Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GR28 บ่อขยะกับมลพิษ

GR28 บ่อขยะกับมลพิษ

Published by Lib SRC, 2022-01-25 03:33:20

Description: GR28.1

Search

Read the Text Version

ISSN:1686-1612 Research ปที่ 11 ฉบับที่ 28 กันยายน 2557 เรอ� งเดนประจำฉบบั กา วหนาพัฒนา อันตรายใกลตวั มลพษิ จากการเผาขยะที่ ต.แพรกษา การประเมินการกระจายตัวของกลิ่น จ.สมทุ รปราการ ดว ยแบบจำลองคณุ ภาพอากาศ สารอนิ ทรยี ร ะเหยงายในอากาศจากเหตเุ พลงิ ไหมบ อ ขยะ ต.แพรกษา พึง่ พาธรรมชาติ ติดตามเฝา ระวัง มนุษยก บั ปญหาส่งิ แวดลอม การปนเปอนสาร Perfluorinated compounds (PFCS) ในตวั อยางนำ้ ผิวดนิ บรเิ วณปากแมน้ำหลกั 4 สาย และบริเวณรอบนคิ มอตุ สาหกรรมจังหวดั สมทุ รปราการ ลำพูน และระยอง

บ.ก.เเถลง EDITOR’S TALK กลบั มาเจอะเจอกนั อกี แลว้ กบั “Green Research” ฉบบั ท ่ี 28 ประจา� เดอื นกนั ยายน 2557 โดยฉบบั น ้ี เราไดร้ ว่ มกนั ศกึ ษายอ้ นรอยและเจาะลกึ ถงึ ปญั หามลพษิ ระดบั ชาตทิ เ่ี พง่ิ เกดิ ขนึ้ เมอื่ กลางปนี เ้ี อง นนั่ คอื “เพลงิ ไหมบ้ อ่ ขยะ ตำ� บลแพรกษำ จังหวดั สมุทรปรำกำร” ซงึ่ เหตไุ ฟไหมบ้ อ่ ขยะครง้ั นไี้ ดก้ ลายเปน็ หายนะ สง่ กลนิ่ เหมน็ และเกดิ ควนั ไฟ ทา� ใหช้ าวบา้ นในพน้ื ทแี่ ละบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นและอนั ตรายอยา่ งหนกั จากภยั ควนั พษิ กระทง่ั ในเวลาตอ่ มาไดม้ กี ารแจง้ เตอื นมาตรการในการปอ้ งกนั ตวั เอง เชน่ การอพยพออกนอกพน้ื ที่ การสวมใสห่ น้ากากป้องกันสารเคม ี หรอื การใชผ้ า้ ขนหนูชบุ น�้าปดิ จมูกแทนหน้ากาก เป็นต้น ดว้ ยเหตนุ เ้ี อง มลพษิ ในเหตกุ ารณด์ งั กลา่ วจงึ ถอื เปน็ บทเรยี นราคาแพงใหก้ บั ผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ภาคสว่ น ใหช้ ว่ ยกนั เฝา้ ระวงั ตดิ ตาม และดูแล เพอื่ ไม่ให้เกิดข้ึนอีก หรือหากเกดิ ขน้ึ ซา�้ ก็ควรส่งผลกระทบให้น้อยทส่ี ดุ เทา่ ทีจ่ ะนอ้ ยได้ นอกจากน ี้ ภายในเลม่ กย็ งั มบี ทความงานวจิ ยั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มอนื่ ๆ ทนี่ า่ สนใจไวใ้ หไ้ ดต้ ดิ ตามกนั เชน่ เคยตลอดทง้ั เลม่ แลว้ พบกนั ใหม ่ ฉบบั หนา้ ... GREEN RESEARCH CONTENTS กันยายน 2557 ที่ปรึกษา เร่ืองเด่นประจ�ำฉบับ P.01_อนั ตรายใกลต้ วั มลพษิ จากการเผาขยะ ท ี่ ต.แพรกษา จ.สมทุ รปราการ ภาวณี ี ปณุ ณกันต์ P.08_สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยในอากาศจากเหตเุ พลงิ ไหมบ้ อ่ ขยะ ต.แพรกษา เสรมิ ยศ สมมน่ั ตดิ ตำมเฝำ้ ระวัง สากล ฐนิ ะกลุ P.12_การปนเปอ้ื นสาร Perfluorinated compounds (PFCs) ในตัวอย่างนา�้ ผวิ ดินบริเวณปากแมน่ า�้ สายหลกั 4 สาย และบริเวณรอบนิคม บรรณาธิการบรหิ าร อตุ สาหกรรมจงั หวดั สมุทรปราการ ล�าพนู และระยอง P.16_ผลกระทบและความเสยี หายของสวนยางพาราอนั เนอ่ื งมาจากภยั พบิ ตั ิ สวุ รรณา เตียรถ์สุวรรณ ทางสภาพภมู อิ ากาศในภาคใต้ กรณศี กึ ษา : จงั หวัดพัทลงุ ก้ำวหน้ำพัฒนำ กองบรรณาธกิ าร P.23_การประเมนิ การกระจายตัวของกลิ่นด้วยแบบจ�าลองคณุ ภาพอากาศ P.26_การฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เร่ือง การวางแผนแบบมสี ว่ นรว่ มในการ โสฬส ขนั ธ์เครือ ลดมลพิษจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศโดยการจดั การขยะใน นติ ยา นักระนาด มลิ น์ Battambang Municipality ศริ นิ ภา ศรีทองทิม พึ่งพำธรรมชำติ หทยั รตั น์ การีเวทย์ P.29_มนุษยก์ บั ปญั หาสงิ่ แวดล้อม เจนวทิ ย์ วงษศ์ านนู P.31_ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ที่เกยี่ วกับการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ปญั จา ใยถาวร และสง่ิ แวดลอ้ มในจงั หวัดเพชรบุรี จินดารตั น์ เรืองโชติวทิ ย์ อาทติ ยา พามี P.29 P.1 ศนู ยว์ ิจัยและฝกึ อบรมด้ำนส่ิงแวดลอ้ ม P.8 กรมส่งเสริมคุณภำพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำติและสงิ่ แวดลอ้ ม เทคโนธำนี ตำ� บลคลองห้ำ อำ� เภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธำนี 12120 โทรศพั ท์ 02-577-4182-9 โทรสำร 02-577-1138 www.degp.go.th/website/20/

เรื่องเด่นประจ�ำฉบบั อนั ตรายใกล้ตวั มลพิษจากการเผาขยะ ท่ี ต.แพรกษา จ.สมทุ รปราการ รุจยา บุณยทุมานนท์ พีรพงษ์ สุนทรเดชะ เเฟรดาซ์ มาเหลม็ จาตุรงค์ เหลาเเหลม หายนะ ส่งกล่ินเหม็น เกิดกลุ่มควันสีด�ำ และฝุ่นละอองจ�ำนวนมาก ลอยปกคลุม ท้องฟ้าเป็นวงกว้างและลอยไประยะไกล ในทิศทางใต้ลม ท�ำให้ชาวบ้าน 3 ชุมชน 1,480 ครอบครัว หลังเกิดเหตุต้องอพยพ ออกจากพื้นท่ีในต�ำบลแพรกษาไปพักอาศัย อยู่ท่ีศูนย์พักพิงท่ีทางองค์การบริหาร สว่ นตำ� บลแพรกษาไดจ้ ดั เตรยี มเอาไว้ เพอื่ ความปลอดภยั จากมลพษิ ทเี่ กดิ จากการเผาขยะ ซึ่งเพลิงไหม้ดังกล่าวสามารถดับลงได้เมื่อ วนั ท่ี 22 มนี าคม 2557 เนอ่ื งจากมฝี นตกลง เม่อื ช่วงสายของวนั ที่ 12 พฤษภาคม 2557 มีรายงาน ในพน้ื ทด่ี งั กลา่ ว หลงั จากเกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้ ข่าวว่า เกิดเหตุเพลิงไหม้ขึ้นที่บ่อขยะแพรกษา ซอย 8 อ�ำเภอเมือง ครง้ั แรกแลว้ กย็ งั เกดิ เพลงิ ไหมข้ นึ้ อกี 2 ครง้ั จังหวัดสมุทรปราการ โดยเจ้าหน้าท่ีดับเพลิงได้เข้าไปยังพื้นท่ีเพื่อฉีดน้�ำ ในรอบ 2 เดือน ท�ำให้เจ้าหน้าท่ีดับเพลิง ควบคุมเพลิงแล้ว แต่เนื่องจากจดุ ทีม่ ไี ฟลุกไหมน้ ้นั อย่ตู รงบริเวณกลาง ตอ้ งระดมกำ� ลงั ฉดี นำ้� แรงดนั สงู เขา้ ระงบั เหตุ บ่อด้านหลังซึ่งด้านล่างเป็นน�้ำ ท�ำให้เจ้าหน้าที่ดับเพลิงต้องใช้บันได อย่างต่อเนื่องนานหลายชั่วโมง ประชาชน ไม้ไผ่พาดไปกับกองขยะ เพ่ือเป็นทางเดินเข้าไปให้ใกล้จุดท่ีเกิดเหตุมาก ที่อยู่ในพ้ืนที่ใต้ลมในรัศมี 1.5 กิโลเมตร ท่ีสุด ก่อนที่จะช่วยกันระดมฉีดน�้ำควบคุมเพลิง ท้ังน้�ำและโฟมสารเคมี อาจไดร้ บั อนั ตรายจากปรมิ าณฝนุ่ ขนาดเลก็ ดับเพลิง ใช้เครื่องบินเพ่ือโปรยน้�ำลงด้านล่าง โดยคาดว่าในช่วงเย็น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ ก็อาจไม่สามารถควบคุมเพลิงได้ เหตุไฟไหม้บ่อขยะครั้งนี้ได้กลายเป็น ไดออกไซด์ ทส่ี งู เกินค่ามาตรฐาน GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับที่ 28 กนั ยายน 2557 1

บอ่ ขยะแพรกษา มพี นื้ ทป่ี ระมาณ 150 ไร่ ขยะทบั ถม บา้ นเรอื นแล้วกม็ ีขยะอนั ตราย เชน่ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟา้ อยูถ่ งึ 50 เมตร มขี ยะรวมประมาณ 6 ล้านตนั เม่ือเกิดเหตุ กระป๋องสเปรย์ พลาสตกิ โฟมหรือแม้แตก่ ารลักลอบทิ้งขยะ เพลิงไหม้มีไฟลามไปท่ัวบริเวณบ่อขยะประมาณ 30 ไร่ อุตสาหกรรมและสารเคมีในบ่อขยะ และเมื่อเกิดเพลิงไหม้ บอ่ ขยะนเี้ ปน็ ของเอกชน คอื บรษิ ัท ต.แสงชยั ปากน�้ำ จ�ำกดั ท�ำให้สารอันตรายต่างๆ ฟุ้งกระจายและกลายเป็นมลพิษใน จากการตรวจสอบข้อมูลเก่ียวกับการจัดการขยะขององค์กร อากาศ และตกค้างในน�้ำและดิน ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ (อปท.) แหง่ หนง่ึ พบวา่ จ.สมทุ รปราการ เผาไหม้ขยะท่ีมีพลาสติกและโฟมปนอยู่ในขยะชุมชนหรือ มเี ขตปกครองทงั้ หมด 6 อำ� เภอ 18 เทศบาล 30 อบต. ตอ้ งนำ� ในอุปกรณ์ทางการแพทย์ซึ่งจะท�ำให้เกิดสารพิษท่ีเป็นสาร ขยะทง้ั หมดไปทง้ิ ทบ่ี อ่ ขยะของบรษิ ทั ต.แสงชยั ปากนำ้� เพยี ง กอ่ มะเร็ง แห่งเดียวเทา่ น้นั โดยทจ่ี ำ� นวนบอ่ ขยะในจังหวัดท้ังสน้ิ 3 บ่อ ไดแ้ ก่ บอ่ ทวี่ ดั ชงั เรอื ง อ.พระสมทุ รเจดยี ์ 1 บอ่ และใน ต.แพรกษา สารอนั ตรายจากบอ่ ขยะ อีก 2 บ่อ อย่างไรก็ดี บ่อขยะที่วัดชังเรือง ปัจจุบันได้ปิด กิจการไปแล้ว และปรับปรุงพ้ืนที่กลายเป็นหมู่บ้านจัดสรร สารไดออกซนิ และฟิวแรน จึงเหลือบ่อขยะที่ยังใช้งานอยู่จริงคือในพ้ืนท่ี ต.แพรกษา ซงึ่ เรยี กโดยยอ่ วา่ “สารไดออกซนิ ” ซง่ึ เปน็ สารกลมุ่ หนงึ่ เทา่ นน้ั ในกลมุ่ ของ Endocrine Disrupter Compounds (EDCs) มผี ล ท�ำใหเ้ กดิ ความผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มนในระบบตอ่ มไรท้ อ่ ทำ� ให้ กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม เหน็ วา่ เหตเุ พลงิ ไหม้ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง เกิดความผิดปกติของเซลล์ในร่างกาย บอ่ ขยะทเ่ี กดิ ขนึ้ มมี ลพษิ ทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของประชาชน สารดังกล่าวมีแหล่งก�ำเนิดจากการเผาไหม้ท่ีไม่สมบูรณ์ ทเี่ กดิ จากการเผาไหม้ จงึ ลงพนื้ ทเ่ี พอ่ื สำ� รวจและเกบ็ ตวั อยา่ ง มงี านวจิ ยั หลากหลายทศี่ กึ ษาการแพรก่ ระจายของสารไดออกซนิ อากาศระยะ 1 และ 10 กโิ ลเมตรจากบอ่ ขยะ นำ�้ ผวิ ดนิ และนำ้� และฟิวแรนในสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ปัจจุบันสามารถ ใตด้ นิ เพอ่ื ตรวจสารอนั ตรายหลายประเภทและเพอื่ เตอื นภยั คาดการณไ์ ดว้ า่ ประเทศไทยมแี หลง่ กำ� เนดิ ของสารไดออกซนิ ตอ่ ประชาชนทอี่ าจไดร้ บั ผลกระทบ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการเผาไหมท้ ่ี อยหู่ ลายประเภท เชน่ การจราจร เตาเผาประเภทตา่ งๆ เตาเผา ไมส่ มบรู ณ์ บรเิ วณชมุ ชนทอ่ี ยอู่ าศยั ทา้ ยลมระยะหา่ งจากบอ่ ขยะ ขยะติดเชื้อ เตาเผาขยะชุมชน การเผาในที่โล่งและการเผา แพรกษาทเ่ี กดิ เหตไุ ฟไหม้ 1 และ 10 กโิ ลเมตร เชน่ สารไดออกซนิ ขยะประเภทต่างๆ ในอุณหภูมิต่�ำ เตาเผาส�ำหรับโรงงาน และฟวิ แรน สาร volatile organic compounds (VOCs) อตุ สาหกรรมท่ีมอี ณุ หภูมิต่ำ� กว่า 800 องศาเซลเซียส รวมทัง้ สารโลหะหนกั และตรวจคณุ ภาพนำ�้ ในสง่ิ แวดลอ้ มรอบบอ่ ขยะ เตาเผาศพที่มีปริมาณมากกระจายอยู่ทั่วไปท้ังเขตเมืองและ ระหวา่ งวนั ท่ี 20 - 22 มนี าคม 2557 มลพษิ ทเ่ี กดิ จากการเผาไหม้ ทว่ั ทกุ จงั หวดั นอกจากนย้ี งั มแี หลง่ กำ� เนดิ จากกจิ กรรมในโรงงาน ของขยะชมุ ชนนนั้ มมี ลพษิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ หลากหลาย เนอื่ งจากบอ่ ขยะ อตุ สาหกรรมหลอมโลหะ โรงงาน recycle โลหะประเภทตา่ งๆ ในประเทศไทยนั้นไม่มีการคัดแยกขยะ นอกจากขยะจาก โรงงานเคมที ม่ี สี ารคลอรนี ในขบวนการผลติ เชน่ สารฆา่ แมลง 2 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 28 กันยายน 2557

โรงงานฟอกย้อม โรงงานผลิตเย่ือกระดาษ หรือแม้แต่ อากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย ต้องมีค่าการปล่อยทิ้ง ภาคเกษตรกรรมที่มีการเผาในท่ีโล่งหรือใช้สารเคมีที่มีสาร สารประกอบไดออกซนิ (Dioxin as Total Chlorinated PCDD คลอรนี เปน็ องคป์ ระกอบกส็ ามารถทำ� ใหเ้ กดิ สารไดออกซนิ ได้ plus PCDF) ไม่เกิน 30 นาโนกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร(6) (Dr. Carl Meyer et al., 2004(1), U.S. Environmental 4. ประกาศทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม Protection Agency (2003, 2005)(2,3)) กิจกรรมเหล่านี้เปน็ เรื่อง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจาก เหตุใหเ้ กิดสารไดออกซนิ ไดห้ ลายชนดิ และปรมิ าณทต่ี ่างกัน โรงงานปูนซีเมนต์ท่ีใช้ของเสียเป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบ ในการผลติ กำ� หนดอากาศเสยี ทปี่ ลอ่ ยทง้ิ จากหมอ้ เผาปนู ของ ประเทศไทยได้มีการก�ำหนดค่ามาตรฐานที่ โรงงานตอ้ งมสี ารประกอบไดออกซิน ไม่เกิน 0.5 นาโนกรมั เก่ียวกับการปนเปื้อนจากสารไดออกซินในประกาศ ต่อลกู บาศกเ์ มตร I-TEQ(7) กระทรวง 4 ฉบับ ไดแ้ ก่ 1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม เร่ือง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง โลหะหนกั อากาศเสยี จากเตาเผามูลฝอยตดิ เช้อื ข้อ 2 (5) อากาศเสีย จากการตรวจวัดตัวอย่างน�้ำผิวดินและน้�ำใต้ดิน ทปี่ ลอ่ ยทงิ้ จากเตาเผามลู ฝอยตดิ เชอ้ื ตอ้ งมคี า่ ไมเ่ กนิ มาตรฐาน 5 จุดเก็บตัวอย่าง จากบริเวณโดยรอบบ่อขยะแพรกษา ควบคมุ การปลอ่ ยทงิ้ อากาศเสยี จากเตาเผามลู ฝอยตดิ เชอ้ื ของ พบปริมาณโลหะหนักสารหนูสูงสุดท่ีจุดเก็บตัวอย่างท่ี G2 สารประกอบไดออกซินซ่ึงค�ำนวณผลในรูปของหน่วยความ ท่ีความเข้มข้นท่ี 0.0131 mg/L มีค่าเกินมาตรฐานก�ำหนด เข้มข้นเทียบเคียงความเป็นพิษต่อมนุษย์ (PCDD/Fs as เลก็ นอ้ ยโดยมาตรฐานนำ้� ใตด้ นิ และนำ�้ ผวิ ดนิ กำ� หนดใหส้ ารหนู International Toxic Equivalent: I-TEQ) ไมเ่ กนิ 0.5 นาโนกรมั ไม่เกิน 0.01 mg/L ส่วนตัวอย่างน�้ำท่ีพบปริมาณปรอทเกิน ต่อลกู บาศกเ์ มตร(4) มาตรฐานที่ตัวอย่างน้�ำผิวดินโดยพบปริมาณปรอทสูงสุด 2. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ก�ำหนด ทจ่ี ุดเกบ็ ตวั อยา่ งท่ี S2 มีความเขม้ ข้นที่ 0.0063 mg/L ซง่ึ ปริมาณสารเจือปนในอากาศท่ีระบายออกจากปล่องเตาเผา มาตรฐานนำ�้ ผวิ ดนิ กำ� หนดใหไ้ มเ่ กนิ 0.002 mg/L สว่ นปรมิ าณ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายจากอุตสาหกรรม ปรอทที่พบในน้�ำใต้ดินพบว่ามีปริมาณปรอทเกินมาตรฐาน พ.ศ. 2545 ก�ำหนดปริมาณสารไดออกซิน/ฟิวแรนท่ีระบาย เลก็ น้อย โดยพบในจุดเก็บตัวอยา่ งที่ G2 มีค่าความเขม้ ข้นที่ ออกจากเตา ต้องไมเ่ กนิ 0.5 นาโนกรมั ตอ่ ลูกบาศก์เมตร(5) 0.0011 mg/L ซ่งึ มาตรฐานน�ำ้ ผิวดินกำ� หนดให้ไม่เกิน 0.001 3. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ mg/L สว่ นโลหะหนักชนิดอื่น เชน่ แคดเมียม ทองแดง และ สิ่งแวดล้อม เร่ือง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยท้ิง ตะกว่ั ไมพ่ บตวั อยา่ งนำ�้ ผวิ ดนิ และใตด้ นิ เกนิ มาตรฐานกำ� หนด ตารางผลการตรวจวดั โลหะหนกั จากตัวอย่างนำ้� บริเวณบ่อขยะแพรกษา จดุ เก็บตัวอย่าง As Hg Cd Ca Pb G1 0.0054 0.0005 ND 0.0075 0.0012 G2 0.0131 0.0011 ND 0.0076 0.0126 S1 0.0086 0.0018 ND 0.0100 0.0006 S2 0.0108 0.0063 ND 0.0054 0.0008 S5 0.0087 0.0018 ND 0.0100 0.0006 1. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เร่อื งก�ำหนดมาตรฐานคณุ ภาพน้ำ� ใตด้ ิน 2. ประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกำ� หนดคณุ ภาพนำ�้ ในแหลง่ น�ำ้ ผิวดิน GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับที่ 28 กนั ยายน 2557 3

สารอินทรยี ์ระเหย สารบิสฟนี อล เอ (Bis Phenol A) สารอินทรีย์ระเหย (volatile organic compounds, สารบสิ ฟนี อล เอ ซึง่ เปน็ สารเคมที ใ่ี ชใ้ นบรรจภุ ณั ฑ์ VOCs) ถูกใช้มากในงานอุตสาหกรรม เนอื่ งจากมีคณุ สมบตั ิ พลาสติกของอาหาร เช่น ขวดน�้ำ ขวดนมเด็ก เป็นต้น เป็นตัวท�ำละลายที่ดี เช่น เบนซีน ไซลีน โทลูอีน สไตรีน จากการศกึ ษาโดย National Institute of Environmental Health ฟอร์มัลดไี ฮด์ เตตระคลอโรเอทธิลีน และไตรคลอโรเอทธลิ นี Science ประเทศสหรฐั อเมริกา รายงานวา่ สารบสิ ฟีนอล เอ เป็นต้น อีกทั้งใช้เป็นส่วนประกอบในหลายผลิตภัณฑ์ เช่น เป็นสารที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมน สที าบา้ น น�ำ้ ยาฟอกสี พลาสติก สารฆ่าแมลง และปิโตรเคมี การพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์และเด็กทารก ซ่ึงผลกระทบต่อสุขภาพมีหลายด้าน แปรผันตามชนิดและ ซึ่งปัจจุบันบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา และ แคนาดา ปริมาณสารอินทรีย์ระเหย อาจจะท�ำให้เกิดอาการต่อระบบ หา้ มการใชส้ ารบสิ ฟนี อล เอ ในการผลติ ผลติ ภณั ฑส์ ำ� หรบั เดก็ ประสาท เช่น การง่วงนอน วงิ เวียน ปวดศรี ษะ ซึมเศรา้ หรือ หมดสติได้ ส่วนผลต่อระบบทางเดินหายใจจะท�ำให้เกิดการ ส�ำหรับผลการตรวจวิเคราะห์ผลการตรวจวัดสาร อักเสบของเยอื่ เมอื ก และท�ำให้เกดิ การระคายเคอื งท่ผี วิ หนัง ไดออกซินและสารอันตราย กรณีไฟไหม้บ่อขยะแพรกษา และตา ถา้ ไดร้ บั สารชนดิ นตี้ ดิ ตอ่ กนั เปน็ ระยะเวลานาน จะเปน็ ซ่ึงเกิดจากการเผาไหม้ท่ีไม่สมบูรณ์ ท่ีอุณหภูมิต�่ำกว่า 800 อันตรายต่อตับและไต สารอินทรีย์ระเหยบางชนิดอาจมีผล องศาเซลเซียส และมีวัสดุท่ีมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ ต่อระบบพันธุกรรม ระบบฮอร์โมน ระบบสืบพนั ธ์ุ และระบบ เช่น พลาสติก โฟม เป็นตน้ สำ� หรับการเกบ็ ตวั อยา่ งอากาศ ประสาท และอาจท�ำใหเ้ กดิ โรคมะเร็งบางชนดิ ได้ ในวนั ท่ี 20 และ 21 มนี าคม 2557 ในรศั มี 1 กโิ ลเมตร พบวา่ สารไดออกซนิ และฟวิ แรนในอากาศมคี วามเขม้ ขน้ 1.520 พโิ คกรมั สารกลมุ่ พาธาเลธ (Phthalate) -TEQ ตอ่ ควิ บกิ เมตร เเละ 1.110 พโิ คกรมั -TEQ ตอ่ ควิ บกิ เมตร สารกลมุ่ พาธาเลธ เปน็ สารทใ่ี ชเ้ ปน็ พลาสตกิ ไซเซอร์ ซงึ่ เกนิ เกณฑค์ า่ มาตรฐาน ประมาณ 15 เทา่ และ 11 เทา่ (plasticizers) เป็นสารท่ีใส่ในผลิตภัณฑ์พลาสติกเพ่ือลด ตามล�ำดับ โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ค่ามาตรฐานของ จุดหลอมที่ท�ำให้เกิดการไหล (flexing temperature) ของ สารไดออกซนิ และฟวิ แรน ในบรรยากาศของประเทศแคนาดา พลาสติก ท�ำให้เม็ดพลาสติกมีความยืดหยุ่นและอ่อนนุ่มขึ้น รวม 17 ชนิด ที่มีความเป็นพิษแตกต่างกันโดยก�ำหนดค่า สารพาธาเลธเป็นสารท่ีมีผลต่อการสืบพันธุ์ ตับ รวมทั้งเป็น มาตรฐานต้องไม่เกิน 0.1 พิโคกรัม-TEQ ต่อคิวบิกเมตร สารทอ่ี าจกอ่ มะเรง็ และจากรายงานวจิ ยั ตา่ งประเทศซงึ่ พบวา่ (เนอ่ื งจากประเทศไทยยงั ไม่มเี กณฑค์ า่ มาตรฐาน) ซง่ึ ในพนื้ ท่ี สารกลุ่มพาธาเลธมีผลต่อการสร้างกระดูกของหนูท่ีก�ำลัง ทมี่ รี ะยะหา่ งจากบอ่ ขยะ 10 กโิ ลเมตร มแี นวโนม้ ลดลงจนอยู่ เจริญเติบโต จ�ำนวนหนูท่มี ีชวี ติ หลงั คลอดลดลง ในระดับท่ตี ำ่� กวา่ เกณฑ์คา่ มาตรฐาน ส�ำหรับผลการวิเคราะห์ สารไดออกซนิ เมอ่ื วนั ท่ี 22 มนี าคม 2557 ในรศั มี 1 กโิ ลเมตร สารกลมุ่ ฟีนอล (Phenol) และ 10 กิโลเมตร พบว่าปริมาณสารไดออกซินอยู่ในระดับ สารกลุ่มฟีนอลท่ีเป็นสารประกอบฟีนอลสังเคราะห์ ทเ่ี กณฑค์ า่ มาตรฐานกำ� หนดในบรรยากาศทวั่ ไป และสำ� หรบั พน้ื ท่ี ใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เชน่ อุตสาหกรรมพลาสตกิ ทมี่ ีระยะห่างจากบอ่ ขยะแพรกษา 10 กโิ ลเมตร ความเข้มข้น เปน็ สารท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อ ฟอกหนงั ผลิตยา เป็นต้น ของสารไดออกซนิ และฟิวแรนในอากาศระหวา่ งวันที่ 20-22 โดยสารประกอบฟีนอลจะส่งผลต่อร่างกายท�ำให้เกิดอาการ มนี าคม2557อยใู่ นเกณฑค์ า่ มาตรฐาน คอื ปรมิ าณสารไดออกซนิ ระคายเคืองผิวหนัง ปวดศีรษะ คล่ืนไส้ ความบกพร่อง ลดลงเน่ืองจากมีฝนตกลงมาท�ำให้ปริมาณสารไดออกซินที่ ทางระบบประสาท มผี ลตอ่ ตบั และไต ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ฟงุ้ กระจายในอากาศมีปรมิ าณนอ้ ยลง ท�ำให้หวั ใจลม้ เหลว มีผลต่อการเจริญเตบิ โตของตวั อ่อนและ ระบบสบื พันธข์ุ องมนุษย์ 4 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 28 กันยายน 2557

ผลการตรวจสารไดออกซนิ ในบรรยากาศ จากบรเิ วณบอ่ ขยะแพรกษา จ.สมทุ รปราการ สถาบนั ไดออกซนิ แหง่ ชาติ ไดท้ ำ� การเกบ็ ตวั อยา่ งนำ้� ผวิ ดนิ จำ� นวน 4 จดุ และนำ�้ ใตด้ นิ จำ� นวน 2 จดุ ในรศั มี 1 กโิ ลเมตร เมือ่ วนั ท่ี 25 มนี าคม 2557 เพอ่ื วเิ คราะห์สารไดออกซิน จำ� นวน 17 ชนิด ดังแผนทีแ่ สดงจดุ เก็บตวั อยา่ ง ผลการตรวจวดั สารไดออกซนิ สรุปว่าไม่พบสารไดออกซินและฟิวแรนในตัวอย่างน�ำ้ ผวิ ดินและน้�ำใต้ดิน ผลการตรวจวิเคราะห์สารไดออกซนิ ในตวั อย่างน้�ำผวิ ดินและน�้ำใต้ดนิ ไม่พบไดออกซนิ และฟวิ แรนในตัวอยา่ งดงั กลา่ ว ผลการตรวจสารไดออกซินในตัวอย่าง น้�ำผิวดินและน้�ำใต้ดินบริเวณบ่อขยะ แพรกษา จ.สมทุ รปราการ จากการเกบ็ ตวั อย่างดินในวนั ที่ 25 มนี าคม 2557 โดยมีรศั มีห่างจากบ่อขยะ 1 กโิ ลเมตร จ�ำนวน 4 ตวั อย่าง ซ่งึ เป็น จุดเดียวกับตัวอย่างน้�ำตามแผนท่ี คือ G1 G2 S1 และ S2 และฝุ่นจากหลังคารถยนต์ จ�ำนวน 1 ตวั อย่าง ผลการตรวจสอบพบวา่ สารไดออกซนิ และฟวิ แรนในดนิ 3 ตวั อยา่ ง มคี า่ ความเขม้ ขน้ ระหวา่ ง 0.02-0.04 TEQ-พโิ คกรมั ต่อกรัม และผลของฝุ่นจากหลังคารถยนต์ พบปริมาณ 0.40 TEQ-พิโคกรัม ต่อกรัม เน่ืองจากประเทศไทยยังไม่มีเกณฑ์ ค่ามาตรฐานของสารไดออกซินและฟิวแรนในดิน และในต่างประเทศก็ไม่มีการก�ำหนดมาตรฐานท่ีแน่นอนขึ้นอยู่กับกิจกรรม GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับท่ี 28 กันยายน 2557 5

ในพน้ื ทนี่ น้ั ๆ เชน่ พน้ื ทใ่ี กลเ้ ตาเผา อาจพบวา่ มคี วามเขม้ ขน้ ทปี่ นเปอ้ื นในดนิ สงู มากกวา่ 1,000-10,000 TEQ-พโิ คกรมั ตอ่ กรมั เปน็ ตน้ สำ� หรบั มาตรฐานกำ� หนดคา่ ทย่ี อมรบั ไดส้ ำ� หรบั พน้ื ทท่ี ใี่ ชเ้ ปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของประเทศตา่ งๆ เชน่ ประเทศแคนาดากำ� หนด 4 TEQ-พโิ คกรัม ต่อกรมั ประเทศเยอรมนั กำ� หนด 1-30 TEQ-พโิ คกรมั ตอ่ กรมั ประเทศญ่ีปุ่น และสหรฐั อเมรกิ าก�ำหนด เทา่ กนั คือ 1,000 TEQ-พิโคกรัม ตอ่ กรัม อยา่ งไรก็ตาม การเก็บตวั อยา่ งครั้งน้เี ป็นเพยี งการสมุ่ ตวั อยา่ งในเบือ้ งต้น อาจยงั ไม่ ครอบคลมุ พนื้ ท่ี การรายงานครง้ั นจี้ งึ เปน็ เพยี งขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ เทา่ นนั้ แตห่ ากมกี จิ กรรมทม่ี คี วามเสยี่ งตอ่ การเกดิ สารไดออกซนิ ในอนาคตก็มแี นวโนม้ วา่ จะมีปริมาณเพิม่ ข้ึนได้ ผลการวเิ คราะห์สารอนั ตรายกลมุ่ VOCs รหัสตัวอย่าง ค่ามาตรฐาน หน่วย G1 จดุ เก็บตัวอย่าง G2 S1 S2 S3 S4 กลุ่ม VOCs Benzene ตอ้ งไม่เกนิ 5 ไมโครกรัม/ลติ ร1 nd nd nd nd Carbon Tetrachloride ตอ้ งไม่เกิน 5 ,, nd 1,2-Dichloroethane ต้องไม่เกิน 5 ,, nd nd nd nd 1,1-Dichloroethylene ต้องไมเ่ กนิ 7 ,, nd cis-1,2-Dichloroethylene ต้องไมเ่ กิน 70 ,, 0.04 nd nd nd trans-1,2-Dichloroethylene ต้องไม่เกิน 100 ,, nd Dichloromethane ตอ้ งไมเ่ กิน 5 ,, nd nd nd nd Ethylbenzene ตอ้ งไมเ่ กิน 700 ,, nd Styrene ตอ้ งไมเ่ กนิ 100 ,, nd nd nd nd Tetrachoroethylene ต้องไม่เกนิ 5 ,, nd Toluene ต้องไม่เกนิ 1,000 ,, nd nd nd nd Trichloroethylene ต้องไม่เกนิ 5 ,, nd 1,1,1-Trichloroethane ต้องไม่เกิน 200 ,, nd nd nd nd 1,1,2-Trichloroethane ตอ้ งไมเ่ กิน 5 ,, nd Total Xylenes ตอ้ งไมเ่ กนิ 10,000 ,, nd nd nd nd ไมม่ ตี วั อยา่ ง Vinyl Chloride ต้องไม่เกนิ 2 ,, nd nd nd 0.02 nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd nd ผลการวเิ คราะห์สารอนั ตรายกลุ่มพาธาเลธ และฟีนอล รหัสตัวอยา่ ง ค่ามาตรฐาน หน่วย G1 จดุ เก็บตัวอยา่ ง G2 S1 S2 S3 S4 กลุ่ม Phthalate ตอ้ งไม่เกิน 6 ไมโครกรมั /ลิตร3 nd Di (2-ethylhexyl) phthalate nd nd nd nd nd nd (DEHP) - ไมโครกรัม /ลติ ร nd nd 0.19 nd nd nd Dibutyl phthalate (DBP) - ไมโครกรัม /ลิตร 0.79 0.98 0.22 nd 0.26 Benzylbutylphthalate (BBP) 6 GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับท่ี 28 กันยายน 2557

รหสั ตัวอย่าง คา่ มาตรฐาน หน่วย จดุ เกบ็ ตัวอย่าง G1 G2 S1 S2 S3 S4 กลุ่ม Phenol Phenol ตอ้ งไมเ่ กิน 1 ไมโครกรัม/ลติ ร2 nd nd nd 0.24 nd 0.47 Pentachlorophenol ตอ้ งไม่เกิน 1 ไมโครกรัม/ลิตร1 nd nd nd nd nd nd 2,4-dichlorophenol ไมโครกรมั /ลิตร nd nd nd nd nd 0.21 2,4,6-trichlorophenol - ไมโครกรมั /ลติ ร nd nd nd nd nd 0.12 Bis-Phenol A - ไมโครกรัม/ลติ ร 0.88 0.67 0.70 1.04 2.29 1.96 - เอกสารอ้างองิ (1) Polychlorinated dibenzo-p-dioxins (PCDDs) and dibenzofurans (PCDFs) in the aquatic environment - A literature review, C.L. Fletcher and W.A. McKay, Chemosphere Volume 26, Issue 6, March 1993, Pages 1041-1069 (2) Dioxins in the Environment:  A Review of Trend Data, R. E. Alcock and K. C. Jones, Environ. Sci. Technol., 1996, 30 (11), pp 3133 - 3143 (3) Dioxin-like PCBs in the environment - human exposure and the significance of sources, Ruth E. Alcock, Peter A. Behnisch, Kevin C. Jones, Hanspaul Hagenmaier, Chemosphere Volume 37, Issue 8, October 1998, Pages 1457-1472 (4) ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่อื งก�ำหนดมาตรฐานควบคมุ การปล่อยทง้ิ อากาศเสยี จากเตาเผามูลฝอยตดิ เชือ้ พ.ศ. 2546 (5) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ งก�ำหนดปริมาณสารเจอื ปนในอากาศทรี่ ะบายออกจากปล่องเตาเผาส่งิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใช้แลว้ ที่เป็นอนั ตรายจาก อตุ สาหกรรม พ.ศ. 2545 (6) ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล้อม เรื่องกำ� หนดมาตรฐานควบคมุ การปล่อยทิ้งอากาศเสยี จากเตาเผามูลฝอย พ.ศ. 2540 (7) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสียเป็น เชือ้ เพลงิ หรือเป็นวตั ถดุ ิบในการผลติ พ.ศ. 2549 (8) มาตรฐานคุณภาพน้�ำใต้ดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริม และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 เรอื่ ง กำ� หนดมาตรฐานคณุ ภาพนำ้� ใตด้ นิ ตพี มิ พใ์ นราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 117 ตอนพเิ ศษ 95 ง ลงวันที่ 15 กันยายน 2543 (9) มาตรฐานคณุ ภาพน�ำ้ ด่มื ในภาชนะบรรจทุ ี่ปิดสนิท ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 61 (พ.ศ. 2524) เร่อื งน�ำ้ บริโภคในภาชนะท่ปี ดิ สนิท ตพี มิ พ์ ในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 98 ตอนท่ี 157 (ฉบบั พเิ ศษ) ลงวันที่ 24 กันยายน 2524 ซึ่งไดแ้ กไ้ ขเพม่ิ เติมโดย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ที่ 135 (พ.ศ. 2534) เรอ่ื ง นำ้� บรโิ ภคในภาชนะบรรจทุ ป่ี ดิ สนทิ (ฉบบั ที่ 2) ลงวนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2534 ตพี มิ พใ์ นหนงั สอื ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 108 ตอนท่ี 61 ลงวันที่ 2 เมษายน 2534 (10) US EPA, List of Drinking Water Contaminants, National Primary Drinking Water Regulations (http://water.epa.gov/drink/contaminants/ index.cfm#Lis) GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับที่ 28 กนั ยายน 2557 7

เร่ืองเดน่ ประจำ� ฉบับ สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย ในอากาศจากเหตุเพลิงไหม้บ่อขยะ ต.แพรกษา วรรณา เลาวกุล ศิรพงศ์ สขุ ทวี เพลินพิศ พงษป์ ระยูร สธุ ีระ บญุ ญาพิทักษ์ ศภุ นุช รสจันทร์ อดลุ ยเ์ ดช ปดั ภัย นริ ัน เปี่ยมใย และ รุ่งระวี คงสงค์ ตรวจวัดสารพิษกลุ่มสารอนิ ทรีย์ระเหยงา่ ยในอากาศ จากเหตุเพลิงไหม้บ่อขยะต�ำบลแพรกษา จังหวัด ด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพ สมุทรปราการ ท�ำให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ ส่งผลกระทบ ส่ิงแวดล้อม ได้รับมอบหมายให้เข้าพื้นที่ ต่อประชาชนโดยตรง และส่งผลกระทบในวงกว้าง เม่ือมองดู บริเวณบ่อขยะต�ำบลแพรกษา เพื่อเก็บ ทศั นยี ภาพเบอื้ งตน้ จะเหน็ กลมุ่ ควนั สดี ำ� และฝนุ่ ละอองจำ� นวนมาก ตัวอย่างสารพิษในอากาศกลุ่มสารอินทรีย์ ลอยปกคลุมท้องฟ้าเป็นวงกว้างและลอยไประยะไกลในทิศทาง ระเหยงา่ ย (Volatile Organic Compounds) ใต้ลมครอบคลุมหลายพื้นที่ รวมถึงพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือเรียกส้ันๆ ว่า วีโอซี (VOCs) ทั้งนี้ มขี า่ วรายงานจากหนงั สอื พมิ พห์ ลายฉบบั ระบวุ า่ กลมุ่ ควนั ดงั กลา่ ว เพราะสารอินทรีย์ระเหยง่ายบางชนิด ได้กระจายใน 6 เขต ได้แก่ เขตประเวศ บางนา สะพานสูง เป็นสารอันตรายส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ลาดกระบัง คลองสามวา และบึงกุ่ม โดยประชาชนได้รับ ซึ่งประชาชนควรทราบและระมัดระวัง ผลกระทบคือ มีอาการคัน แสบตา ในการน้ีเจ้าหน้าที่ของกลุ่ม ตวั เองไมใ่ หไ้ ปสมั ผสั กับสารพษิ ดังกล่าว อากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม 8 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 28 กันยายน 2557

เจ้าหน้าท่ีจากศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้ท�ำการเก็บตัวอย่าง สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยในอากาศ ทา้ ยลมบรเิ วณพน้ื ทชี่ มุ ชน แถวบา้ นจดั สรรและโรงเรยี น ในระยะทหี่ า่ งจากบอ่ ขยะตำ� บลแพรกษา ทเ่ี กิดเหตุเพลิงไหม้ 1 กโิ ลเมตร 5 กิโลเมตรและ 10 กิโลเมตร ระหว่างวนั ที่ 20-22 มนี าคม 2557 โดยใช้ถังเก็บตวั อย่าง อากาศ เป็นเวลา 24 ช่วั โมง ในช่วงวันดงั กล่าว แล้วสง่ ตัวอยา่ งอากาศไปวเิ คราะห์ ณ ห้องปฏบิ ัตกิ ารส�ำหรับสารอนิ ทรีย์ ระเหยง่ายในอากาศ ของศูนย์วิจยั และฝึกอบรมดา้ นสงิ่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เครื่องวิเคราะห์ตวั อยา่ งสารอนิ ทรยี ์ระเหยง่ายในอากาศ เกบ็ ตวั อย่างสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยง่ายในอากาศ ผลการตรวจวัดสารพิษกลุ่มสารอินทรยี ์ระเหยงา่ ยในอากาศ แม้วา่ จะตรวจวดั สารอนิ ทรีย์ระเหยง่ายหา่ งจากวันเกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้ (16 มีนาคม 2557) เปน็ เวลา 4 วัน ในรัศมี 1 กโิ ลเมตร กย็ งั พบสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยในอากาศทจ่ี ดั เปน็ สารอนั ตรายและมคี วามเขม้ ขน้ สงู กวา่ ในบรรยากาศทว่ั ไป จำ� นวน 8 ชนิด ได้แก่ สารเบนซนี (Benzene) โทลูอนี (Toluene) เอทธิลเบนซีน (Ethylbenzene) สไตรนี (Styrene) อะเซตลั ดีไฮด์ (Acetaldehyde) อะซีโตน (Acetone) คลอโรมีเทน (Chloromethane) คลอโรเบนซีน (Chlorobenzene) ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นสารท่มี ีการใชใ้ นอตุ สาหกรรม และบางชนดิ เกิดจากซากวัสดทุ เี่ ปน็ พวกอนิ ทรีย์ เชน่ ยาง พลาสติก โฟมท่ถี กู ไฟไหม้แลว้ ปล่อยออกมาสบู่ รรยากาศ จากตวั อยา่ งแผนทแี่ สดงความเข้มขน้ ของสารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ย จะเห็นไดว้ า่ สารเบนซีน โทลูอนี และสไตรนี มีคา่ สงู มากในวนั ท่ี 20 มนี าคม 2557 โดยสารเบนซีนทีต่ รวจพบในวนั ท่ี 20 และ 21 มีนาคม 2557 มีค่าความเขม้ ขน้ เกินกวา่ เกณฑค์ า่ เฝา้ ระวังเฉลีย่ 24 ชว่ั โมง (7.6 ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศก์เมตร) ประมาณ 11 เทา่ และ 3 เท่า ตามลำ� ดับ และพบ สารสไตรนี ซง่ึ คาดวา่ นา่ จะมาจากวสั ดทุ เี่ ปน็ ยาง พลาสตกิ และโฟมทถี่ กู ไฟเผาไหมส้ งู กวา่ บรรยากาศโดยทว่ั ไปประมาณ 3-5 เทา่ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าชุมชนที่อาศัยอยู่ละแวกหมู่บ้านซ่ึงอยู่ห่างจากบ่อขยะต�ำบลแพรกษา ประมาณ 1 กิโลเมตร ไดร้ บั ผลกระทบและได้สัมผสั สารอนิ ทรีย์ระเหยง่ายจากเพลิงไหม้บอ่ ขยะมากทส่ี ดุ อยา่ งไรกต็ าม ในภาพรวมสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยมแี นวโนม้ ลดลงเมอ่ื เวลาผา่ นไป และสว่ นใหญม่ คี า่ ลดลงตามระยะทาง ท่ีห่างจากบ่อขยะแพรกษา โดยเฉพาะสารเบนซีน มีค่าอยู่ในเกณฑ์ค่าเฝ้าระวังเฉลี่ย 24 ช่ัวโมงในระยะทาง 5 กิโลเมตร ขึน้ ไป GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557 9

ข้อสงั เกต ตรวจพบสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย ที่ใช้ในอุตสาหกรรม ซ่ึงหมายถึงอาจมี การลักลอบทิ้งของเสียจากโรงงาน อตุ สาหกรรมในบ่อขยะแพรกษา ส า ร อิ น ท รี ย ์ ร ะ เ ห ย ง ่ า ย ท่ีตรวจพบในคร้ังน้ีมีหลายชนิดท่ีเป็น อันตรายต่อสุขภาพแบบเฉียบพลัน เช่น กดระบบประสาทสว่ นกลาง ทำ� ใหป้ วดหวั เวียนหัว ปอดอักเสบ และโรคระบบ ทางเดนิ หายใจ แสบคอ แสบจมกู และหาก ไดร้ บั หรอื สมั ผสั เปน็ ระยะเวลานาน อาจกอ่ ให้เกิดมะเร็งได้ (ดังตาราง) ดังนั้น ประชาชนที่อาศัยในรัศมี 1 กิโลเมตร จะตอ้ งไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และเฝ้าระวังเป็นกรณพี เิ ศษ 10 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 28 กนั ยายน 2557

ตารางแสดงความเปน็ พษิ ของสารอินทรีย์ระเหยง่าย กล่มุ สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ชนิดของสารอินทรยี ์ ความเป็นพษิ กล่มุ อะโรมาติก ระเหยงา่ ย โลหิตจาง กดประสาทสว่ นกลาง ตาพรา่ ชักกระตุก และ เบนซนี เปน็ สารก่อมะเร็งในเมด็ เลอื ดขาว (Leukemia) กดประสาทส่วนกลาง ตับอกั เสบ และเป็นสารกอ่ มะเรง็ สไตรีน กดประสาทส่วนกลาง ตับอกั เสบ โรคไต เมด็ โลหิตขาว โทลูอีน นอ้ ย ระคายเคอื งระบบทางเดนิ หายใจสว่ นบน ปอดอกั เสบ ตบั เอทธลิ เบนซนี อักเสบ กดประสาทส่วนกลาง ระคายเคอื งตอ่ ตา ผวิ หนงั ระบบทางเดนิ หายใจและเปน็ กลุ่มอัลดีไฮด์ อะเซตัลดีไฮด์ สารทมี่ ีโอกาสกอ่ ให้เกดิ มะเรง็ ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจส่วนบน มีอาการชัก กลุ่มฮาโลจิเนเตท คลอโรมเี ทน หรือกระตุ้นให้เกิดการชัก มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร คลน่ื ไส้ อาเจยี น หากไดร้ ับสมั ผัสเป็นเวลานานๆ อาจกอ่ กลมุ่ คโี ตน คลอโรเบนซนี ใหเ้ กิดมะเร็งและอนั ตรายตอ่ ระบบสืบพันธ์ุ อะซโี ตน ระคายเคอื งระบบทางเดนิ หายใจสว่ นบน คลน่ื ไสอ้ าเจยี น และกดประสาทสว่ นกลาง ทำ� ใหป้ วดหวั และอาจหมดสติ ระคายเคอื งตอ่ เยอื่ บตุ า เยอ่ื บจุ มกู และเยอ่ื บทุ างเดนิ หายใจ กดประสาทสว่ นกลาง ทำ� ใหเ้ กดิ อาการหมดแรงออ่ นเพลยี และปวดศรี ษะ ขอ้ เสนอแนะ เพื่อลดปัญหามิให้เกิดเหตุการณ์เพลิงไหม้จากบ่อขยะซ�้ำซาก ดังน้ันถึงเวลาแล้วท่ีทุกภาคส่วนต้องหันมาช่วยกัน จัดการขยะและลดขยะเพอ่ื ไม่ให้มีปรมิ าณเพิ่มข้นึ และเป็นปัญหาในเรอื่ งการฝังกลบขยะและเกิดการหมกั หมมของขยะ ทำ� ให้ เกดิ กา๊ ซมีเทน และสารอนั ตรายตา่ งๆ แล้วทำ� ใหเ้ กิดเพลงิ ไหมอ้ ีก โดยมขี อ้ เสนอแนะดงั นี้ 1. ควรมีการจัดการขยะและการก�ำจดั ท่ีถูกหลกั สขุ าภบิ าล 2. ลดปริมาณขยะโดยใช้หลัก 3Rs (Reduce Reuse Recycle) และรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสตกิ และ โฟมอยา่ งจริงจงั เพราะใช้เวลาในการยอ่ ยสลายนานมาก 3. เฝ้าระวงั ไม่ให้เกดิ ไฟไหมใ้ นบอ่ ขยะ หรอื เผาขยะ โดยเฉพาะเผาพลาสติกและโฟม 4. ใช้มาตรการและเข้มงวดทางกฎหมายลงโทษผู้ลักลอบท้ิงสารเคมีและกากของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ในเเหล่งฝ่ังกลบชุมชน เอกสารอา้ งองิ (1) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เลม่ 126 ตอนพเิ ศษ 13 ง ราชกจิ จานุเบกษา 27 มกราคม 2552 เรื่องก�ำหนดค่าเฝา้ ระวงั สำ� หรบั สารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ย ในบรรยากาศโดยท่วั ไปในเวลา 24 ชั่วโมง (2) ควนั พิษคล้งุ ปากน้ำ� ไฟไหม้บ่อขยะ ไมย่ อมวอด สั่งอพยพ-กระทบเขตกรงุ เทพมหานคร. แนวหน้าออนไลน์ 18 มนี าคม 2557 [Online] Available from http://www.chemtrack.org/News Detail.asp?TID=7&ID=800__ GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 28 กันยายน 2557 11

ติดตามเฝา้ ระวัง การปนเปื้อนสาร Perfluorinated compounds (PFCs) ในตัวอยา่ งน�้ำผวิ ดินบริเวณปากแมน่ ้�ำสายหลกั 4 สาย และบริเวณรอบนคิ มอตุ สาหกรรมจังหวดั สมทุ รปราการ ลำ� พนู และระยอง อารีรตั น์ จากสกลุ สุนิทรา ทองเกล้ียง และรจุ ยา บณุ ยทุมานนท์ สาร Perfluorinated compounds (PFCs) เปน็ สารพษิ ไฟฟา้ พรม และสารดบั เพลงิ (Inoue et al. 2004) นอกจากน้ี ชนดิ ตกคา้ งยาวนาน (Persistence Organic Pollutants, POPs) ยังใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดในครัวเรือน ซึ่งมีคุณสมบัติละลายได้ดีในไขมัน สามารถเคลื่อนย้ายได้ สารกำ� จดั แมลง และสารปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ชื ชนดิ อนื่ ๆ ความ ในระยะทางไกลๆ สะสมในส่วนไขมันของสิ่งมีชีวิต และ เป็นพิษต่อมนุษย์แบ่งเป็นความเป็นพิษเฉียบพลันและเรื้อรัง สามารถถา่ ยทอดในห่วงโซ่อาหาร สารกลุ่ม Perfluorinated ส�ำหรับผู้ท่ีได้รับสารในปริมาณมากในระยะเวลาส้ันๆ อาจก่อ compounds (PFCs) แบ่งออกเป็นหลายชนิดแต่ชนิด ให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง ตา และระบบทางเดิน หลักๆ คือ Perfluorooctane sulfonate (PFOS) และ หายใจ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั สารในปรมิ าณตำ่� อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มผี ลตอ่ ระบบ Perfluorooctanoic acid (PFOA) ซง่ึ เป็นสารพษิ ท่ีมีความ Endocrine Grand (Endocrine Disrupter Compounds, เปน็ พษิ ปานกลางและเปน็ สารสงั เคราะหข์ น้ึ มาเพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ ECDs) กล่าวคือมีผลต่อต่อมไทรอยด์ ระบบทางเดินอาหาร เคลอื บเงาใหเ้ กดิ ความมนั วาวและไมเ่ ปยี กนำ�้ ในการผลติ ดา้ น และตบั และมแี นวโนม้ เปน็ สารกอ่ ใหเ้ กดิ มะเรง็ ในอวยั วะตา่ งๆ อตุ สาหกรรม เชน่ เปน็ สว่ นผสมในพลาสตกิ ผา้ หนงั อปุ กรณ์ ของรา่ งกายในสตั วท์ ดลอง (Public Health England, 2009) 12 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 28 กันยายน 2557

ประเทศไทยยงั ไมม่ สี ถติ กิ ารนำ� เขา้ สง่ ออก หรอื การ ค่อนข้างสูง สว่ นท่ี 2 คอื บริเวณปากแมน่ �ำ้ สายหลกั 4 สาย ผลิตแต่อย่างใด หลายประเทศทางแถบยุโรปและอเมริกา ไดแ้ ก่ แมน่ ้�ำเจา้ พระยา ท่าจนี บางปะกง และแม่กลอง และ ไดม้ กี ารหา้ มนำ� มาใชใ้ นการผลติ ดา้ นอตุ สาหกรรมแลว้ สำ� หรบั สว่ นที่ 3 คอื สว่ นทค่ี าดการณ์ว่าเป็นพื้นท่สี ะอาด ไดแ้ ก่ พ้นื ที่ ประเทศไทยการหา้ มนำ� มาใชใ้ นงานอตุ สาหกรรมหรอื ดา้ นอนื่ ๆ ชายฝั่งทะเล ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี จันทบุรี และตราด ยังไม่เป็นที่แน่ชัด นอกจากการให้สัตยาบันกับอนุสัญญา การเก็บตัวอย่างแบ่งเป็น 2 ฤดู คอื ฤดแู ล้ง (Dry season) สต๊อกโฮล์มเกี่ยวกับการลด ละ และเลิกการใช้สารประเภท คอื ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน-มนี าคม และฤดฝู น (Wet season) สารมลพษิ ตกคา้ งยาวนานกลมุ่ อื่นๆ อาจเนือ่ งจากสาร PFOA คือ ในช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม และในปี 2556-2557 และ PFOS ยงั ไม่เปน็ ทร่ี ู้จักกันอยา่ งกวา้ งขวาง อกี ทั้งข้อมูล ได้ด�ำเนินการเก็บตัวอย่างตามแผนการตรวจติดตามสาร ด้านการวจิ ยั ยงั คงมีน้อย ความรู้ตา่ งๆ ยังอย่ใู นวงการนกั วิจัย PFOA และ PFOS ในตวั อย่างน้�ำผิวดนิ มีการเผยแพร่และให้ความรู้แก่ประชาชนค่อนข้างน้อย จงึ เปน็ ท่มี าของงานวจิ ัยรว่ มระหว่างประเทศคอื The United Nations University (UNU) และสถาบันไดออกซนิ แหง่ ชาติ ภายใต้การก�ำกับดูแลของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยความ ร่วมมือดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ในการติดตามคุณภาพ สิ่งแวดล้อม การเพ่ิมศักยภาพของห้องปฏิบัติการในด้าน เทคนิคการวเิ คราะหส์ าร PFOS และ PFOA รวมไปถงึ การ เพมิ่ ขดี ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และ ที่ส�ำคัญ ข้อมูลการปนเปื้อนของสาร PFOA และ PFOS ดังกล่าวจะถูกน�ำไปสนับสนุนการท�ำงานของหน่วยงาน Stockhlom’s committee and Stockhlom’s secretarial of Thailand (National Implementation Plan of Thailand (NIP) โดยกรมควบคุมมลพิษเป็นผปู้ ระสานงาน ในปีท่ีผ่านมาสถาบันไดออกซินแห่งชาติได้รับการ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงาน UNU และ Shimadzu company ในด้านต่างๆ เช่น การวิจัยและการฝึกอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ ในหอ้ งปฏิบัติการดา้ นการวเิ คราะหส์ าร PFOA และ PFOS ในห้องปฏิบัติการ โดยทางสถาบันไดออกซินเเห่งชาติได้ส่ง เจา้ หนา้ ทหี่ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารไปฝกึ อบรม ณ เมอื งเกยี วโต ประเทศ ญป่ี นุ่ ในด้านการใชเ้ ครอื่ งมอื และเทคนคิ ในการวเิ คราะห์ สถานทีแ่ ละการเกบ็ ตวั อยา่ ง CH : แมน่ ้�ำเจ้าพระยา, TH : ท่าจีน, MK : แม่กลอง, BK : บางปะกง ในปี พ.ศ. 2556-2557 นี้ ได้กำ� หนดแผนงานใหม้ ี การตรวจตดิ ตามสารมลพิษตกคา้ งยาวนาน คอื PFOA และ PFOS ในตวั อยา่ งน�ำ้ ผวิ ดนิ และก�ำหนดสถานทเ่ี กบ็ ตัวอยา่ ง แบง่ เปน็ 3 สว่ นคอื สว่ นที่ 1 คอื สถานทร่ี อบนคิ มอตุ สาหกรรม จงั หวัดระยอง สมทุ รปราการ และลำ� พูน เน่ืองจากเปน็ แหลง่ อุตสาหกรรมชนิดที่มีแนวโน้มการปนเปื้อนสารดังกล่าว GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับที่ 28 กนั ยายน 2557 13

ผลการวิเคราะหแ์ ละการวจิ ารณผ์ ลการวเิ คราะห์ ตัวอย่างน้�ำผิวดินถูกเก็บและสกัดตามวิธีของ ISO และ 118.7 ng/L ในฤดฝู น สว่ นในฤดแู ลง้ คา่ ความเขม้ ขน้ ของ 25101 และวิเคราะห์โดยใช้ Liquid Chromatography PFOS และ PFOA เท่ากับ 116.5 ng/L and 38.9 ng/L Tandem Mass Spectrometer (LC/MS) ผลการวเิ คราะห์ คา่ สงู สดุ ที่ตรวจพบของ PFOS อยูท่ ี่จังหวัดระยอง (จดุ เก็บ ดังภาพกราฟที่ 1-4 ผลการวิเคราะห์ PFOS และ PFOA หาดทรายทอง) มีค่าเท่ากับ 729.2 ng/L ในฤดูฝน และคา่ บริเวณแม่น้�ำเจ้าพระยาจ�ำนวน 4 ตัวอย่างมีค่าเฉล่ียคือ สงู สดุ ทตี่ รวจพบของ PFOA อยทู่ จ่ี งั หวดั สมทุ รปราการ (จดุ เกบ็ PFOS และ PFOA มคี า่ เทา่ กบั 9.5 ng/L ในฤดแู ลง้ และ 9.4 บางป)ู มคี ่าเทา่ กบั 118.7 ng/L ในฤดฝู นเช่นกัน ผลดงั กลา่ ว ng/L ในฤดฝู นตามล�ำดบั สว่ นบริเวณรอบนคิ มอุตสาหกรรม แสดงให้เห็นว่าบริเวณนิคมอุตสาหกรรมค่าของท้ัง PFOS พบว่าค่าความเข้มข้น PFOS และ PFOA บริเวณรอบ และ PFOA แปรผนั ตามฤดกู าล กลา่ วคอื ฤดแู ลง้ ความเขม้ ขน้ นคิ มอตุ สาหกรรมจงั หวดั สมทุ รปราการมคี า่ เทา่ กบั 434.5 ng/L ทต่ี รวจพบจะต�ำ่ กว่าฤดฝู น 14 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 28 กนั ยายน 2557

รปู ที่ 1 ความเข้มขน้ ของ PFOA ในฤดฝู นและฤดูแลง้ รูปที่ 2 ความเขม้ ข้นของ PFOS ในฤดฝู นและฤดแู ลง้ รูปที่ 3 ความเขม้ ข้นของ PFOA ในฤดูฝนและฤดแู ลง้ รูปท่ี 4 ความเขม้ ข้นของ PFOS ในฤดูฝนและฤดแู ลง้ (สถานที่เก็บตัวอย่าง : จังหวดั สมุทรปราการ) (สถานทีเ่ กบ็ ตัวอย่าง : จงั หวัดสมทุ รปราการ) เอกสารอ้างองิ (1) D. Carloni.2009. Perfluorooctane Sulfonate (PFOS) Production and use: Past and Current Evidence. UNIDO. (2) ISO 25101: Water quality-Determination of perfluorooctanesulfonate (PFOS) and perfluorooctanoate (PFOA)-Method for unfiltered samples using solid phase extraction and liquid chromatography/mass spectrometry. (2009). (3) K Chinakarn, B Suwanna Kitpati, F Shigeo, T Shuhei, M Chanatip, A Chattakarn, W Thana. 2009. Contamination of perfluorinated compounds (PFCs) in ChaoPhraya River and Bangpakong River, Thailand. Water Science & Technology. 60: 975-982. (4) K Inoue, F Okada, R Ito, S Kato, S Sasaki, S Nakajima, A Uno, Y Saijo, F Sata, Y Yoshimura, R Kishi and H Nakazawa. 2004. Perfluorooctane Sulfonate (PFOS) and related Perfluorinated Compounds in Human Maternal and Cord Blood Samples: Assessment of PFOS Exposure in a Susceptible Population during Pregnancy. Environ Health Perspect. 2004 112(11): 1204-1207. (5) N Saito, K Harada, K Inuoue, K Sasaki and T Yoshinaga.2004. Perfluorooctanoate and Perfluorooctane Sulfonate Concentrations in Surface Water in Japan. Occup Health. 46:49-59 (6) PFOS and PFOA Toxicological Overview. 2014. http://www.hpa.org.uk (7) PFOS and PFOA-General information. 2014.http://www.hpa.org.uk (8) Results of survey on production and use of PFOS, PFAS and PFOA, related substances and productions/mixtures containing these substances. 2014. http://www.oecd.org GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับที่ 28 กันยายน 2557 15

ตดิ ตามเฝ้าระวัง ผลกระทบและความเสยี หาย ของสวนยางพาราอนั เนอื่ งมาจากภัยพบิ ัติ ทางสภาพภูมอิ ากาศในภาคใต้ กรณีศกึ ษา : จงั หวัดพทั ลุง วฒุ ิชยั แพงแก้ว อศั มน ลมิ่ สกลุ สายณั ห์ สดดุ ี และอศั ดร คำ� เมอื ง ภาคใตข้ องประเทศไทย เปน็ พนื้ ทท่ี ส่ี ภาวะความรนุ แรงของลมฟา้ อากาศเกดิ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรนุ แรงทงั้ ในชว่ งมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตแ้ ละตะวนั ออกเฉยี งเหนอื การเพม่ิ ขน้ึ ของอณุ หภมู แิ ละความแปรปรวนของฝนสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ ระบบ การผลติ ทางการเกษตร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ยางพาราซง่ึ เปน็ พชื เศรษฐกจิ หลกั ทสี่ ำ� คญั ของประเทศไทย จากฐานขอ้ มลู กรมวชิ าการ เกษตร ปี 2555 ในประเทศไทยมพี น้ื ทปี่ ลกู ยางพาราทงั้ สนิ้ 18,761,031 ไร่ ภาคใตม้ พี น้ื ทป่ี ลกู ยางพารามากทสี่ ดุ 11,906,882 ไร่ หรอื ประมาณ 63 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องประเทศ และเปน็ ประเทศทผี่ ลติ ยางธรรมชาตมิ ากทส่ี ดุ ในโลก สามารถผลติ ยางธรรมชาติ ได้ 1,318,020 เมตรกิ ตนั และมมี ลู คา่ สง่ ออก 146,263.6 ลา้ นบาท มเี กษตรกรทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเพาะปลกู ยางพาราประมาณ 6 ลา้ นคน มกี ารจา้ งงานในอตุ สาหกรรมยางพารา ประมาณ 0.6 ลา้ นคน และสรา้ งรายไดเ้ ขา้ สปู่ ระเทศประมาณ 1.5 แสนลา้ นบาท ยางพารา เปน็ พชื ทปี่ ลกู โดยอาศยั นำ�้ ฝนเปน็ หลกั ผลกระทบ 581,085 ครวั เรอื น ผปู้ ระสบภยั 2,009,134 คน และพน้ื ที่ และการเจรญิ เตบิ โตรวมทง้ั ผลผลติ ขนึ้ อยกู่ บั สภาพของ สวนยางพาราไดร้ บั ผลกระทบมากกวา่ 1 ลา้ นไร่ ลมฟา้ อากาศ ดงั นน้ั การเปลย่ี นแปลงและความแปรปรวน ภัยพิบัติทางลมฟ้าอากาศ รวมถึงอุทกภัยท้ังท่ีเกิดจาก ของสภาพภมู อิ ากาศในรปู แบบตา่ งๆ ยอ่ มสง่ ผลกระทบ พายุโซนร้อน ดีเปรสช่ัน หย่อมความกดอากาศต�่ำและเหตุการณ์ ตอ่ สรรี วทิ ยา การเจรญิ เตบิ โต รวมไปถงึ ผลผลติ ทอี่ าจจะ ฝนตกหนักอย่างต่อเน่ือง ได้ส่งผลกระทบและสร้างความเสียหาย ผนั ผวนและลดลงได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในพน้ื ทภ่ี าคใต้ ตอ่ พนื้ ทปี่ ลกู ยางพาราเปน็ บรเิ วณกวา้ งในพน้ื ทภ่ี าคใต้ หลกั ฐานจาก ซึ่งเป็นพ้ืนที่ปลูกยางพารามากท่ีสุดของประเทศ สถติ ขิ อ้ มลู ทไ่ี ดบ้ นั ทกึ โดยหนว่ ยงานตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภยั พบิ ตั ทิ าง จากเหตกุ ารณว์ าตภยั และอทุ กภยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ อยา่ งรนุ แรง ธรรมชาติ ระบุถึงเหตกุ ารณ์อุทกภยั ในพน้ื ที่ 7 จังหวัดภาคใต้ ซง่ึ ในภาคใต้ช่วงปี พ.ศ. 2553-2554 มีครัวเรือนได้รับ เป็นพื้นทท่ี มี่ ีสวนยางพารามากถึง 8.3 ล้านไร่ หรอื 45% ของพนื้ ที่ 16 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557

ปลกู ยางท้ังหมดของประเทศ มคี วามถแ่ี ละความรนุ แรงเพม่ิ ข้นึ ในช่วง 5-6 ปที ี่ผา่ นมา (รูปท่ี 1) จากขอ้ มูลดังกลา่ ว พบว่า จ.สุราษฎร์ธานี เป็นจังหวัดท่ีเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติสูงสุด 10 เหตุการณ์ในรอบ 7 ปี รองลงมา คือ จ.นครศรธี รรมราช 8 เหตกุ ารณ์ จ.พทั ลงุ และตรงั 7 เหตกุ ารณ์ จ.พงั งาและสงขลา 5 เหตกุ ารณ ์ โดยท่ี จ.กระบี่ เกดิ เหตกุ ารณ์ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตนิ ้อยทส่ี ุด 4 เหตกุ ารณ์ เหตุการณ์วาตภัยและอทุ กภยั เฉพาะทีเ่ กดิ ขน้ึ รปู ท่ี 1 พื้นทีป่ ระสบภัยพบิ ัติทางธรรมชาตริ ะหว่างปี พ.ศ. 2550-2556 ใน 7 จงั หวัดภาคใต้ จังหวัดพัทลุง ได้ถูกคัดเลือกเป็นพ้ืนท่ี ข้อมูลพน้ื ทีส่ วนยางพาราเสยี หายจากวาตภัย อุทกภยั และดินโคลนถลม่ ปี 2553- น�ำร่องในการจัดท�ำฐานข้อมูลพ้ืนที่สวนยางพารา 2554 (ขอ้ มลู รายบุคคล) สำ� นักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง จ.พัทลงุ เสียหาย ท้ังนี้ เนื่องจากจังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัด ที่มีพ้ืนที่เชื่อมต่อระหว่างชายฝั่งด้านอ่าวไทยและ โครงสร้างฐานข้อมลู พนื้ ท่สี วนยางพาราเสียหายจากวาตภยั อทุ กภยั และดินโคลนถล่ม อนั ดามนั รวมถงึ มคี วามถส่ี งู ขน้ึ ตอ่ การไดร้ บั ผลกระทบ จากอุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม ข้อมูลความ ฐานข้อมูลสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) ฐานข้อมลู ความจำ� เปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) เสียหายของสวนยางพาราเป็นข้อมูลรายบุคคล ที่รวบรวมจากส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำ การสกดั ข้อมลู เนื้อทสี่ วนยางพาราเสียหาย (ไร)่ จ�ำนวนต้นยางพาราเสยี หาย (ต้น) สวนยาง จ.พทั ลงุ เปน็ ขอ้ มลู ในชว่ งทเี่ กดิ เหตกุ ารณ์ และมูลค่าความเสียหาย (บาท) อทุ กภยั ครง้ั ใหญใ่ นเดอื นพฤศจกิ ายน ปี พ.ศ. 2553 และปลายเดอื นมนี าคม-ตน้ เดือนเมษายน ปี พ.ศ. การจดั ทำ� ข้อมูลสรปุ รวมรปู แบบความเสยี หายจากรายบุคคลเปน็ รายหมู่บ้าน 2554 จัดทำ� ข้อมูลสถติ ิจำ� นวนประชาชนท่ปี ระสบภยั เปน็ รายหมบู่ า้ น ต�ำบล และอำ� เภอ การลงพ้ืนท่ีเพื่อบันทึกข้อมูลพื้นที่สวน ยางพาราเสียหายรายบุคคลจากเหตุการณ์วาตภัย การตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลด้วยวธิ กี ารทางสถติ ิ อทุ กภยั และดนิ โคลนถลม่ ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2553 และเหตุการณเ์ ดอื นมนี าคม-เมษายน การจดั ท�ำแผนที่ความเสียหายจากวาตภัย อทุ กภัย และดนิ โคลนถลม่ ปี 2553-2554 ปี พ.ศ. 2554 จากส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์ ในภาพรวมของ จ.พัทลุง การทำ� สวนยางจงั หวดั พทั ลงุ นนั้ ขอ้ มลู ระดบั หมบู่ า้ น ต�ำบล และอ�ำเภอ ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดพัทลุง รปู ท่ี 2 ขนั้ ตอนการด�ำเนินงาน ได้ผ่านกระบวนการ ขั้นตอนการด�ำเนินงาน ดังนี้ GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557 17

(1) การบันทึกข้อมูลพ้ืนที่สวนยางพาราเสียหายรายบุคคลจากแบบฟอร์มค�ำร้องและแบบช่วยเหลือเกษตรกร (2) จัดท�ำ ฐานขอ้ มูลพน้ื ทส่ี วนยางพาราเสียหายรายบุคคล (3) ผนวกฐานขอ้ มลู พน้ื ท่สี วนยางพาราเสียหายเขา้ กับฐานข้อมูลสารสนเทศ ทางภูมศิ าสตร์ และ (4) จดั เรยี งข้อมลู ส�ำหรบั จัดทำ� แผนทคี่ วามเสียหาย (รูปท่ี 2) จากการศึกษา พบว่า ในพ้ืนท่ี 11 อ�ำเภอของ จ.พทั ลุง มี 511 หมู่บา้ น 62 ตำ� บล ได้รบั ผลกระทบจากภยั พิบัติ ปี พ.ศ. 2553-2554 ทั้งน้ี จำ� นวนหมู่บ้านทีไ่ ด้รับผลกระทบคิดเป็นร้อยละ 85 ของจ�ำนวนหมู่บ้านทั้งหมดใน จ.พัทลงุ และเม่ือ พิจารณาสดั ส่วนหมูบ่ า้ นที่ได้รบั ผลกระทบกับจำ� นวนหมู่บ้านในแต่ละอำ� เภอ พบว่า อ.ปา่ พะยอม และ อ.บางแกว้ เปน็ อำ� เภอ ท่มี ีพน้ื ทส่ี วนยางพาราไดร้ บั ผลกระทบครบทุกหมบู่ า้ น (34 และ 28 หมบู่ ้านตามลำ� ดบั ) พ้ืนที่ อ.ควนขนุน ได้รบั ผลกระทบ 113 หมบู่ ้าน จาก 116 หมู่บา้ น หรอื คิดเป็นร้อยละ 97 ของพนื้ ที่ ในขณะท่ี อ.ตะโหมด เป็นพ้ืนทท่ี ่ีมสี ัดสว่ นจำ� นวนหมู่บา้ น ไดร้ บั ผลกระทบนอ้ ยทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 56 ของพนื้ ท่ี (ตารางที่ 1) นอกจากน้ี ผลการศกึ ษายงั พบวา่ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เดอื น พฤศจกิ ายน ปี 2553 และปลายเดอื นมนี าคม-ตน้ เดอื นเมษายน ปี 2554 สง่ ผลใหเ้ กษตรกรชาวสวนยางพาราไดร้ บั ผลกระทบ ท้ังส้ิน 14,242 คน โดยท่ี อ.ควนขนุน เปน็ พื้นทีท่ มี่ เี กษตรกรชาวสาวยางพาราได้รับผลกระทบมากทีส่ ดุ จำ� นวน 5,933 คน รองลงมา คือ อ.ปากพะยูน 2,985 คน และ อ.เมอื ง 1,325 คน ซง่ึ จำ� นวนเกษตรกรชาวสวนยางพาราท่ีได้รับผลกระทบใน 3 อำ� เภอดงั กลา่ ว คดิ เปน็ รอ้ ยละ 72 ของจำ� นวนเกษตรกรประสบภยั ทง้ั หมด โดยที่ อ.ตะโหมด อ.กงหรา และ อ.ศรนี ครนิ ทร์ เปน็ พนื้ ทที่ มี่ จี ำ� นวนเกษตรกรไดร้ บั ผลกระทบนอ้ ยทส่ี ดุ 287 คน (รวม 3 อำ� เภอ) หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3 ของจำ� นวนเกษตรกรทงั้ หมด ตารางที่ 1 จ�ำนวนหมู่บ้านและเกษตรกรที่ไดร้ บั ผลกระทบจากภัยพบิ ัติ ปี พ.ศ. 2553-2554 จ.พัทลงุ อำ� เภอ หมบู่ ้าน (บา้ น) หมูบ่ า้ นได้รบั ผลกระทบ (บา้ น) เกษตรกรไดร้ ับผลกระทบ (คน) 1. กงหรา 26 22 100 2. เขาชยั สน 53 42 800 3. ควนขนุน 116 113 5,933 4. ตะโหมด 32 18 74 5. บางแก้ว 28 28 573 6. ปากพะยนู 60 57 2,985 7. ปา่ บอน 45 36 997 8. ปา่ พะยอม 34 34 823 9. เมอื ง 138 108 1,325 10. ศรนี ครินทร์ 37 27 113 11. ศรีบรรพต 29 26 519 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู พน้ื ทสี่ วนยางพาราเสียหายในพน้ื ท่ี จ.พัทลุง (รปู ท่ี 3) พบวา่ มีพ้นื ทสี่ วนยางพาราเสียหาย 67,819 ไร่ โดยท่ี อ.ควนขนนุ มพี ื้นทส่ี วนยางพาราเสียหายมากที่สุด 24,533 ไร่ รองลงมา คือ อ.ปากพะยนู 14,626 ไร่ พืน้ ที่สวนยางพาราเสียหายใน 2 อำ� เภอดงั กลา่ วคิดเปน็ ร้อยละ 58 ของจำ� นวนพ้ืนที่สวนยางพาราเสียหายทงั้ หมด ในขณะที่ อ.กงหรา อ.ตะโหมด และ อ.ศรีนครินทร์ มีพ้ืนที่สวนยางพาราเสียหายรวม 1,211 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 2 ของพื้นที่ เสยี หายทง้ั หมด นอกจากนพี้ น้ื ที่ อ.เขาชยั สน (4,979 ไร)่ อ.บางแกว้ (4,024 ไร)่ อ.ปา่ บอน (4,601 ไร)่ อ.ปา่ พะยอม (6,054 ไร)่ อ.เมอื ง (3,996 ไร)่ และ อ.ศรบี รรพต (3,795 ไร)่ โดยพน้ื ท่ี 6 อำ� เภอ ไดร้ บั ความเสยี หายทงั้ สนิ้ 27,449 ไร่ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40 ของจำ� นวนพื้นทส่ี วนยางพาราเสียหายทงั้ หมด 18 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับที่ 28 กนั ยายน 2557

รูปที่ 3 พนื้ ท่สี วนยางพาราเสยี หายจังหวดั พัทลงุ ปี พ.ศ. 2553-2554 การวิเคราะห์ข้อมูลจ�ำนวนต้นยางพารา เสียหายในพ้ืนท่ี จ.พัทลุง (รูปท่ี 4) พบว่า มี จำ� นวนตน้ ยางพาราเสยี หายทง้ั สน้ิ 5,213,259 ตน้ โดยที่ อ.ควนขนุน มีจ�ำนวนตน้ ยางพาราเสยี หาย มากท่ีสุดจ�ำนวน 1,878,626 ต้น รองลงมา คือ อ.ปากพะยูน 1,123,880 ต้น โดยจ�ำนวน ตน้ ยางพาราเสยี หายของ 2 อำ� เภอ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58 ของจ�ำนวนต้นยางพาราเสียหายทั้งหมด นอกจากน้ีพ้ืนที่ อ.เขาชัยสน (419,598 ต้น) อ.บางแกว้ (342,900 ตน้ ) อ.ปา่ บอน (321,814 ตน้ ) อ.ปา่ พะยอม (417,756 ตน้ ) อ.เมอื ง (331,882 ตน้ ) และ อ.ศรบี รรพต (281,554 ตน้ ) โดยพน้ื ที่ 6 อำ� เภอ มตี น้ ยางพาราไดร้ บั ความเสยี หายทง้ั สนิ้ 2,115,504 ตน้ หรือคิดเป็นร้อยละ 41 ของจ�ำนวนต้นยางพารา เสียหายทง้ั หมด ในขณะท่ี อ.กงหรา อ.ตะโหมด และ อ.ศรีนครินทร์ มีต้นยางพาราเสียหาย รวม 95,245 ตน้ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2 ของจำ� นวน ต้นยางพาราเสียหายทง้ั หมด ผลการวิเคราะห์จ�ำนวนเงินชดเชยสวน ยางพาราในจังหวัดพัทลุงช่วงเหตุการณ์อุทกภัย ครง้ั ใหญ่ในเดือนพฤศจกิ ายน ปี พ.ศ. 2553 และ ปลายเดอื นมนี าคม-ตน้ เดอื นเมษายน ปี พ.ศ. 2554 พบว่า มีมูลค่าเงินชดเชยราว 131 ล้านบาท โดยมอี ำ� เภอทไี่ ดร้ บั เงนิ ชดเชยมากกวา่ 10 ลา้ นบาท 4 อำ� เภอ คอื อ.ปากพะยนู ไดร้ บั เงนิ ชดเชยสงู สดุ ที่ 49,450,728 บาท รองลงมาคือ อ.ควนขนุน 37,945,470 บาท อ.เมือง 13,976,634 บาท และ อ.ปา่ บอน 12,769,050 บาท คดิ เป็นร้อยละ 87 ของมูลค่าเงินชดเชยรวม ในขณะท่ี อ.กงหรา อ.เขาชยั สน อ.ตะโหมด อ.บางแก้ว อ.ปา่ พะยอม อ.ศรีนครนิ ทร์ และ อ.ศรบี รรพต มีมูลคา่ จ�ำนวน เงินชดเชยรวมกนั 17,708,782 บาท (รูปที่ 5) รปู ท่ี 4 จำ� นวนต้นยางพาราเสยี หายจงั หวดั พัทลงุ ปี พ.ศ. 2553-2554 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557 19

เมื่อพิจารณาถึงจ�ำนวนต้นยางพารา รปู ท่ี 5 มูลค่าเงินชดเชยสวนยางพาราเสียหายจังหวัดพทั ลงุ ปี พ.ศ. 2553-2554 เสยี หายรายหมบู่ า้ นในระดบั 90th Percentile หรอื มีจ�ำนวนต้นยางพาราเสียหายมากกว่า 28,021 ต้นต่อหมู่บ้าน มที ั้งสนิ้ 51 หมูบ่ า้ น 24 ตำ� บล 8 อ�ำเภอ (รูปที่ 6) โดยพบที่ อ.ควนขนุน 22 หมูบ่ ้าน เสยี หาย 856,322 ต้น อ.ปากพะยูน 16 หมบู่ า้ น เสียหาย 700,324 ต้น อ.ศรีบรรพต 3 หมู่บ้าน เสียหาย 146,212 ต้น อ.ป่าบอน 3 หมู่บ้าน เสียหาย 109,218 ต้น อ.เขาชัยสน 3 หมู่บ้าน เสียหาย 105,805 ต้น อ.บางแก้ว 1 หมู่บ้าน เสียหาย 109,286 ต้น อ.ป่าพะยอม 2 หมู่บ้าน เสียหาย 61,143 ต้น และ อ.เมือง 1 หมู่บ้าน เสยี หาย 28,449 ต้น (รปู ท่ี 7) นอกจากนี้ เมื่อทำ� การวเิ คราะหจ์ ำ� นวนเงนิ ชดเชยรายหมบู่ า้ นในระดบั Percentile 90 หรือมีจ�ำนวนเงินชดเชยมากกว่า 738,360 บาทต่อหมู่บ้าน มีทั้งสิ้น 51 หมู่บ้าน 20 ตำ� บล 6 อ�ำเภอ (รูปที่ 8) พบท่ี อ.ปากพะยนู 24 หมบู่ า้ น เสยี หาย 39,870,248 บาท อ.ควนขนนุ 13 หมบู่ า้ น 12,079,840 บาท อ.ปา่ บอน 8 หมบู่ า้ น 8,652,840 บาท อ.เมอื ง 4 หมบู่ า้ น 4,313,888 บาท อ.บางแก้ว 1 หมูบ่ า้ น 1,632,870 บาท และ อ.ศรบี รรพต 1 หมู่บา้ น 789,490 บาท ตามลำ� ดบั (รปู ที่ 9) รปู ที่ 6 จ�ำนวนตน้ ยางพาราเสยี หาย ระดบั 90th Percentile จงั หวัดพทั ลงุ ปี พ.ศ. 2553-2554 20 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 28 กันยายน 2557

รปู ท่ี 7 แผนที่จำ� นวนต้นยางพาราเสยี หาย ระดับ 90th Percentile จงั หวัดพทั ลุง ปี พ.ศ. 2553-2554 รปู ท่ี 8 จ�ำนวนเงนิ ชดเชย ระดับ 90th Percentile จังหวดั พัทลงุ ปี พ.ศ. 2553-2554 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557 21

รูปท่ี 9 แผนท่ีเงินชดเชยสวนยางพาราเสยี หาย ระดับ 90th Percentile จังหวดั พทั ลุง ปี พ.ศ. 2553-2554 สำ� นกั งานคลงั จงั หวดั พทั ลงุ (2553) ไดจ้ ดั ทำ� ขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั พทั ลงุ โดยพบวา่ จงั หวดั พทั ลงุ มมี ลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั Gross Provincial Product (GPP) ปี พ.ศ. 2553 มมี ลู คา่ รวมทกุ สาขา 37,328 ลา้ นบาท โดยใน สาขาการเกษตรมมี ลู คา่ 14,664 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 39 ของมลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั และเมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บ เทยี บจำ� นวนเงนิ ชดเชยในชว่ งเหตกุ ารณอ์ ทุ กภยั ครง้ั ใหญก่ บั ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั พทั ลงุ ในปี พ.ศ. 2553 พบวา่ สดั สว่ น ของจำ� นวนเงนิ ชดเชยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.4 ของมลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั และคดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.9 เมอ่ื เปรยี บเทยี บจำ� นวน เงนิ ชดเชยกบั ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมสาขาการเกษตร เอกสารอา้ งอิง (1) กรมวิชาการเกษตร. 2555. ขอ้ มูลวิชาการยางพารา 2555. สถาบนั วจิ ยั ยาง กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ หนา้ 33. (2) สำ� นกั งานคลงั จงั หวดั พัทลงุ . 2553. สถิติผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดพทั ลุงแบบ Bottom up ประจำ� ปี พ.ศ. 2553. คณะทำ� งานจัดทำ� ผลติ ภัณฑ์มวลรวม จังหวดั พัทลุง. (3) สายณั ห์ สดดุ ี อศั มน ลมิ่ สกลุ และวฒุ ชิ ยั แพงแกว้ 2557. ความแปรปรวนและการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศในภาคใตข้ องประเทศไทยทม่ี ผี ลตอ่ การผลติ ยางพารา. รายงานวจิ ัยฉบบั สมบูรณ์ สำ� นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การท�ำวจิ ยั (สกว.) 22 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 28 กนั ยายน 2557

กา้ วหน้าพฒั นา การประเมินการกระจายตัวของกล่ิน ด้วยแบบจ�ำลองคณุ ภาพอากาศ ศริ พงศ์ สุขทวี เปน็ ทที่ ราบกนั ดวี า่ พนื้ ทฝี่ งั กลบขยะ (Landfill) จากหลักแนวคิดน้ีจึงเทียบเคียงได้ว่า ในการกระจายตัว หรือเรียกง่ายๆ ว่าบ่อขยะนั้น มีการปลดปล่อยกล่ิน ของกล่ินนั้นสามารถที่จะประเมินหรือหาค่า Emission ออกมาสสู่ ง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ พน้ื ท่ี กลน่ิ ทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ Factor ในหน่วยของกลนิ่ ที่ปลอ่ ยของแตล่ ะชนดิ กิจกรรม จะถกู ปลอ่ ยออกมาจากพน้ื ทฝ่ี งั กลบและอาจกลายเปน็ ทป่ี ลดปลอ่ ยกลนิ่ ออกมาได้ การประมาณการเหลา่ นจี้ ะเปน็ ความรำ� คาญทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั ประชาชนในทอ้ งถนิ่ หากพน้ื ท่ี ประโยชน์ส�ำหรับการประเมินการวางแผนและการ ฝังกลบขยะใกล้กับหมู่บ้าน ในปัจจุบันปัญหาเร่ืองการ คาดการณอ์ น่ื ๆ ซง่ึ อตั ราการปลอ่ ยกลน่ิ (Odour Emission ปลดปลอ่ ยของกลนิ่ สามารถทจี่ ะประเมนิ ผา่ นกระบวนการ Rate; OER) สามารถที่จะท�ำการทดลองและค�ำนวณ ของการแพรก่ ระจายในชน้ั บรรยากาศเพอ่ื ทจี่ ะคาดการณ์ หาค่าที่เหมาะสมจะน�ำมาใช้โดยตรงเพ่ือเป็นตัวชี้วัด พ้ืนที่ได้รับผลกระทบจากพ้ืนท่ีฝังกลบ ซ่ึงข้อมูลการ ถงึ ผลกระทบของกลนิ่ จากการฝงั กลบทมี่ อี ยหู่ รอื เปน็ ขอ้ มลู ปลดปล่อยกลิ่นจึงส�ำคัญเป็นอย่างหนึ่งท่ีจะน�ำมาใช้ เข้ากบั แบบจำ� ลองการกระจายตวั ของกลน่ิ ในการคาดการณน์ ้ี การประเมินผลกระทบของการฝังกลบกลิ่น ส�ำหรับสหรัฐอเมริกานั้น The United States ปจั จยั แรกต้องระบุแหล่งท่ีมาของกลิ่นซ่ึงจะน�ำมาค�ำนวณ Environmental Protection Agency (1995) ค่าปจั จยั หาค่าความเข้มข้นของกลิ่นและอัตราการปล่อยกล่ิน การปลดปลอ่ ย (Emission Factor) เปน็ ค่าท่นี ำ� มาใชใ้ น ทเ่ี ฉพาะเจาะจง (Specific Odour Emission Rate; SOER) การค�ำนวณเพ่ือเป็นตัวแทนของของสารมลพิษท่ีปล่อย ของแตล่ ะแหลง่ กำ� เนดิ สว่ นใหญจ่ ะใชว้ ธิ วี เิ คราะหโ์ ดยใช้ ออกมาสู่ช้ันบรรยากาศส�ำหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องต่างๆ Olfactometry ซึ่งค่า SOER น้ันสามารถเปล่ียนแปลง ตามปัจจัยต่างๆ เช่น ปริมาณขยะที่จัดเก็บรายวัน ลักษณะการปกคลุมของพื้นท่ีฝังกลบขยะท่ีแตกต่างกัน ดังน้ัน อัตราการปล่อยกล่ิน (OER) น้ัน จึงใช้การหา ค่าเฉล่ียของ SOER เพ่ือน�ำมาใช้ในการค�ำนวณเพื่อหา OER ต่อไป GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบบั ท่ี 28 กันยายน 2557 23

แบบจ�ำลองการกระจายตัวของคุณภาพอากาศ CALPUFF เป็น Non-Stationary Puff (Air Quality Dispersion Model) ทใี่ ชส้ ำ� หรับการจำ� ลอง Atmospheric Dispersion Model เหมาะส�ำหรับการ การกระจายตัวของการปลดปล่อยกลิ่นมีหลายแบบ ประเมินการปล่อยก๊าซจากแหล่งก�ำเนิดเดียวหรือหลาย จำ� ลอง เช่น AERMOD, CALPUFF, TROPOS เปน็ ตน้ แหล่งก�ำเนิด และมีการค�ำนวณการตกสะสมแบบแห้ง AERMODเปน็ asteady-stateplumeทค่ี ำ� นวณการกระจาย และเปียก (Dry and Wet Deposition) การกระจายจาก ตัวของบรรยากาศตามขอบเขต Planetary Boundary มลพิษจากแหล่งก�ำเนิดแบบจุด แบบพื้นที่ และแหล่ง Layer Turbulence Structure และพิจารณาท้ังแหล่ง ก�ำเนิดแบบปริมาณ การเพ่ิมข้ึนของ Plume เป็นปัจจัย ก�ำเนิดที่อยู่ในระดับผิวดินและท่ีสูงขึ้นไป นอกจากนี้ยัง มาจากระยะห่างจากแหล่งก�ำเนิด อิทธิพลของลักษณะ สามารถใช้ส�ำหรับลักษณะภูมิประเทศที่ง่าย (ราบ) หรือ ภูมิประเทศ การกระจายตัวในกรณีท่ีลมอ่อนหรือไม่มีลม ซับซ้อน (Complex) ส�ำหรับในบริเวณชั้นบรรยากาศ และอน่ื ๆ นอกจากนแี้ บบจำ� ลองยงั คำ� นงึ ถงึ การกระจายตวั ท่ีมีเสถยี รภาพการกระจายคงที่ (Stable) การกระจายตัว จากการเคลื่อนท่ขี ึ้นลงของมวลอากาศในแนวดง่ิ จะถือวา่ เปน็ แบบ Gaussian ทงั้ ในแนวต้ังและแนวนอน และมีการใช้ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาที่ได้จากสถานี TROPOS เป็นแบบจ�ำลองพานิชส�ำหรับการ อุตุนิยมวทิ ยาพืน้ ผิวในการคำ� นวณ จำ� ลองการกระจายตวั ดา้ นกลน่ิ ทพ่ี ฒั นาจาก Odotech Inc. ซึ่งมีการค�ำนวณโดยใช้ Gifford-Gaussian ส�ำหรับ การจำ� ลอง รูปแสดงความเขม้ ข้นของกล่นิ จากบรเิ วณพ้ืนทฝ่ี งั กลบดว้ ยแบบจำ� ลอง Tropos Model® (Úbeda, 2010) 24 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 28 กันยายน 2557

รูปแสดงความเข้มขน้ ของกลิ่นจากแหล่งกำ� เนดิ อตุ สาหกรรม ดว้ ยแบบจำ� ลอง AERMOD (Jeong, 2011) รูปแสดงความเขม้ ขน้ ของกล่ินจากแหล่งกำ� เนดิ อุตสาหกรรม ดว้ ยแบบจำ� ลอง CALPUFF (Jeong, 2011) โดยทั่วไปแล้วแบบจ�ำลองน้ีต้องการข้อมูลน�ำเข้าหลัก 3 กลุ่มหลักด้วยกัน คือ 1) ลักษณะภูมิประเทศ 2) ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา 3) ข้อมูลการปลดปล่อย ดังน้ันเมื่อมีข้อมูลครบท้ัง 3 กลุ่มหลักจึงจะสามารถประเมิน การกระจายตัวของกลิ่นได้ และเม่ือทราบพื้นท่ีการกระจายตัวของกล่ินแล้วสามารถท่ีจะน�ำไปใช้เป็นข้อมูลเพื่อ ให้เห็นภาพในเชิงพ้ืนที่และวางแผนการจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นต่อไป แต่อย่างไรก็ตามส�ำหรับในประเทศไทยนั้น ยงั ไม่มกี ารศกึ ษาค่าการปลดปลอ่ ย SOER หรอื OER สำ� หรบั พื้นท่ฝี ังกลบขยะ จงึ เป็นส่วนท่ีไมส่ มบรู ณใ์ นการท�ำแบบ จ�ำลองดา้ นกลิ่นสำ� หรับประเทศไทย เอกสารอา้ งอิง (1) Jeong, S.J., CALPUFF and AERMOD Dispersion Models for Estimating Odor Emissions from Industrial Complex Area Sources. Asian Journal of Atmospheric Environment, 2011, 5, 1-7. (2) Sironi, S.; Capelli, L.; Céntola, P.; Del Rosso, R.; Il Grande, M., Odour emission factors for assessment and prediction of Italian MSW landfills odour impact. Atmospheric Environment 2005, 39, 5387-5394. (3) Úbeda, Y.; Ferrer, M.; Sanchis, E.; Calvet, S.; Nicolas, J.; López, P.A., Evaluation of odour impact from a landfill area and a waste treatment facility through the application of two approaches of a Gaussian dispersion model. In International Environmental Modelling and Software Society (iEMSs) 2010 International Congress on Environmental Modelling and Software Modelling for Environment’s Sake, Ottawa, Canada, 2010; p S.02.03. GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับที่ 28 กันยายน 2557 25

กา้ วหน้าพฒั นา การฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เร่ือง การวางแผนแบบมสี ่วนรว่ มในการลดมลพษิ จาก การเปลีย่ นแปBลaงสtภtaาพmภูมbิอaากnาgศโดMยuกาnรจicัดกipารaขlยiะtใyน ศรวี รรณ ภริ มย์รน่ื เมอื่ วนั ท่ี 8-13 มถิ นุ ายน 2557 ทผ่ี า่ นมาไดม้ โี อกาส จากเทศบาลนครพษิ ณโุ ลก ซงึ่ รปู แบบการฝกึ อบรมเปน็ การ ไปราชอาณาจักรกัมพูชา Battambang Municipality ฝกึ อบรมแบบมสี ว่ นรว่ มโดยกำ� หนดวธิ กี ารสอนแบบเรยี นรู้ เพื่อเป็นวิทยากรในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จากประสบการณ์และการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ เช่น การวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการลดมลพิษจากการ การจ�ำลองสถานการณ์จากกิจกรรม แบบฝึกหัด และ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยการจัดการขยะใน การแสดงบทบาทสมมุติ เน้นการท�ำกิจกรรมร่วมกัน Battambang Municipality โดย Cambodia Education ไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลก็ตาม จึงเป็นวิธีการ and Waste Management Organization (Comped) ทีใ่ ห้ท้ังความรู้ และความเพลิดเพลินไปในเวลาเดียวกนั ร่วมกบั Battambang Municipality ภายใต้การสนบั สนุน และเป็นไปตามหลักปรัชญาของขงจื้อที่ว่า ถ้าเราได้ยิน ของ Institute for Global Environmental Strategies เราจะลมื ถา้ เราไดเ้ หน็ เราจะจำ� ได้ แตถ่ า้ เราลงมอื ปฏบิ ตั ิ (IGES) เปน็ ผใู้ หเ้ กียรติเชิญเปน็ วทิ ยากร ซึง่ วิทยากรนำ� ทมี เราจะเข้าใจ ดังน้ันการจัดฝึกอบรมจะมีการบรรยาย โดย ผอ.วิชาญ สุขสว่าง ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาและ น้อยมากส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมระดมสมองให้ผู้อบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม นางศรีวรรณ ภิรมย์ร่ืน ได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ จนเกิดความเข้าใจ โดย นางสาวจินตนา กล�่ำน้อย และนายแพทย์สุธี ฮ่ันตระกูล การฝึกอบรมจะแบง่ เปน็ 4 ขัน้ ตอน 3 วนั 26 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับที่ 28 กนั ยายน 2557

การควบคุมและ ประเมนิ ผล การวางแผนปฏิบตั ิการ • วิธีการประเมินผลและ จัดการขยะมลู ฝอย ตวั ชวี้ ดั • ข้อมลู อะไรบา้ งทต่ี ้องการ การจัดการขยะ • วสิ ยั ทศั น์ • แหล่งท่ีมาของข้อมูล มลู ฝอยโดยชุมชน • กลยุทธ์ • ตวั ชวี้ ัด • องค์ประกอบการจัดการ • กจิ กรรม การวเิ คราะห์ มลู ฝอยโดยชมุ ชน (CBM) • โครงการ /ประเมิน 6 ขน้ั ตอน • ระยะเวลา • ศกึ ษาดงู าน ณ สถานที่ ของขายได้ • ผรู้ บั ผิดชอบ ฝังกลบขยะและท�ำปุ๋ย การทำ� ป๋ยุ หมัก หมกั ถังขยะของตัวเอง • วิเคราะห์ปัญหาสาเหตุ ถนนปลอดถงั ความถใี่ นการจัดเก็บ แนวทางปอ้ งกันแกไ้ ข ค่าธรรมเนยี ม • การคัดแยกขยะ • ผู้มีบทบาทหลักในการ จัดการขยะมูลฝอย • สถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้รับ ประโยชน์ 1 2 34 โดยในวันแรกเป็นการจุดประกายความคิดให้ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเหน็ ภาพของจรงิ โดยการนำ� ไปศกึ ษาดู งานที่บอ่ ฝังกลบขยะ สถานทที่ �ำปยุ๋ หมกั ตลาดสด เพื่อให้ เห็นถึงปัญหาขยะที่เกิดขึ้นจริงๆ และน�ำมาสู่ขั้นตอนที่ 1 คอื การวิเคราะหป์ ญั หาสาเหตขุ ยะมูลฝอยในเขตเทศบาล Battambang Municipality ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ ปัญหาขยะมูลฝอยก็ไม่แตกต่างจากประเทศไทยเท่าไหร่ ก็จะประสบปัญหาขยะล้นเมือง ประชาชนขาดจิตส�ำนึก ขาดความรว่ มมอื ไมค่ ดั แยกขยะ ขาดความรู้ เกดิ มลพษิ จาก การเผาขยะ จากนน้ั จงึ นำ� มาสขู่ น้ั ตอนที่ 2, 3, 4 ตามลำ� ดบั ซึ่งในระหว่างกิจกรรมแต่ละกิจกรรมก็จะให้ผู้ฝึกอบรม ได้ท�ำกิจกรรมนันทนาการสนุกสนานไม่ง่วงนอน เป็นการ เตรียมความพร้อมในกิจกรรมต่อไป และทุกๆ เช้าของ แตล่ ะวนั จะมอี าสาสมคั รซง่ึ เรยี กวา่ โฆษกประจ�ำวนั มาสรปุ เนอ้ื หาการฝึกอบรมเพอื่ เปน็ การทบทวน ทง้ั นเ้ี มือ่ เสรจ็ สิ้น การฝึกอบรมในแต่ละวันจะมีการประเมินผลประจ�ำวัน ซงึ่ จะทำ� ใหว้ ทิ ยากรไดท้ ราบถงึ ปญั หาอปุ สรรค และปรบั เปลยี่ น เนอ้ื หาการฝึกอบรมไดต้ ลอดเวลา GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 28 กนั ยายน 2557 27

ท้ายสุดของการฝึกอบรมคร้ังน้ี ผู้เข้ารับการอบรมได้แผนงานโครงการในการจัดการมูลฝอย ของ Battambang Municipality เพ่ือลดมลพษิ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและเป็นแผนงาน โครงการแบบมสี ว่ นรว่ มทท่ี กุ คนชว่ ยกนั คดิ ชว่ ยกนั ทำ� และจะชว่ ยกนั ตดิ ตามประเมนิ ผล ซงึ่ พวกเราหวงั วา่ ในโอกาสหน้าถ้าได้ไปเย่ียมเยียนราชอาณาจักรกัมพูชา คงจะเหน็ Battambang Municipality สะอาด สวยงาม และเปน็ เมอื งทเี่ ปน็ มรดกของโลก ตามทผ่ี เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดว้ าดฝนั ไวใ้ นอนาคตอยา่ งแนน่ อน 28 GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบบั ท่ี 28 กนั ยายน 2557

พึง่ พาธรรมชาติ มนษุ ย์ กบั ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม พนมพร วงษ์ปาน โลกและมนุษย์ก�ำลังมีปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นพิษมลภาวะเกิดข้ึนในทุกประเทศ เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของประชากรมนุษย์ เศรษฐกิจ การเพ่ิมผลผลิต และการพัฒนาอุตสาหกรรม ความเจริญด้าน วัตถุมากกว่าการพัฒนาด้านจิตใจ พบวา่ ผทู้ ่สี ร้างปญั หาของสง่ิ แวดลอ้ ม คอื ตวั มนุษยน์ นั่ เอง การแก้ไขปัญหา ต้องเริ่มท่ีผู้สร้างปัญหา ต้องปรับพฤติกรรมเสียใหม่ ควรเปล่ียนระบบการใช้ การบริโภคทรัพยากรธรรมชาติ หาวิธีหมุนเวียนของที่ใช้และท้ิงแล้วกลับมาใช้ใหม่ ประหยัดพลังงานให้มากข้ึน มีการติดตามและตรวจสอบ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งสมำ่� เสมอ หาวธิ หี ลกี เลย่ี งพษิ ภยั ลดการใชส้ ารสงั เคราะหใ์ นการปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ชื ไมน่ า่ เชอื่ วา่ มนษุ ยผ์ เู้ ปน็ สตั วท์ ฉ่ี ลาดสดุ ๆ แตก่ ลบั มาเป็นผู้ท�ำลาย และก่อมลพิษให้สิ่งแวดล้อมมากท่ีสุด โดยเห็นได้จากป่าไม้ถูกท�ำลายไปอย่างมโหฬาร มีความ เปน็ ทะเลทรายมากขน้ึ หนา้ ดนิ ถกู กดั เซาะจากลม และนำ้� มากขน้ึ ต้นน�ำ้ ล�ำธารเหอื ดแหง้ พนั ธพ์ุ ชื พนั ธ์ุสัตว์ ซึ่งมี วิวัฒนาการสะสมมาหลายพันปี ถูกท�ำลายอย่างรวดเร็ว มขี ยะอตุ สาหกรรม สารเคมที ใ่ี ชใ้ นการปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ชื ปนเปอ้ื นสอู่ าหาร นำ้� และดนิ มากขนึ้ แกส๊ ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ ทำ� ใหเ้ กดิ ฝนกรด นำ้� มนั รว่ั ลงสทู่ ะเลและมหาสมทุ รมากขนึ้ การทำ� เหมืองแร่ท�ำให้สารพิษซึมลงสู่ชั้นน�้ำใต้ดิน ท�ำให้ น้�ำท่ีใช้อุปโภคบริโภคเป็นพิษ โรงงานอุตสาหกรรมและ บา้ นเรอื นปลอ่ ยนำ้� เสยี ทำ� ใหแ้ มน่ ำ�้ ลำ� คลองเนา่ เสยี มกี ารใช้ เชอื้ เพลงิ กันมากข้ึน ท�ำให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้น บรรยากาศมมี ากขน้ึ และกนั้ ความรอ้ นใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์ เรือนกระจก คือ ท�ำให้โลกร้อนขึ้นเร่ือยๆ จนเกิดความ GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557 29

แห้งแล้งเเละน้�ำแข็งท่ีข้ัวโลกละลายมากข้ึน ท�ำให้น้�ำ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและ ในมหาสมุทรสูงข้ึน ท่วมบ้านเรือนและพ้ืนที่การเกษตร อนาคตของลูกหลานเราเป็นส่ิงส�ำคัญที่สุด เราจะต้อง ในที่ราบต�ำ่ มากขน้ึ น�ำมาพิจารณาเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขอย่างจริงจังต่อไป เหตุการณ์จะต้องเป็นบทเรียนให้มนุษย์รุ่นใหม่ได้เรียนรู้ เม่ือพิจารณาและมองไปในอนาคต และจะท�ำ และหาทางปรับตัวเพื่อป้องกันและควบคุมมิให้สภาวะ อย่างไรท่ีจะให้สิ่งแวดล้อมโลกปลอดจากมลพิษนั้นจึง เลวรา้ ยลงไปอกี มนษุ ยไ์ มม่ ที จ่ี ะหนไี ปไหนไดแ้ ลว้ เพราะเรา เปน็ เรอ่ื งทจี่ ะแกไ้ ขปอ้ งกนั ยากมาก เพราะตอ้ งแกท้ ต่ี วั เรา จะอยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกับโลกใบเดียวกัน สัตว์มนุษย์ ซ่ึงเป็นมนุษย์ก่อน ยากเหมือนค�ำอุปมาท่ีว่า “งมเข็มใน ต้องร่วมกันจึงจะท�ำให้สัตว์โลกท่ีเป็นเจ้าบ้าน ให้มนุษย์ มหาสมทุ ร” การแกไ้ ขปญั หาทกุ อยา่ ง ควรเรม่ิ ทตี่ วั เราเอง อาศยั อยนู่ น้ี ่าจะอยตู่ ่อไปอกี นานเทา่ นานและแสนนาน เสมอ ตนเองเปน็ บุคคลส�ำคัญทส่ี ุดในการแกแ้ ละปอ้ งกัน ปัญหาสิ่งแวดล้อม รู้จักการใช้ธรรมชาติอย่างประหยัด ไม่ท�ำลายแต่จะถนอมและสร้างสภาวะแวดล้อมให้เป็น ธรรมชาติมากที่สุด เล่ียงการใช้พลังงานทุกอย่างหากไม่ จ�ำเป็น ลดการใช้โฟมจากกิจกรรมต่างๆ ไม่ซื้ออาหารท่ี บรรจใุ นกลอ่ งโฟม การเผาขยะหรอื วตั ถใุ ดๆ กเ็ ปน็ การเพม่ิ ระดับคาร์บอนไดออกไซด์และท�ำให้อุณหภูมิโลกสูงข้ึน การนำ� กระดาษมาใชซ้ ำ้� อกี ทกี เ็ ทา่ กบั ไมเ่ รง่ ใหเ้ ขาตดั ตน้ ไม้ ท�ำลายป่าเพ่ือมาท�ำเย่ือกระดาษทดแทน และปลูกต้นไม้ เพิ่มข้ึนก็จะเป็นการช่วยลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ลงไปไดม้ าก เอกสารอ้างอิง (1) ไมตรี สุทรจิตต์. สารพษิ ธรรมชาตสิ าเหตุกลไกการเกิดพษิ โรคมะเรง็ และ การปอ้ งกัน. โรงพมิ พด์ าว: เชียงใหม,่ 2534. (2) ไมตรี สทุ รจติ ต.์ มนษุ ยก์ บั การปอ้ งกนั และการแกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม. ภาควชิ าชีวเคมี คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ 30 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 28 กนั ยายน 2557

พงึ่ พาธรรมชาติ ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ท่ีเกยี่ วกบั การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมในจังหวัดเพชรบรุ ี จังหวัดเพชรบุรี มีสภาพภูมิประเทศทางด้าน เครือข่ายสังคมหลากหลาย ตลอดจนการสร้างความรู้ ทศิ ตะวนั ตกเปน็ ปา่ เขาสลบั ซบั ซอ้ น มเี ทอื กเขาตะนาวศรี และภูมิปัญญาของตนเองด้านการจัดการทรัพยากร เป็นเส้นก้ันอาณาเขตระหว่างไทยกับสหภาพพม่า ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพึ่งตนเองและ ส่วนทางทิศตะวันออกเป็นท่ีราบไปจนจดชายฝั่งทะเล เศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ เหมาะสมทจ่ี ะใชเ้ ปน็ พน้ื ทต่ี น้ แบบ อ่าวไทย พื้นท่ีจังหวัดเพรชบุรีมีแม่น�้ำสายส�ำคัญ ในการค้นหา พัฒนา ฟื้นฟูภูมิปัญญา และขยายผล ไหลผา่ น 3 สายไดแ้ ก่ แมน่ ำ้� เพรชบรุ ี แมน่ ำ้� บางกลอย และ การท�ำงานได้อย่างต่อเนื่อง กลุ่มคนเหล่าน้ีสามารถ แม่น�้ำบางตะบูน ประชากรจังหวัดเพชรบุรีส่วนใหญ่ ให้ข้อมูลเชิงภูมิปัญญา ร่วมมือในการตรวจสอบ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก มีการท�ำนา พัฒนา และเช่ือมโยงภูมิปัญญาเข้ากับหลักการ ท�ำสวนผลไม้ ท�ำน�้ำตาลโตนด เลี้ยงสัตว์ และ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะท�ำให้มีการพัฒนาภูมิปัญญา ท�ำการประมง พื้นที่จังหวัดเพรชบุรีนับว่าเป็นพื้นท่ี อยา่ งเปน็ ประโยชนแ์ ละสอดคลอ้ งกบั หลกั ทางวชิ าการ ท่ีมีฐานทรัพยากรทางสังคมท่ีเข้มแข็ง ประกอบด้วย เพ่ือแก้ไขปัญหาทรัพยากร ที่จะน�ำไปสู่การพัฒนา ทรัพยากรดิน ต้นไม้ สังคม ประเพณีและวัฒนธรรม อย่างเช่ือมโยงกันแบบองค์รวม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นความรู้ที่เช่ือมโยงเทคโนโลยี ระบบนิเวศ และ สังคมวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน ภูมิปัญญาท้องถิ่นจึงเป็น ความรู้ท่ีมีคุณค่าและความดีงามและจรรโยงชีวิตและ วิถีชุมชนให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติและสภาวะแวดล้อม ไดอ้ ยา่ งกลมกลืนและสมดุล ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ยงั เปน็ รากฐานการพัฒนาที่เร่ิมจากการพัฒนาเพื่อการพึ่งพา ตนเอง การพัฒนาเพ่ือการพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน และการพัฒนาท่ีผสมผสานองค์ความรู้สากลบนฐาน ภูมิปัญญาเดิมเพ่ือเกิดเป็นภูมิปัญญาร่วมสมัยที่ใช้ ประโยชนไ์ ด้กวา้ งขึน้ GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 28 กันยายน 2557 31

ดังน้ันภูมิปัญญาท้องถ่ินจึงมีคุณค่าไม่เพียง ของภูมิปัญญาท้องถ่ินในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ แต่ต่อท้องถิ่นและผู้คนเท่านั้น แต่ยังเอ้ือประโยชน์ และสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างย่ิงการปรับประยุกต์ใช้ อยา่ งใหญห่ ลวงตอ่ การวางแผนพฒั นาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื เพ่ือการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมั่นคงจากลักษณะธรรมชาติของภูมิปัญญาท้องถิ่น ในพื้นที่ ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท่ีมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต เป็นความรู้ที่ไม่มีการประมวลและจัดให้เป็นระบบ ของชุมชนท้องถิ่น มีความส�ำคัญและมีคุณค่าต่อชุมชน ชนิดที่เรียกว่า “องค์ความรู้” ฉะน้ันจึงไม่อาจถ่ายทอด แต่ก�ำลังจะสูญหายไป การอนุรักษ์ภูมิปัญญาเหล่าน้ี โดยผา่ นกระบวนการเรยี นรขู้ องโลกสมยั ใหมไ่ ด้ แตช่ มุ ชน จะเกิดขึ้นได้เมื่อชุมชนมีความภูมิใจเห็นความส�ำคัญ สามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาเหล่าน้ีได้โดยผ่านวิถีชีวิต จึงต้องสร้างคุณค่าให้ปรากฏและสืบสานให้คงอยู่ต่อไป ซง่ึ เปน็ การยากทค่ี นภายนอกมไิ ดส้ มั ผสั กบั วถิ ชี วี ติ เชน่ นน้ั โดยจัดท�ำเป็นระบบ เเละจัดหมวดหมู่เพื่อการถ่ายทอด จะเรียนร้ไู ด้ อยา่ งไรกต็ าม การพัฒนา “ความร้”ู เชน่ น้ี ความรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ ง ข้ึนมาเป็น “องค์ความรู้” สามารถกระท�ำได้และสมควร ที่จะกระท�ำอย่างยิ่ง เพ่ือใช้เป็นฐานส�ำหรับการสร้าง องคค์ วามรขู้ องสงั คม และเพอ่ื เปน็ แนวทางในการจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้เกิดความย่ังยืน สืบต่อไป ดังนั้นศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม จึงจัดท�ำโครงการฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีเก่ียวกับ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี น้ี มี จุ ด ห ม า ย เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ร ว บ ร ว ม แ ล ะ สั ง เ ค ร า ะ ห ์ ภู มิ ป ั ญ ญ า ท ้ อ ง ถ่ิ น ใ น ก า ร จั ด ก า ร ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทจ่ี งั หวดั เพชรบรุ ี ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื ประโยชนใ์ นการเผยแพร่ ส่งเสริม สนับสนุน ยกระดับคุณค่าและความส�ำคัญ 32 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 28 กนั ยายน 2557

ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม ผลกำรวิจัย กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ได้เห็นความส�าคัญ พบว่า มีภูมิปัญญาท้องถ่ินในหลายด้านที่ ได้มอบหมายให้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ดา� เนินการศกึ ษาวิจยั นา่ สนใจเกยี่ วขอ้ งกบั การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ในโครงการฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เก่ียวกับ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยเลอื กนา� รอ่ ง 5 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในจงั หวดั เพชรบรุ นี ้ี โดยมีขอบเขตงาน ดังนี้ (1) ภูมิปัญญำกำรปลูกหญ้ำแฝกเพื่อกำร ปรบั ปรงุ และพฒั นำดนิ ทแ่ี ขง็ เปน็ ดำนเพอื่ กำรปลกู พชื (1) พัฒนาและออกแบบเคร่ืองมือเพื่อการ โดย ร.ต.ต.วิชาญ ตนั เจริญ ศูนย์การศึกษาการพัฒนา ส�ารวจภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในพื้นทศี่ ึกษา ห้วยทรายฯ (2) ส�ารวจ รวบรวม และสืบค้นภูมิปัญญา (2) ภมู ปิ ญั ญำกำรทำ� เตำชวี มวล โดย นายชาญ ท้องถ่ินในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ทบั สี เครอื ข่ายปราชญช์ าวบ้านดนิ ผงิ แดด ส่ิงแวดล้อมในพ้นื ที่จงั หวดั เพชรบุร ี ดว้ ยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ชุมชนที่เก่ียวข้องกับภูมิปัญญา (3) ภูมปิ ญั ญำธนำคำรปูมำ้ โดย นายสานิธ ท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สีค�า ชมุ ชนบ้านบางไทรย้อย สิ่งแวดล้อม อยา่ งน้อย 5 องคค์ วามร ู้ โดยมีผเู้ ขา้ ร่วม จา� นวน 30 คน (4) ภมู ปิ ญั ญำกำรทำ� ฝำยชะลอนำ�้ เพอ่ื ฟน้ื ฟู และอนุรักษ์ทรัพยำกรปำ่ ไม้ โดย นายสมชาย มนี ชุ (3) สัมภาษณ์เดี่ยวเจาะลึกผู้น�าท้องถิ่น ผู้รู้ กลมุ่ คนรกั ษ์เขาแดน่ อ.บา้ นลาด จ.เพชรบุรี ในชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม (5) ภมู ปิ ญั ญำเกษตรทำงรอด โดย นายสวาท เกตุมงคล อ.เมือง จ.เพชรบุรี (4) สังเคราะห์ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีใช้ในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงในล�ำดับต่อไปจะได้จัดสัมมนำสรุปผล โดยการจัดประชุมชุมชนท้องถิ่นเพ่ือน�าเสนอผลงาน กำรศึกษำองค์ควำมรู้ ภูมิปัญญำท้องถ่ินด้ำนกำร การจัดทา� หลกั สูตรและค่มู ือภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น บริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ณ อทุ ยำนสง่ิ แวดลอ้ มนำนำชำตสิ ริ นิ ธร อำ� เภอชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี โดยมีผู้เข้ำร่วมจำกภำคส่วนต่ำงๆ ได้แก่หน่วยงำนภำครัฐ เอกชน สถำบันกำรศึกษำ และจะได้มอบส่ือฐำนข้อมูลองค์ควำมรู้ภูมิปัญญำ ท้องถ่ินให้กับอุทยำนสิ่งแวดล้อมนำนำชำติสิรินธร ต่อไป เอกสำรอำ้ งอิง ศูนย์วิจัยและฝกึ อบรมดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม. (2557) โครงกำรฐำนขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญำท้องถน่ิ ท่เี ก่ียวข้องกบั กำรอนุรักษท์ รพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ในจงั หวัดเพชรบรุ ี. รายงานผลการวิจัย ศูนยว์ จิ ยั และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดลอ้ ม. GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 28 กนั ยายน 2557 33

มหกรรมงานวิจยั แห่งชาติ 2557 เทคนคิ การเขียนข้อเสนอโครงการวจิ ัย (Thailand Research Expo 2014) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้าน กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดล้อม ได้สง่ ผลงานเรื่อง ส่ิงแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพ “เตาเผาขยะชวี มวลไรค้ วนั ” เขา้ รว่ มนา� เสนอผลงาน สง่ิ แวดลอ้ ม ไดจ้ ดั อบรมเรอ่ื ง เทคนคิ ในภาคนทิ รรศการ ในงาน “มหกรรมงานวจิ ยั แหง่ ชาติ การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย 2557 (Thailand Research Expo 2014)” ในระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม ในระหว่างวนั ท่ี 7-11 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรม 2557 ณ วิลล่าเอเดน รีสอร์ท เซน็ ทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชน่ั เซน็ เตอร์ จังหวัดนครนายก โดยได้รับเกียรติจากนายวิจารย์ สิมาฉายา รองปลัด แ ล ะ ยั ง ไ ด ้ น� า เ ส น อ ภ า ค ก า ร ป ร ะ ชุ ม ใ น หั ว ข ้ อ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม นายบญุ ชอบ สทุ ธมนสั วงษ์ เรื่องพลังงานสีเขียวจากเตาเผาขยะชีวมวลไร้ควัน ผตู้ รวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รว่ มเสวนา ในวันที่ 7 สงิ หาคม 2557 เวลา 13.30-16.30 น. วชิ าการพรอ้ มมอบแนวทางการดา� เนนิ งานดา้ นการวจิ ยั และนายเวชยนั ต์ ณ หอ้ ง Lotus 10 โดยมี นางสวุ รรณา เตยี รถส์ วุ รรณา เฮงสุวนชิ ผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ากสา� นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ผู้อา� นวยการศูนยว์ จิ ัยและฝกึ อบรมด้านส่งิ แวดล้อม ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นการประเมินข้อเสนอโครงการวิจยั มาใหค้ วามรู้ เทคนคิ ร่วมด้วยนักวิจัยจากศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้าน การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นต่างๆ เพ่ือให้ สงิ่ แวดลอ้ ม ดร.นติ ยา นกั ระนาด มลิ น์ ดร.หทยั รตั น์ นักวิจัยได้มีการพัฒนาเทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยท่ีถูกต้อง การเี วทย์ ดร.วรรณา เลาวกลุ และดร.เดซ่ี หมอกนอ้ ย และมคี ุณภาพตอ่ ไป รว่ มเสวนาในหวั ขอ้ ดงั กลา่ ว โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มการเสวนา จา� นวน 130 คน ประชุม FocแลuะsกลGมุ่ rผouนู้ p�าชปมุ รชานชญช์ าวบ้าน ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ม.ราชภฏั สวนสนุ นั ทา จัดประชมุ Focus Group ปราชญ์ ชาวบ้าน และกลุ่มผ้นู า� ชมุ ชน เพ่อื วจิ ยั ความรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ในจังหวดั เพชรบุรี ด�าเนินการตามโครงการฐานข้อมูลความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในระหวา่ งวนั ที่ 2-4 กรกฎาคม 2557 ณ หอ้ งประชมุ อทุ ยานสง่ิ แวดลอ้ มสริ นิ ทร อ.ชะอา� จ.เพชรบรุ ี โดย ดร.สนใจ หะวานนท์ รองผอู้ า� นวยการสง่ิ แวดลอ้ มสริ นิ ทร ใหก้ ารตอ้ นรบั นายโสฬส ขนั ธเ์ุ ครอื ผอ.กลมุ่ งานประสานความรว่ มมอื นกั วจิ ยั ฯ ศนู ย์วจิ ยั และฝกึ อบรมด้านส่งิ แวดล้อมเปิดการประชมุ และ ผศ.ดร.อาณัติ ต๊ะปินตา คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ราชภัฏสวนสุนันทา กลา่ วถงึ ความเปน็ มาและกระบวนการศกึ ษาวจิ ยั ฐานความรภู้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และแนวทางการศึกษาในแต่ละขน้ั ตอน รวมทงั้ การขยายผลต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook