยังไม/เปนไปตามมาตรฐาน 3. แหล/งน้ําต$นทุนสายหลักคือ แม/น้ําชี GAP และมีการผลิตที่ไม/เหมาะสมกับพื้นที่ 4. แหล/งท/องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรม ทางธรรมชาติ 4. การพัฒนาโครงสร$างพื้นฐานไม/ทันต/อการขยายตัวของ เช/น พระธาตุนาดูน กู/สันตรัตน พระมิ่งเมือง บึงกุย อุทยาน เมือง มีสภาพชํารุด และเส$นทางสายยุทธศาสตรยังไม/เปน โกสัมพี และพัฒนา edutainment ได$ เชื่อมโยงกับเส$นทางสายหลักและยังไม/เปนสี่ช/องจราจร 5. แหล/งการศึกษา (ตักสิลานคร) ผลิตบุคลากรรองรับการเข$าสู/ 5. ประสิทธิภาพแรงงานต่ํา ขาดแคลนแรงงานฝJมือใน AEC ภาคอุตสาหกรรม และมีการเคลื่อนย$ายแรงงานออกนอก 6. โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปด$านเกษตรรองรับวัตถุดิบใน พื้นที่ พื้นที่ เช/น โรงงานน้ําตาลและแปdงมันสําปะหลัง เปนต$น 6. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษายังต่ํา และมีปEญหาสาธารณสุข 7. ภูมิปEญญาท$องถิ่นเพื่อสร$างมูลค/าเพิ่ม สร$างรายได$ ให$กับคน (โรคเบาหวาน ความดัน) ในพื้นที่ เช/น เสื่อกก ผ$าไหมสร$อยดอกหมาก 7. มีพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต/อการเกิดอุทกภัยและภัยแล$ง ซึ่งส/งผลกระทบต/อผลผลิตเกษตรและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน (Opportunities) (Threats) 1. กระแสความต$องการอาหารคุณภาพสูงของสังคมโลก 1. ผลกระทบจากการเป
ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2. รัฐบาลมีนโยบายส/งเสริมการท/องเที่ยวภายในประเทศ สินค$าบางประเภทจะมีการแข/งขันมากขึ้น และอาจก/อให$เกิด 3. การเป
ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปนโอกาสในการ ปEญหาการเคลื่อนย$ายแรงงาน การก/อการร$าย และโรคระบาด เชื่อมโยงการค$า การลงทุน และท/องเที่ยว และมีการแลกเปลี่ยน จากประเทศเพื่อนบ$าน วัฒนธรรมและธุรกิจทางการศึกษา 2. ปEญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ส/งผลให$ 4. นโยบายสร$างทางรถไฟรางคู/ของรัฐบาล (บ$านไผ/ ผลผลิตด$านการเกษตรลดลง มหาสารคาม – ร$อยเอ็ด –มุกดาหาร – นครพนม) เปนโอกาส 3. ปEจจัยการผลิตมีการปรับราคาสูงขึ้น ส/งผลให$ต$นทุนการ การพัฒนาเมือง ขยายการค$า การลงทุน การท/องเที่ยว และ ๗๙
ลดต$นทุน โลจิสติกสของจังหวัด ผลิตภาคเกษตร โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด 5. นโยบายด$านอาหารปลอดภัย เมืองเกษตรสีเขียว การ ปรับตัวสูงขึ้น บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เกษตรกรปราดเปรื่อง และ การบริหารจัดการน้ําและดินเพื่อการเกษตร ส/งผลดีต/อการ พัฒนาสินค$าเกษตร โดยเฉพาะข$าวคุณภาพ หรือข$าวอินทรีย ของจังหวัด ผลประเมินสภาวะแวดล$อม (SWOT Analysis) ของจังหวัด ปEจจัยภายใน (จุดแข็ง จุดอ/อน) และปEจจัยภายนอก (โอกาส ภัยคุกคาม) จังหวัดจึงกําหนดวิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ไว$ว/า “เปนแหล งผลิตสินคาเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนยกลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ” ประกอบด$วย พันธกิจ จํานวน 4 ข\"อ ดังนี้ 1. ส/งเสริมการเกษตรกรรมของจังหวัด และปรับปรุงโครงสร$างพื้นฐานที่เอื้อต/อการผลิต 2. ส/งเสริมสนับสนุนให$ประชาชนน$อมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช$ในการดํารงชีวิต 3. ส/งเสริมอุตสาหกรรมอาหารและพลังงานทดแทนที่เชื่อมโยงกับฐานการผลิตของท$องถิ่น 4. เสริมสร$างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งด$านสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เปนสังคมเข$มแข็งและได$รับบริการพื้นฐานอย/างเท/าเทียมและทั่วถึง เปUาประสงคในภาพรวมของจังหวัดมหาสารคาม จํานวน 4 ข\"อ ดังนี้ เพื่อให$บรรลุวิสัยทัศนที่กําหนดไว$ จึงมีการกําหนดเปdาประสงคที่สําคัญไว$ ดังนี้ 1. ภาคการเกษตรมีความเข$มแข็งและสามารถสร$างมูลค/าเพิ่มให$กับจังหวัด 2. การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดเติบโตอย/างสมดุลและยั่งยืน 3. เปนศูนยกลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม 4. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร เพื่อให$การพัฒนาจังหวัดเปนไปตามกรอบวิสัยทัศนและเปdาประสงคที่กําหนดไว$ จึงได$กําหนดประเด็น ยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดใน 4 ประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : ปรับโครงสร$างการผลิตด$านการเกษตรให$เอื้อต/อการผลิตสินค$าเกษตร และอาหารคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : ส/งเสริมการค$า การลงทุน การท/องเที่ยวเชิงสร$างสรรค และวัฒนธรรม เปนมิตรกับสิ่งแวดล$อม ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : ส/งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสู/การเปนศูนยกลาง บริการทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สู/สังคมรู$รักสามัคคี เทิดทูนสถาบัน ของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท ๘๐
2. วิเคราะหความสัมพันธของสภาวะแวดล\"อมจังหวัดมหาสารคามระหว9างป;จจัยภายในกับ ป;จจัยภายนอก 2.1 จากจุดแข็งที่จังหวัดมีพืชและสัตวเศรษฐกิจหลัก ซึ่งได$แก/ ข$าว อ$อย โคเนื้อ ประกอบกับ นโยบายของรัฐบาลที่ส/งเสริมการเกษตรอินทรีย และกระแสความต$องการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพและความ ปลอดภัยสูง จังหวัดจะต$องให$ความสําคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับคุณภาพสินค$าเกษตร และปศุสัตว เพื่อส/งออกไปจําหน/ายทั้งในและต/างประเทศ นอกจากนี้การสร$างโรงงานเอทานอลในจังหวัดขอนแก/น จะทําให$ผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัด เช/น อ$อย มันสําปะหลัง สามารถส/งไปขายได$เพิ่มขึ้น ส/งผลให$เกษตรกรมี รายได$ที่เพิ่มขึ้น 2.2 การที่จังหวัดเปนจุดศูนยกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สะดืออีสาน) ที่สามารถ เชื่อมโยงด$านการคมนาคมขนส/งและการท/องเที่ยว ทําให$โอกาสการพัฒนาจังหวัดให$เปนศูนยกลางการท/องเที่ยวของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความเปนไปได$สูง ประกอบกับจังหวัดมีพระธาตุนาดูนที่สามารถส/งเสริมเปนแหล/ง ท/องเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรมได$ นอกจากนี้ กระแสความต$องการชิ้นส/วนอิเล็กทรอนิกสของตลาดโลก เปนโอกาสในการส/งเสริมให$จังหวัดเปนเขตอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส/วนอิเล็กทรอนิกสและประกอบชิ้นส/วน อิเล็กทรอนิกสเพื่อการส/งออก ดังนั้นจังหวัดควรเร/งพัฒนาโครงสร$างบริการพื้นฐานต/างๆ ให$พร$อมสนับสนุนการเปน ศูนยกลางการท/องเที่ยวและเขตส/งเสริมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส 2.3 จากการที่จังหวัดมีแหล/งน้ําต$นทุนสายหลัก คือ แม/น้ําชี แต/การบริหารจัดการใช$แม/น้ําชี ยังไม/มีประสิทธิภาพมากพอ ประกอบกับสภาพดินมีความสามารถในการอุ$มน้ําต่ํา ขาดความอุดมสมบูรณ และระบบชลประทานไม/ทั่วถึง จึงควรเร/งดําเนินการปรับปรุงพัฒนาแหล/งน้ํา เพื่อลดปEญหาและเพิ่มประสิทธิภาพ การใช$น้ําเพื่อการเกษตรให$ทั่วถึงเกิดความคุ$มค/าและประโยชนสูงสุด พร$อมทั้งปรับปรุงดินให$เหมาะสมกับการ เพาะปลูก และส/งเสริมให$เกษตรกรทําการเกษตรในพื้นที่ที่เหมาะสมกับการผลิตพืชเกษตร (Zoning) ด$วยการทํา เกษตรสมัยใหม/ที่มีการใช$เมล็ดพันธุพืชที่ให$ผลผลิตต/อไร/สูง และการใช$แนวทางเกษตรอินทรียที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดล$อม เพื่อเพิ่มมูลค/าสินค$าเกษตรจากกระแสความนิยมบริโภคอาหารปลอดสารพิษทั้งในและต/างประเทศ ที่มากขึ้น 2.4 จากปEญหาของประชากรมีรายได$ต่ําและยากจน โดยมีค/าเฉลี่ยต/อหัว (GPP per capital) ปJ พ.ศ. 2557 เท/ากับ 59,038 ล$านบาท โดยมีรายได$เฉลี่ยต/อคน/ปJ จํานวน 56,769 บาท เมื่อจัด เรียงลําดับตามผลิตภัณฑมวลรวมภายในจังหวัด ณ ราคาตลาด ต/อหัวต/อหนึ่งปJของประเทศ จังหวัดมหาสารคาม อยู/ในลําดับที่ 69 ของประเทศ เนื่องจากประชากรส/วนใหญ/ของจังหวัด อยู/ในภาคการเกษตร ที่ต$องเผชิญกับปEญหาความไม/ แน/นอนของผลผลิตทางการเกษตรและความผันผวนของราคาผลผลิตทางการเกษตร นอกจากนี้ ยังขาดการวิจัย และพัฒนาอาชีพด$านการเกษตร ที่จะส/งผลให$เกษตรกรสามารถลดต$นทุนการผลิต จึงมีความจําเปนต$องส/งเสริม ให$เปนแหล/งผลิตสินค$าการเกษตรแปรรูปและอาหารปลอดภัย ให$สอดคล$องกับความต$องการของตลาด เพื่อเพิ่ม รายได$ให$กับเกษตรกร รวมถึงควรเพิ่มสัดส/วนการลงทุน ในภาคนอกเกษตร โดยเฉพาะอุตสาหกรรมและบริการให$ มากขึ้น ซึ่งจะทําให$ประชากรมีรายได$ที่สูงขึ้นและมั่นคงยิ่งขึ้น ๘๑
บทที่ 4 ความเชื่อมโยงของแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม (พ.ศ.2561 – 2564) กับนโยบายรัฐบาล วิสัยทัศน+จังหวัดมหาสารคาม “เป-นแหล.งผลิตสินค0าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนย+กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” พันธกิจ 1. สงเสริมการเกษตรกรรมของจังหวัด และปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานที่เอื้อตอการผลิต 2. สงเสริมสนับสนุนใหประชาชนนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดํารงชีวิต 3. สงเสริมอุตสาหกรรมอาหารและพลังงานทดแทนที่เชื่อมโยงกับฐานการผลิตของทองถิ่น 4. เสริมสรางและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งดานสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย7สิน เป8นสังคมเขมแข็งและไดรับบริการพื้นฐานอยางเทา เทียมและทั่วถึง เป9าประสงค+รวม เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศน7ที่กําหนดไว จึงมีการกําหนดเป<าประสงค7ที่สําคัญไว ดังนี้ 1. ภาคการเกษตรมีความเขมแข็งและสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับจังหวัด 2. การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดเติบโตอยางสมดุลและยั่งยืน 3. เป8นศูนย7กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม 4. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร+ เพื่อใหการพัฒนาจังหวัดเป8นไปตามกรอบวิสัยทัศน7และเป<าประสงค7ที่กําหนดไว จึงไดกําหนดประเด็น ยุทธศาสตร7การพัฒนาของจังหวัดใน 4 ประเด็นยุทธศาสตร7 ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร+ที่ 1 : ปรับโครงสรางการผลิตดานการเกษตรใหเอื้อตอการผลิตสินคา เกษตรและอาหารคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร+ที่ 2 : สงเสริมการคา การลงทุน การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค7 และวัฒนธรรม เป8นมิตรกับสิ่งแวดลอม ประเด็นยุทธศาสตร+ที่ 3 : สงเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสูการเป8น ศูนย7กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ประเด็นยุทธศาสตร+ที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สูสังคมรูรักสามัคคี เทิดทูน สถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท7 ๘๒
แผนงบประมาณเชิงบูรณาการ FUNCTION AREA AGENDA ๘๓ ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร+ชาติกับแผนในระดับต.างๆ ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (6 ดาน) นโยบายความมั่นคงแห@งชาติ แผนบริหารราชการแผ@นดิน พ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติมทุกฉบับ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ@มจังหวัด นโยบายรัฐบาล 11 ขอ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ ฉบับที่ 12(10 ขอ) อาทิ แผนปฏิรูป/ แผนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน/แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล/ สิ่งแวดลอม/การศึกษา/สาธารณสุข/ วัฒนธรรม/การท@องเที่ยว แผนปฏิบัติการกระทรวง/กรม/หน@วยปฏิบัติ
เปNาประสงค : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร : พัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน สูสังคมรู#รักสามัคคี เทิดทูนสถาบัน ของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท* -สงเสริมการมีสวนรวมในการพัฒนา - พัฒนาทักษะฝMมือแรงงานเพื่อความมั่นคง - เสริมสร#างความมั่นคง และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย*สิน ๘๔ เคลื่อนย#ายแรงงานออกนอกจังหวัด - ผลกระทบจากการเปCด AEC สงผลให#เกิดการแขงขันและการ - ปEญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก สงผลให#ผลผลิต - ปEจจัยการผลิตมีการปรับราคาสูงขึ้น ทําให#ต#นทุนการผลิตภาค เกษตร โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดปรับตัวสูงขึ้น คุณภาพชีวิต ทางอาชีพ ยุทธศาสตร*กลุมจังหวัด อุปสรรค ด#านการเกษตรลดลง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปNาประสงค : เป-นศูนย*กลางบริการทางการศึกษา และวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร : สงเสริมและพัฒนาการจัด การศึกษาเพื่อยกระดับสูการเป-นศูนย*กลางบริการทาง การศึกษาและวัฒนธรรมของภาคะวันออกเฉียงเหนือ - บูรณาการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู# การวิจัย และการสร#างองค*ความรู#ทั้งระบบ - สงเสริมการบริการทางวิชาการ วิชาชีพและทํานุ บํารุงศาสนาศิลปวัฒนธรรมสูชุมชน - พัฒนาเครือขายสถาบันการศึกษาเพื่อนําไปสูก - กระแสความต#องการอาหารคุณภาพสูงของสังคมโลก ทําให#สามารถ ปรับเปลี่ยนอาหารพื้นฐานเป-นอาหารคุณภาพและมูลคาสูง สาธารณูปโภค - นโยบายของรัฐในการสงเสริมทั้งด#านการเกษตรและการสร#างระบบ - การเปCดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เป-นโอกาสในการเชื่อมโยง การค#า การลงทุน และทองเที่ยว วิสัยทัศน : เปLนแหล@งผลิตสินคาเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนยกลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร : สงเสริมการค#า การลงทุน และการทองเที่ยว โอกาส เปNาประสงค : การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดเติบโตอยางสมดุลและยั่งยืน เชิงสร#างสรรค*และวัฒนธรรม เป-นมิตรกับสิ่งแวดล#อม - สงเสริมการตลาด พัฒนาผลิตภาพการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ* - สงเสริมการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร* ศาสนา และวัฒนธรรม - ปHองกันแก#ไขปEญหาสิ่งแวดล#อมและสงเสริม อนุรักษ* ฟJKนฟู นโยบายรัฐบาล - การพัฒนาโครงสร#างพื้นฐานไมทัน ตอการขยายตัวของเมือง - ประชากรมีรายได#ต่ําและยากจน - แรงงานจังหวัดอยูในเกณฑ*ต่ํา -พืชสวนใหญยังมีการจัดการที่ไม เหมาะสมและขาดการพัฒนา - พัฒนาโครงสร#างพื้นฐาน ให#มีคุณภาพได#มาตรฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอยางเป-นระบบ ความต#องการของประชาชน จุดอ@อน - เป-นแหลงที่มีพืช/สัตว*เศรษฐกิจหลัก (ข#าว - เป-นศูนย*กลางภาค N/E ที่เชื่อมโยงทั้งด#าน คมนาคมและการทองเที่ยว - เป-นเมืองทางการศึกษาในการผลิต ทรัพยากรมนุษย*สู AEC เปNาประสงค : ภาคการเกษตรมีความเข#มแข็งและสามารถสร#าง ประเด็นยุทธศาสตร : ปรับโครงสร#างการผลิตด#านการเกษตร ให#เอื้อตอการผลิตสินค#าเกษตร และอาหารคุณภาพ - สงเสริมปEจจัยการผลิตเพื่อการเกษตร - สงเสริมการผลิตสินค#าเกษตรปลอดภัยและได#มาตรฐาน - เสริมสร#างความเ จุดแข็ง อ#อย โคเนื้อ) มูลคาเพิ่มให#กับจังหวัด
ความเชื่อมโยงของประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรประเทศ กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ นโยบายรัฐบาล และความตองการของประชาชน วิสัยทัศนประเทศ/ ยุทธศาสตรชาติ • มั่งคั่ง / การสร#างความสามารถในการแขงขัน , การสร#างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป-นมิตรตอสิ่งแวดล#อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม • การสร#างความเข#มแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันได#อยางยั่งยืน แห@งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายรัฐบาล การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ วิสัยทัศน เป-นแหลงผลิตสินค#าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนย*กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เปNาประสงค ภาคการเกษตรมีความเข#มแข็งและสามารถสร#างมูลคาเพิ่มให#กับจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร ปรับโครงสร#างการผลิตด#านการเกษตรให#เอื้อตอการผลิตสินค#าเกษตรและอาหารคุณภาพ ความตองการของประชาชน • บูรณาการจัดการน้ําจากแหลงต#นน้ําหลักเข#าสูพื้นที่เกษตรกรรม ปรับปรุงและพัฒนาระบบคลองชลประทาน เพิ่มแหลงน้ําผิวดินสงเสริมให#เกษตรกร การจัดหาเมล็ดพันธุ*ดี การทําเกษตรอินทรีย*ครบวงจร พัฒนาที่ดินและกําจัดศัตรูพืช ศูนย*กลางการวิจัยและองค*ความรู#ภาคเกษตรกรรม 1. โครงการสงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัด แผนงานโครงการ 2. โครงการผลิตสินค#าเกษตรปลอดภัย 3. โครงการสร#างความเข#มแข็งให#กับภาคการเกษตร 4. โครงการพัฒนาปรับปรุงแหลงน้ําเพื่อการเกษตร/อุปโภคบริโภค ๘๕
๘๖ ปลายน้ํา : การตลาด พัฒนาการตลาด เชื่อมโยงเครือข@าย ตลาดสินคา ขาวคุณภาพของ จังหวัดมหาสารคาม เพิ่มช@องทางการตลาด ปรับโครงสรางการผลิตดานการเกษตรใหเอื้อต@อการผลิตสินคาเกษตรและอาหารคุณภาพ การแปรรูปและเพิ่มมูลค@า พัฒนาผลิตภาพการผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ การจัดการความรู การแปรูปผลิตภัณฑ สรางบรรจุภัณฑและตราสินคา ขาวชุมชน กลางน้ํา : การติดตามและประเมินผล การจัดระบบ น้ํา/ดิน เพื่อการเกษตร พัฒนาแหล@งน้ํา/ ปรับปรุงดินเพื่อการเพาะปลูก ตนน้ํา : การผลิต พัฒนากระบวนการผลิต ส@งเสริมการผลิต ขาวหอมมะลิ ปลอดภัยไดมาตรฐาน GAP และอินทรีย ส@งเสริมการปลูกพืช/เลี้ยงสัตว ใหเหมาะสมกับพื้นที่ อบรม ถ@ายทอดเทคโนโลยีการผลิต แก@เกษตรกร การจัด พื้นที่เกษตร (zoning) และ การรวมกลุ@ม เกษตรกร Value Chain กิจกรรมหลัก กิจกรรมย@อย 28/12/57
ความเชื่อมโยงของประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรประเทศ กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ นโยบายรัฐบาล และความตองการของประชาชน วิสัยทัศนประเทศ/ ยุทธศาสตรชาติ • มั่งคั่ง / การสร#างความสามารถในกา รแขงขัน , การสร#างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป-นมิตรตอสิ่งแวดล#อม การสร#างความเข#มแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันได#อยางยั่นยืน , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ การเติบโตที่เป-นมิตรกับสิ่งแล#วล#อมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน , ฉบับที่ 12 การพัฒนาโครงการสร#างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส* การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ , การรักษาความมั่นคงและการสร#างสมดุลระหวางการอนุรักษ*กับการใช#ประโยชน* อยางยั่งยืน นโยบายรัฐบาล ความตองการของประชาชน การสงเสริมการค#าการลงทุน , การรักษาสิ่งแวดล#อม , การสงเสริมการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ,มีระบบการคมนาคมขนสงที่ดี วิสัยทัศน เป-นแหลงผลิตสินค#าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนย*กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เปNาประสงค การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดเติบโตอยางสมดุลและยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร สงเสริมการค#า การลงทุน และการทองเที่ยวเชิงสร#างสรรค*และวัฒนธรรม เป-นมิตรกับสิ่งแวดล#อม 1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ* OTOP และการตลาด แผนงานโครงการ 2. โครงการเปCดบ#านมหาสารคาม 3. โครงการรักษ*สิ่งแวดล#อม 4. โครงการปรับปรุงเส#นทางคมนาคมขนสง ๘๗
๘๘ ปลายน้ํา : ส@งเสริมศักยภาพ และโอกาส การตลาด เชื่อมโยงเครือข@าย ตลาดสินคา สรางตราสินคา (Branding) ส@งเสริมการตลาด ส@งเสริมการคาการลงทุน และการท@องเที่ยวเชิงสรางสรรค การพัฒนาระบบบริหารจัดการ พัฒนาคุณภาพ และแปรูป ผลิตภัณฑ ส@งเสริมศักยภาพผูประกอบการ การท@องเที่ยว ผลิตภัณฑชุมชน และวัฒนธรรม เปLนมิตรกับสิ่งแวดลอม กลางน้ํา : สรางความพรอม ในการประกอบธุรกิจ สินคาเกษตร การเตรียมความพรอมสู@ประชาคมอาเซียน ตนน้ํา : พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ใหเอื้อต@อการคาการลงทุน การพัฒนาระบบ พัฒนาการคมนาคม และการวางผังเมือง สาธารณูปโภค พัฒนาและฟ`aนฟูแหล@งท@องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ส@งเสริม ปNองกัน และ แกไขปeญหาสิ่งแวดลอม Value Chain กิจกรรมหลัก กิจกรรมย@อย 28/12/57
ความเชื่อมโยงของประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรประเทศ กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ นโยบายรัฐบาล และความตองการของประชาชน วิสัยทัศนประเทศ/ ยุทธศาสตรชาติ • ยั่งยืน / การพัฒนาและเสริมสร#างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ การเสริมสร#างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย* ฉบับที่ 12 การศึกษาและเรียนรู#การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม นโยบายรัฐบาล การพัฒนาและสงเสริมการใช#ประโยชน*จากวิทยาศาสตร* เทคโนโลยี การวิจัย และพัฒนา และนวัตกรรม เด็กเกงและดี ความตองการของประชาชน นําความรู#จากสถาบันสูชุมชน สงเสริมวัฒนธรรมท#องถิ่น วิสัยทัศน เป-นแหลงผลิตสินค#าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนย*กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เปNาประสงค เป-นศูนย*กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร สงเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสูการเป-นศูนย*กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แผนงานโครงการ 1. โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2. โครงการสงเสริมความรู#เพื่อชุมชนในการประกอบอาชีพ ๘๙
๙๐ การศึกษาเพื่อการพัฒนาจังหวัด การจัดการความรู เพื่อการพัฒนาจังหวัด หลักสูตร เกษตรกรรุ@นใหม@ หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ สินคาเกษตรและผลิตภัณฑชุมชน ส@งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสู@การเปLน ปลายน้ํา : ศูนยกลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลางน้ํา : การส@งเสริม การศึกษาระดับอุดมศึกษา ส@งเสริมคุณภาพทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพผลงานทางวิชาการ นวัตกรรม หรือ งานสรางสรรค ใหเปLนที่ยอมรับ บริการวิชาการ/วิชาชีพสู@ชุมชน การพัฒนาการทักษะ ทางภาษาและวิชาชีพ ผลลัพธ์ : การเตรียมความพรอมสู@ประชาคมอาเซียน ตนน้ํา :การพัฒนาการศึกษา ก@อนปฐมวัย-ขั้นพื้นฐาน พัฒนาคุณภาพ ทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพครูผูสอน สรางครูดีและเก@ง พัฒนาเด็ก-ผูเรียน ใหเปLนคนดีและเก@ง Value Chain กิจกรรมหลัก กิจกรรมย@อย 13/09/58
ความเชื่อมโยงของประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรประเทศ กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ ความตองการของประชาชน นโยบายรัฐบาล และ • มั่นคง , ยั่งยืน / มั่นคง , การสร#างโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมกันทางสังคม วิสัยทัศนประเทศ/ ยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห@งชาติ • ลดความเหลื่อมล้ําทางสังคม ฉบับที่ 12 • การเสริมสร#างความมั่นคงแหงชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสูความมั่นคั่งและยั่งยืน การปกปHองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย* นโยบายรัฐบาล การรักษาความมั่นคงของรัฐและการตางประเทศ การลดความเหลื่อมล้ําของสังคมและการสร#างโอกาสการเข#าถึงบริการของรัฐ การยกระดับคุณภาพบริการด#านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย*สิน ความตองการของประชาชน ปกปHองสถาบันของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย* สร#างความปรองดองสมานฉันท* การสงเสริมอาชีพตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน เป-นแหลงผลิตสินค#าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนย*กลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เปNาประสงค ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สูสังคมรู#รักสามัคคี เทิดทูนสถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท* แผนงานโครงการ 1. โครงการสงเสริมความเข#มแข็งให#ชุมชนและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก 2. โครงการสงเสริมอาชีพ 3. โครงการเมืองปลอดภัย ๙๑
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ๙๒ พัฒนาคุณธรรม เสริมสรางและ สู@สังคมรูรักสามัคคี เทิดทูนสถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท Value Chain ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน Value Chain ยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ปลายน้ํา :การพัฒนา คุณภาพชีวิตอย@างรอบดาน ส@งเสริมการมีส@วนร@วม ของประชาชน เสริมสรางและพัฒนาสุขภาวะ ปลูกฝekงค@านิยม ทางดานคุณธรรม จริยธรรม กลางน้ํา :พัฒนาทักษะฝมือและ สนับสนุนการประกอบอาชีพ ส@งเสริมและพัฒนา หมู@บาน เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาทักษะฝมือแรงงาน ส@งเสริมการประกอบอาชีพ สู@สังคมรูรักสามัคคี เทิดทูนสถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท สู@สังคมเอื้ออาทรและสมานฉันท การติดตามและประเมินผล ตนน้ํา :การเสริมสรางความมั่นคง ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน การบังคับใชกฎหมาย ปNองกันและแกไข ปeญหาอาชญากรรม ปNองกันและแกไข ปeญหายาเสพติด การปNองกันแกไขปeญหา สาธารณภัย Value Chain กิจกรรมหลัก กิจกรรมย@อย 28/12/57
แบบ จ.1 แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561 - 2564 วิสัยทัศน : เป.นแหล/งผลิตสินค1าเกษตรและอาหารคุณภาพ ศูนยกลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ค/าเป8าหมาย เป8าประสงคเชิง ประเด็นยุทธศาสตร ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2561 กลยุทธ ยุทธศาสตร 2561 2562 2563 2564 - 2564 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : 1.1 เพิ่ม 1.1.1 จํานวนผลผลิตพืช ปรับโครงสรางการผลิต ประสิทธิภาพการ สําคัญ (กก./ไร) ดานการเกษตรใหเอื้อตอ ผลิตสินคาการเกษตร - ขาว (กก./ไร) 400 400 400 400 400 การผลิตสินคาเกษตรและ - ออย (ตัน./ไร) 12 12 12 12 12 อาหารคุณภาพ - มัน (ตัน./ไร) 3.5 3.5 3.5 3.5 3.5 กลยุทธที่ 1 สงเสริมปGจจัยการผลิต เพื่อการเกษตร 1.2 เพิ่มพื้นที่กักเก็บ - รอยละของจํานวนแหลงน้ํา 100 100 100 100 100 น้ําเพื่อการเกษตร เป;าหมายไดรับการปรับปรุง อุปโภคบริโภค และพัฒนาเพื่อการเกษตร/ อุปโภคบริโภค 1.3 สินคาเกษตรมี - รอยละผลผลิตการเกษตร 95 95 95 95 95 กลยุทธที่ 2 คุณภาพและปลอดภัย เป;าหมายไดรับการตรวจ สงเสริมการผลิตสินคา รับรองมาตรฐานปลอดภัย เกษตรปลอดภัยและได มาตรฐาน 1.4 เพิ่มศักยภาพ - จํานวนเกษตรกร กลุม ใหแกเกษตรกร กลุม เกษตรกรและกลุมสหกรณ@ เกษตรกรและกลุม การเกษตร ที่ไดรับการการ กลยุทธที่ 3 สหกรณ@การเกษตร พัฒนาศักยภาพการผลิต การ เสริมสรางความเขมแข็ง แปรรูป การตลาด และศักยภาพใหแก - เกษตรกร ( ราย ) 500 500 500 500 2,000 เกษตรกร กลุมเกษตรกร - กลุมเกษตรกร ( กลุม ) 25 25 25 25 100 และกลุมสหกรณ@ - สหกรณ@การเกษตร 10 10 10 10 10 การเกษตร ( สหกรณ@ ) ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : 2.1 เพื่ออํานวย - รอยละของโครงการ 95 95 95 95 95 สงเสริมการคา การลงทุน ความสะดวกตอ เป;าหมายโครงสรางพื้นฐาน การทองเที่ยวเชิง การคาการลงทุน ไดรับการพัฒนาใหดีขึ้น กลยุทธที่ 1 สรางสรรค@ และ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน วัฒนธรรม เปCนมิตรกับ สิ่งแวดลอม 2.2 ผลิตภัณฑ@ชุมชน - รอยละที่เพิ่มขึ้นของ 10 10 10 10 10 เกษตรแปรรูป และ ผลิตภัณฑ@ชุมชนและ ผลิตภัณฑ@ ผลิตภัณฑ@อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม ที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน กลยุทธที่ 2 การเกษตรไดรับรอง (ตอปF) สงเสริมการตลาด มาตรฐาน พัฒนาผลิตภาพการผลิต และพัฒนาผลิตภัณฑ@ 2.3 เพิ่มมูลคาการ - รอยละที่เพิ่มขึ้นของมูลคา 3 3 3 3 3 ใหมีคุณภาพไดมาตรฐาน จําหนายสินคา การจําหนายสินคาเป;าหมาย ของจังหวัด (ขาวหอมมะลิ ,โค เนื้อ ,เสื่อกก ,ผาไหม) 2.4 เพิ่มรายไดจาก 2.4.1 รอยละที่เพิ่มขึ้นของ 3 3 3 3 12 กลยุทธที่ 3 การทองเที่ยว รายไดจากการทองเที่ยว สงเสริมการทองเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร@ ศาสนา และวัฒนธรรม 93
แบบ จ.1 ค/าเป8าหมาย เป8าประสงคเชิง ประเด็นยุทธศาสตร ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2561 กลยุทธ ยุทธศาสตร 2561 2562 2563 2564 - 2564 2.5 สิ่งแวดลอมอยูใน 2.5.1 อัตราการจัดการขยะ 50 50 50 50 50 สภาวะสมดุล มูลฝอยชุมชน ของเสีย อันตรายชุมชน และมูลฝอย กลยุทธที่ 4 ป;องกันแกไขปGญหา ติดเชื้ออยางถูกหลักวิชาการ สิ่งแวดลอมและสงเสริม ตอปริมาณขยะมูลฝอยของ อนุรักษ@ ฟUVนฟู จังหวัดไมนอยกวา (รอยละ) ทรัพยากรธรรมชาติอยาง เปCนระบบ 2.5.2 พื้นที่ปJาไมเพิ่มขึ้นไม 0.5 0.5 0.5 0.5 2 นอยกวารอยละ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : 3.1 มีการบูรณาการ - รอยละของคะแนนเฉลี่ย สงเสริมและพัฒนาการ สงเสริมสนับสนุน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุก จัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาคุณภาพ ระดับการศึกษาจากการ กลยุทธที่ 1 ยกระดับสูการเปCน การศึกษาทั้งระบบ ทดสอบระดับชาติเพิ่มขึ้น บูรณาการพัฒนาคุณภาพ ศูนย@กลางบริการทาง ( O-NET ) 3 3 3 3 การเรียนรู การวิจัย การศึกษาและวัฒนธรรม ( NT ) 3 4 5 5 และการสรางองค@ความรู ของภาค ( N-NET ) 2 2 2 2 ทั้งระบบ ตะวันออกเฉียงเหนือ 3.2 3.2.1 รอยละที่เพิ่มขึ้นของ 5 5 5 5 20 สงเสริมการศึกษา โครงการบริการทางวิชาการ วิจัย และพัฒนาองค@ ในสถาบันอุดมศึกษา/การ กลยุทธที่ 2 ความรู เพื่อบริการ อาชีวศึกษาสูชุมชน สงเสริมการบริการทาง ทางวิชาการสูชุมชน วิชาการ วิชาชีพและทํานุ 3.2.2 จํานวนงานสรางสรรค@ 5 5 5 5 20 บํารุงศาสนา งานวิจัย หรือ ศิลปวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรมสูชุมชน ที่ไดรับรางวัล/ยอมรับใน ระดับชาติ 3.3 - จํานวนโครงการความ 5 5 5 5 20 กลยุทธที่ 3 สรางเครือขาย/ความ รวมมือทางการศึกษาและ พัฒนาเครือขาย รวมมือทาง วัฒนธรรม ทั้งในและ สถาบันการศึกษาเพื่อ การศึกษาและ ตางประเทศ นําไปสูการเปCนศูนย@กลาง วัฒนธรรม ทั้งใน บริการทางการศึกษา และตางประเทศ ศาสนา และวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : 4.1 ประชาชนมี 4.1.1 จํานวนของหมูบาน 13 13 13 13 52 พัฒนาคุณภาพชีวิตของ คุณภาพชีวิตดีมี เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ประชาชน สูสังคมรูรัก ความสุข เพิ่มขึ้น สามัคคี เทิดทูนสถาบัน กลยุทธที่ 1 ของชาติ เอื้ออาทรและ 4.1.2 รอยละของ 90 90 90 90 90 สงเสริมการมีสวนรวมใน สมานฉันท@ กลุมเป;าหมาย เขารวม การพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรมตามโครงการพัฒนา ดานสาธารณสุข/ คุณธรรม และจริยธรรม 4.2 ลดอัตราการ 4.2.1 รอยละของประชาชน 40 40 40 40 40 วางงานและเพิ่ม วัยกําลังแรงงานที่ลงทะเบียน ทักษะแรงงานใหได วางงานมีงานทํา กลยุทธที่ 2 มาตรฐานการ พัฒนาทักษะฝFมือแรงงาน ฝRกอบรมอาชีพ เพื่อความมั่นคงทางอาชีพ 4.2.2 รอยละของแรงงานที่ 80 80 80 80 80 ผานการพัฒนาฝFมือทักษะ แรงงาน 94
แบบ จ.1 ค/าเป8าหมาย เป8าประสงคเชิง ประเด็นยุทธศาสตร ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2561 กลยุทธ ยุทธศาสตร 2561 2562 2563 2564 - 2564 4.3 เพิ่มความ รอยละของกลุมเป;าหมายที่ 80 80 80 80 80 สมานฉันท@ใหเกิดขึ้น เขารวมกิจกรรมสมานฉันท@ ในสังคม ในพื้นที่ กลยุทธที่ 3 เสริมสรางความมั่นคง 4.4 เพิ่มความ รอยละของจํานวนคดี 90 90 90 90 90 และความปลอดภัยใน ปลอดภัยในชีวิตและ อาชญากรรม ที่จับกุมได ชีวิตและทรัพย@สิน ทรัพย@สินของ ประชาชน คาใชจายในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ รวมทั้งสิ้น 95
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195