Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GR37 "วิจัยตรงใจ...หยุดปัญหา"

GR37 "วิจัยตรงใจ...หยุดปัญหา"

Published by Lib SRC, 2022-01-27 01:36:33

Description: GR37.1

Search

Read the Text Version

ป‚ท่ี 14 ฉบบั ที่ 37 กันยายน 2560 โศกเwททรูนwคระยศwโทวนพั.รจิdธวทัยeางแนqท0ลี2pระต-พั.g5ฝำย7oกบา7.อลtก-hบ4คร1รธล8มรอ2รดง-มหา9ชนาาโสทตอ่ิงริแำแสเลวภาะดรอสลค0่งิอ ลแ2ม-วอ5ดงก7หลร7ลอม-1วมส1งง3เจ8สงัรหิมวคัดุณปภทาุมพธสา่ิงนแี ว1ด21ล2อ 0ม ปท‚ ่ี 14 ฉบบั ท่ี 37 กนั ยายน 2560

ป‚ท่ี 14 ฉบบั ที่ 37 กนั ยายน 2560 “วจิ ยั ตรงจุด...หยุดปญหา” มาตรา 6 ของกรอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาติ โครงการประเมนิ ศักยภาพของธรรมชาติ อปุ กรณป อ งกนั ลม (Windscreen) กรมสง เสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ ม วา ดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ในการบำบัดฟน ฟนู ำ้ ใตด นิ ท่ีปนเปอ น กับการตรวจวดั ระดับเสยี ง ลงนามบันทึกขอ ตกลงความรวมมอื (Article 6 of the United Nations สารอนิ ทรียร ะเหยในพืน้ ท่เี ขตควบคมุ มลพิษ กับบรษิ ทั หองปฏบิ ัตกิ ารกลาง Framework Convention on Climate Change) จงั หวดั ระยอง (ประเทศไทย) จำกัด

เร่อื งเดน่ ประจ�ำฉบับ เรอื่ งเดน่ ประจ�ำฉบบั 1 9มาตรา 6 ของกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ วา่ ด้วยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ การเปรียบเทียบผลระหวา่ งห้องปฏบิ ตั ิการ (Article 6 of the United Nations (Inter-Laboratory Comparison) Framework Convention on Climate Change) รายการทดสอบระดบั เสยี งรบกวนและระดับเสียงโดยทัว่ ไป ดร.อศั มน ลิม่ สกุล ศูนย์วจิ ัยและฝึกอบรมดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม กรมส่งเสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม สมุ าลี ปานมาศ ยพุ ิน บัวจนั พอ ภาวณิ ี นาคประเวศน์ และเกษนยี ์ นนทคำ� จนั ทร์ ศูนยว์ จิ ัยและฝกึ อบรมดา้ นส่งิ แวดล้อม กรมส่งเสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม 17 ตดิ ตามเฝ้าระวงั ก้าวหน้าพฒั นา 22 โครงการประเมินศักยภาพของธรรมชาติ โครงการกระบวนการทางด้านชีวธรณีเคมี และความ ในการบ�ำบัดฟ้นื ฟนู ้�ำใตด้ ินทป่ี นเปอื้ นสารอินทรีย์ระเหย สมั พนั ธข์ องการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการใช้ ในพน้ื ที่เขตควบคุมมลพิษ จงั หวดั ระยอง ประโยชนท์ ด่ี นิ ตอ่ คณุ ภาพและปรมิ าณของนำ�้ ในลมุ่ นำ้� มลู ประเทศไทย ดร.แฟรดาซ์ มาเหลม็ , พรี พงษ์ สุนทรเดชะ, สุนทร งดงาม ศนู ย์วจิ ัยและฝกึ อบรมด้านส่งิ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสริมคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ดร.แฟรดาซ์ มาเหลม็ , พรี พงษ์ สุนทรเดชะ และ สุนทร งดงาม ศนู ย์วิจยั และฝกึ อบรมด้านส่งิ แวดลอ้ ม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม กา้ วหน้าพัฒนา พี่งพาธรรมชาติ 25 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ลม (Windscreen) ดุลยภาพ พ่ีงพาธรรมชาติ กบั การตรวจวัดระดับเสียง 27แหง่ ธรรมชาติ.. 29การทอ่ งเทย่ี วเชิงนิเวศ (Ecotourism) ภาวณิ ี นาคประเวศน์ ทีม่ า : การรกั ษาดลุ ยภาพของส่ิงมีชวี ติ ศูนย์วิจยั และฝกึ อบรมด้านสิง่ แวดล้อม http://environment.ekstepza.ws/life-equilibrium.html นันท์ธีรา ศรบี ุรินทร์ กรมสง่ เสริมคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ศูนย์วิจยั และฝกึ อบรมดา้ นสง่ิ แวดล้อม กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม ERTC Update ERTC Update 32 กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม 33วิจัยสิ่งแวดลอ้ ม... ลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื กับบรษิ ทั ห้องปฏิบัติการกลาง สยู่ คุ Thailand 4.0 (ประเทศไทย) จ�ำกดั สวสั ดีคะ่ ทา่ นผ้อู ่านหลงั จากผ่านพน้ การรว่ มแรงร่วมใจเชียรก์ ีฬาซเี กมส์ ท่ีนักกีฬาไทยสร้างผลงานเป็นท่ีน่าพอใจและสู้เพื่อประเทศไทยมาแล้ว วารสาร ปท‚ ่ี 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 กันยายน 2560 Green Research ฉบับที่ 37 ประจำ� เดือนกันยายน 2560 กลบั มาพบกบั ผอู้ ่าน อกี ครั้งเนอ้ื หายังเป่ียมไปดว้ ยสาระเกีย่ วกบั สง่ิ แวดล้อมเช่นเดมิ ค่ะ ทป่ี รึกษา สรุ ชยั อจลบุญ เริม่ ต้นด้วย เรื่องเดน่ ประจ�ำฉบบั เรอ่ื ง “มาตรา 6 ของกรอบอนสุ ญั ญา สากล ฐินะกุล สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ” ตอ่ ดว้ ยตดิ ตามเฝา้ ระวงั บรรณาธิการบริหาร เรอื่ ง “โครงการประเมนิ ศกั ยภาพของธรรมชาตใิ นการบำ� บดั ฟน้ื ฟใู ตด้ นิ ทปี่ นเปอ้ื น อนงค์ ชานะมูล สารอนิ ทรยี ร์ ะเหย ในพนื้ ทเี่ ขตควบคมุ มลพษิ จงั หวดั ระยอง” และกา้ วหนา้ พฒั นา กองบรรณาธิการ ในเร่ือง “โครงการกระบวนการทางด้านชีวธรณีเคมี และความสัมพันธ์ของ นิตยา นกั ระนาด มิลน ์ ศิรินภา ศรที องทิม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใช้ประโยชน์ท่ีดินต่อคุณภาพและ หทยั รตั น์ การีเวทย์ เจนวทิ ย์ วงษ์ศานูน ปริมาณของน�้ำในลุ่มน้�ำมูล” พร้อมด้วยการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ” จากคอลัมน์ ปัญจา ใยถาวร รฐั เรอื งโชตวิ ิทย์ พง่ึ พาธรรมชาติ จนิ ดารัตน์ เรอื งโชตวิ ิทย์ อาทติ ยา พามี ปิดท้ายกบั คอลมั น์ ERTC UPDATE “การวจิ ยั สง่ิ แวดล้อมสู่ยคุ Thailand 4.0 ในหวั ขอ้ อภิปราย Dioxins, VOCs, PAHs มลพษิ อากาศใกล้ตวั และสารอนั ตราย ศนู ย์วิจัยและฝกึ อบรมด้านสง่ิ แวดล้อม กับการปนเปื้อนในดิน น�้ำ และน�้ำใต้ดิน และการน�ำน้�ำกลับมาใช้ใหม่” โดย กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม ภายในเลม่ ยงั มบี ทความงานวจิ ยั หลากหลายดา้ นทน่ี า่ สนใจไมค่ วรพลาด แลว้ พบ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กันใหม่ในฉบับหน้านะคะ เทคโนธานี ตำ� บลคลองหา้ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 02-577-4182-9 โทรสาร 02-577-1138 www.deqp.go.th

ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 37 กนั ยายน 2560 มาตรา 6 ของกรอบอนุสญั ญาสหประชาชาติ วา่ ดว้ ยการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (Article 6 of the United Nations Framework Convention on Climate Change) ✑ ดร.อัศมน ล่มิ สกุล ศูนยว์ ิจยั และฝึกอบรมดา้ นสิง่ แวดล้อม กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม การสร้างความตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมของ ภายใตม้ าตรา 6 จดั เปน็ กลไกพนื้ ฐานทชี่ ว่ ยใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายสงู สดุ ประชาชน นับเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ของกรอบอนุสัญญาฯ ในการรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซ ของประเทศในการตอบสนองต่อปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพ เรอื นกระจกใหอ้ ยใู่ นระดบั ทป่ี ลอดภยั จากการแทรกแซงของมนษุ ย์ ภมู อิ ากาศและภาวะโลกรอ้ น ดงั นน้ั มาตรา 6 ของกรอบอนสุ ญั ญา ท่ีเป็นอันตรายต่อระบบภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเพิ่ม สหประชาชาติว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (United ความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง Nations Framework Convention on Climate Change; สภาพภูมิอากาศและการมีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือนกระจก UNFCCC) ไดเ้ รยี กรอ้ งใหท้ กุ ประเทศภาคสี มาชกิ กรอบอนสุ ญั ญาฯ บนหลักการความรับผิดชอบร่วมในระดับที่แตกต่าง (common และองค์กรอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ส่งเสริมและให้ความร่วมมือด้าน but differentiated responsibility) วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน การศึกษา ฝึกอบรมและสร้างจิตส�ำนึก เพื่อกระตุ้นให้เกิดความ ปี ค.ศ. 20302 และความตกลงปารีส3 ยังยืนยันถึงความส�ำคัญ ตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางของทุกภาคส่วน ของกจิ กรรมภายใตม้ าตรา 6 ของกรอบอนสุ ญั ญาฯ ในการสง่ เสรมิ ต่อปญั หาการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ1 ทั้งน้ี กจิ กรรมตา่ งๆ การพัฒนาที่ย่ังยืนมีความยืดหยุ่นต่อภูมิอากาศ ท่ีประชุม 1 เร่ืองเดน่ ประจ�ำฉบบั

ปีที่ 14 ฉบับที่ 37 กนั ยายน 2560 รัฐภาคีซ่ึงท�ำหน้าที่เป็นที่ประชุมรัฐภาคีความตกลงปารีส ขอบเขตและวตั ถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรมภายใตม้ าตรา 6 (the Conference of the Parties serving as the Meeting of ของกรอบอนสุ ัญญาฯ the Parties to the Paris Agreement; CMA) จะพิจารณาถึง แนวทางการยกระดบั การดำ� เนนิ งานกจิ กรรมภายใตม้ าตรา 6 ของ กิจกรรมภายใต้มาตรา 6 ของกรอบอนุสัญญาฯ กรอบอนสุ ัญญาฯ เพ่มิ เติมเพื่อเพิ่มความเข้มแขง็ การด�ำเนนิ งาน ประกอบดว้ ย 6 กิจกรรมหลกั ๆ ไดแ้ ก่ การศกึ ษา การฝกึ อบรม ตามความตกลงปารสี ในการประชมุ สมยั ท่ี 14 ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื เสรมิ การสร้างจิตส�ำนึก การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสาธารณชน พลงั ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ (Action for Climate Empowerment; การมีส่วนร่วมของประชาชนและความร่วมมือระหว่างประเทศ ACE) เป็นค�ำใหม่ที่ที่ประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาฯ ได้รับรอง ของ 5 ประเดน็ ดังกล่าวข้างตน้ มาตรา 6 ของกรอบอนสุ ญั ญาฯ ในปี ค.ศ. 2015 เพ่อื เป็นค�ำทเี่ หมาะสมในการอ้างอิงถึงกจิ กรรม เรียกร้องให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ พัฒนาและด�ำเนินการ ต่างๆ ภายใต้มาตรา 6 ของกรอบอนุสัญญาฯ ในชีวิตประจำ� วัน5 แผนงานการศึกษาและการสร้างจิตส�ำนึก การฝึกอบรมบุคลากร ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละบรหิ ารจดั การ สนบั สนนุ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู เรือ่ งเดน่ ประจ�ำฉบับ 2

ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 37 กันยายน 2560 ข่าวสารของสาธารณชนและส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ประวัตโิ ดยย่อและล�ำดบั เหตกุ ารณ์ ในการแก้ไขปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและผล ทส่ี �ำคัญของมาตรา 6 กระทบจากภาวะโลกร้อน6 นอกจากนี้ ยังกระตุ้นใหป้ ระเทศต่างๆ ใหค้ วามรว่ มมอื ในกระบวนการทเี่ กย่ี วกบั กจิ กรรมภายใตม้ าตรา 6 มาตรา 6 หรือปฏิบัติการเพื่อเสริมพลังด้านสภาพ ของกรอบอนสุ ญั ญาฯ ดว้ ยการแลกเปลยี่ นแนวทางปฏบิ ตั ทิ ด่ี แี ละ ภูมิอากาศ เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนเจรจาและการด�ำเนินงาน บทเรยี นท่ไี ด้รับ และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของสถาบนั ในระดบั ภายใต้กรอบอนุสัญญาฯ ตั้งแต่มีการรับรองเอกสารกรอบ ประเทศ ขอบเขตที่กว้างขวางของกิจกรรมภายใต้มาตรา 6 น้ ี อนสุ ญั ญาฯ ในปี ค.ศ. 1992 ความสำ� คญั ของความรว่ มมอื ระหวา่ ง ไดร้ บั การชีน้ ำ� โดยวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะซึ่งรวมเขา้ ด้วยกนั แล้ว เป็น ประเทศในการบรรลุเป้าหมายของมาตรา 6 ได้รับการเน้นย้�ำใน ส่ิงส�ำคัญส�ำหรับการด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพด้านการปรับตัว ข้อ 10 (e) ของพิธสี ารเกยี วโตทรี่ บั รองใน ปี ค.ศ. 19978 ที่ประชมุ และการลดกา๊ ซเรอื นกระจก เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายสงู สดุ ของกรอบ รัฐภาคีสมาชกิ (the Conference of the Parties; COP) กรอบ อนสุ ัญญาฯ (ตารางท่ี 1)7 อนุสัญญาฯ สมัยที่ 11 ที่กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ได้รับรอง แผนงานนวิ เดลี (New Delhi Work Programme) มรี ะยะเวลา ตารางท่ี 1 องค์ประกอบ ขอบเขตและวัตถปุ ระสงคก์ ิจกรรมของมาตรา 6 ของกรอบอนสุ ัญญาฯ ขอบเขต วตั ถปุ ระสงค์ 1. การศึกษา 1. ปรับเปลยี่ นพฤติกรรมระยะยาว ส่งเสริมความเข้าใจและความสามารถในการจัดการ 2. การฝึกอบรม 2. พฒั นาทกั ษะการปฏบิ ตั งิ าน ปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ 3. การสร้างจติ สำ� นกึ และเพมิ่ ความชำ� นาญ จากภาวะโลกรอ้ น 4. การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล 3. เข้าถงึ ผูค้ นทกุ เพศทกุ วัย สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ความคดิ สรา้ งสรรค์ ขา่ วสารของ และทกุ วถิ ีชีวติ ได้ และความรู้ในการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาการ สาธารณชน 4. เผยแพร่และใหข้ อ้ มูลข่าวสาร เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5. การมีสว่ นรว่ มของ แกป่ ระชาชนอย่างอสิ ระ โน้มน้าวและดึงดูดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังหมดในการ ประชาชน 5. การมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน อภิปรายและเป็นหุ้นส่วนในการตอบสนองในภาพรวม 6. ความรว่ มมอื ระหวา่ ง ในกระบวนการตดั สนิ ใจและดำ� เนนิ การ ตอ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ประเทศ 6. เสริมสร้างความร่วมมือ ความพยายามร่วมกนั และแลกเปลยี่ นความรู้ 3 เรอื่ งเด่นประจำ� ฉบบั

ปีที่ 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2002 ถึงปี ค.ศ. 2007 เพ่ือเป็นกรอบท่ีมีความ สนับสนุนท้ังด้านเทคนิคและการเงิน รวมถึงการเข้าถึงข้อมูล ยืดหยุ่นใช้ส�ำหรับขับเคล่ือนกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้มาตรา 6 ท่ี ข่าวสารและส่ิงจ�ำเป็นแก่หน่วยประสานงานกลางของประเทศ แต่ละประเทศด�ำเนินการเอง เพื่อจัดการกับความจ�ำเป็นเฉพาะ ด้านมาตรา 6 (National Focal Point for Article 6 of the และสถานการณ์ของรัฐภาคีสมาชิกท่ีสะท้อนถึงความส�ำคัญและ Convention) นอกจากน้ี รฐั ภาคสี มาชกิ ยงั ตกลงใหจ้ ดั การเสวนา การริเริ่มของแต่ละประเทศ6 ในปี ค.ศ. 2007 ที่ประชุม COP มาตรา 6 ประจำ� ปี เพอ่ื นำ� เสนอและยกระดับการดำ� เนนิ งานและ สมยั ท่ี 13 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนเี ชยี ได้แกไ้ ขแผนงานนวิ เดลี ประสทิ ธิภาพของงานท่เี กย่ี วขอ้ ง ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 2013 เปน็ ตน้ มา9 (amended New Delhi Work Programme) และขยายการ การเสวนามาตรา 6 ประจ�ำปี เป็นเวทีให้รัฐภาคี สมาชิกและ ดำ� เนนิ แผนงานออกไปอกี 5 ปี (ค.ศ. 2007-2012) พรอ้ มทง้ั รอ้ งขอ ผู้แทนของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องที่จัดตั้งภายใต้กรอบอนุสัญญาฯ ให้เลขาธิการกรอบอนุสัญญาฯ จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการใน ผ้เู ชีย่ วชาญตา่ ง ๆ ผปู้ ฏิบตั ิงานและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ได้แบ่งปัน ระดับภูมิภาคซ่ึงถือเป็นส่วนของกระบวนการทบทวนแผนงาน ประสบการณ์ และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ตอ่ การดำ� เนนิ งานตาม นิวเดลี การแบ่งปันบทเรียนประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ แผนงานโดฮา6 ในการเสวนามาตรา 6 ประจ�ำปี ครั้งที่ 3 เม่ือ เป็นเลิศ6 การประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าว ได้จัดขึ้นในยุโรป เดือนมิถนุ ายน ปี ค.ศ. 2015 ไดม้ ขี อ้ ตดั สินใจให้ใชค้ �ำว่า ปฏบิ ัติการ และเอเชียและแปซฟิ กิ ในปี ค.ศ. 2009 ในหม่เู กาะขนาดเลก็ ของ เพ่ือเสริมพลังด้านสภาพภูมิอากาศ แทนความพยายามต่าง ๆ รัฐก�ำลังพัฒนา แอฟริกาและละตินอเมริกาและแคริบเบียนใน ท่ีเก่ียวข้องกับการด�ำเนินงานภายใต้มาตรา 6 ของกรอบ ปี ค.ศ. 20106 ที่เมืองโดฮา ประเทศกาตาร์ ในปี ค.ศ. 2012 ที่ อนสุ ญั ญาฯ เพอ่ื ความเขา้ ใจทง่ี า่ ยในชวี ติ ประจำ� วนั ของสาธารณชน5 ประชมุ COP สมยั ที่ 18 ไดร้ บั รองแผนงานโดฮา (Doha Work ท่ีประชุม COP สมัยท่ี 20 ท่ีกรุงลิมา ประเทศเปรู เมื่อเดือน Programme) ซึ่งมีระยะเวลา 8 ปี (ค.ศ. 2012-2020)6 ธันวาคม ปี ค.ศ. 2014 ไดม้ ีการรบั รองปฏิญญารัฐมนตรีกรุงลมิ า โดยแผนงานน้ี ได้เชิญชวนให้รัฐภาคีสมาชิก ก�ำหนดและให้การ วา่ ดว้ ยการศกึ ษาและสรา้ งจติ สำ� นกึ (Lima Ministerial Declaration จัดประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร ระดับภูมภิ าค ในหมู่เกาะ ขนาดเลก็ ของ แก้ไขแผนงาน รฐั กำ� ลงั พฒั นา นิวเดลแี ละ แอฟรกิ าและ ขยายระยะ ละตินอเมรกิ า/ 1992 รบั รองพธิ ี 2002 เวลาออกไป 2009 แครบิ เบียน 2012 เสวนามาตรา 6 2014 สารเกียวโต อกี 5 ปี คร้งั ที่ 1 รับรองกรอบ รบั รอง จดั ประชุมเชิง รับรอง เสวนามาตร อนุสญั ญา 1997 แผนงานนิวเดลี 2007 ปฏบิ ัติการ 2010 แผนงานโดฮา 2013 ครง้ั ที่ 2 สหประชาชาติว่า ของมาตรา 6 ระดับภูมภิ าค ของมาตรา 6 และรบั รอง ด้วยการ ในยโุ รปและ ปฏิญญา เปลี่ยนแปลง เอเชยี /แปซิฟกิ รัฐมนตรีกรุง สภาพภูมอิ ากาศ ลิมาว่าดว้ ย การศึกษาแ สร้างจิตส�ำน รูปท่ี 1 แสดงเหตุการณส์ ำ� คัญท่เี กยี่ วข้องกับมาตรา 6 ภายใตก้ รอบอนสุ ัญญาฯ 7 เรือ่ งเดน่ ประจำ� ฉบับ 4

ปีที่ 14 ฉบับที่ 37 กนั ยายน 2560 on Education and Awareness-raising) ซง่ึ ยนื ยนั ถงึ ความสำ� คญั โดฮาไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาว แนวทาง ของมาตรา 6 ในการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของกรอบอนุสัญญาฯ การขับเคลื่อนโดยประเทศนั้น ๆ โดยเรียกร้องให้ทุกประเทศ และส่งเสริมการพัฒนาท่ียั่งยืนมีความยืดหยุ่นต่อภูมิอากาศ10 บรู ณาการกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับมาตรา 6 เข้ากบั แผนงาน ต่อมาในปี ค.ศ. 2015 ท่ีประชุม COP สมัยท่ี 21 ที่กรุงปารีส และยทุ ธศาสตรก์ ารปรบั ตวั และการลดกา๊ ซเรอื นกระจกทมี่ อี ยแู่ ลว้ 7,9 ประเทศฝรั่งเศส รัฐภาคีสมาชิกตกลงท่ีจะร่วมมือในการด�ำเนิน พร้อมทั้งแต่งตั้งหน่วยประสานงานกลางของประเทศ ในการ มาตรการตามความเหมาะสมในการยกระดบั การศกึ ษาทเ่ี กย่ี วกบั ประสานงานและอ�ำนวยความสะดวกการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การฝกึ อบรม การสรา้ งจติ สำ� นกึ ภายใต้มาตรา 6 ท้ังนี้ ในแผนงานโดฮา ได้ระบุรายการกิจกรรม การมีส่วนร่วมของประชาชน และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ทสี่ ามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นระดบั ประเทศ ระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ของสาธารณชน ด้วยความตระหนักถึงความส�ำคัญของกิจกรรม ทอ้ งถ่ิน 9 การพัฒนายุทธศาสตร์ชาติดา้ นมาตรา 6 มคี วามสำ� คัญ เหล่านี้ ต่อการยกระดับการด�ำเนินงานตามความตกลงปารีส3, 4 ล�ำดบั แรก ๆ ของวิธกี ารต่าง ๆ ทป่ี ระเทศสามารถด�ำเนนิ กจิ กรรม ในปี ค.ศ. 2016 ไดด้ ำ� เนนิ การทบทวนขน้ั กลางของแผนงานโดฮา6 ภายใตม้ าตรา 6 ตวั อยา่ งของกจิ กรรมดงั ทไี่ ดร้ ะบใุ นแผนงานโดฮา ซ่ึงการทบทวนขั้นสุดท้ายของแผนงานโดฮา จะด�ำเนินการใน ซงึ่ อาจเป็นส่วนหนงึ่ ของยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย 7 ปี ค.ศ. 2020 รูปท่ี 1 แสดงเหตุการณ์ส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้องกับ 1. กลยทุ ธ์ ประเมนิ ความจำ� เปน็ เฉพาะตอ่ สถานการณ์ มาตรา 6 ภายใตก้ รอบอนุสัญญาฯ ของประเทศเก่ียวกับการด�ำเนินกิจกรรมภายใต้มาตรา 6 ของ กรอบอนสุ ัญญาฯ โดยใชว้ ิธีวิจัยทางด้านสังคมและเคร่อื งมอื อ่นื ๆ การดำ� เนินกิจกรรมภายใตม้ าตรา 6 ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายและพันธมิตรที่มีศักยภาพ ในปัจจุบัน แผนงานโดฮา ได้ถูกใช้เป็นกรอบในการ และพัฒนากลยุทธ์การส่ือสารด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ด�ำเนนิ กิจกรรมภายใตม้ าตรา 6 ของประเทศตา่ ง ๆ ซึ่งแผนงาน ภมู อิ ากาศ บนพนื้ ฐานเปา้ หมายงานวจิ ยั ทางดา้ นสงั คมอนั จะนำ� ไป สู่การเปลย่ี นแปลงทางพฤติกรรม 2. เครื่องมือและกิจกรรม ส่งเสริมและยกระดับการ บูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในหลักสูตร การเรยี นทกุ ระดบั ชนั้ และขา้ มสาขาวชิ า สรา้ งความพยายามในการ เสวนามาตรา 6 พัฒนาและผลิตสื่อและส่งเสริมการฝึกอบรมครูที่มุ่งเน้นการ ครงั้ ที่ 3 เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภูมิภาคและระหว่างประเทศ และตกลงท่จี ะ รวมถึงแสวงหาโอกาสในการเผยแพร่ข้อมูลด้านการเปล่ียนแปลง ยกระดับการ สภาพภูมิอากาศอย่างกว้างขวาง และสร้างการมีส่วนร่วมของ ดำ� เนินงาน ประชาชน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เยาวชน สตรแี ละองคก์ รภาคประชา ของมาตรา 6 สงั คมและองคก์ รอืน่ ๆ ในการกำ� หนดมาตรการและแนวทางการ เพ่ือสนบั สนุน การทบทวน ด�ำเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4 ความตกลง 2016 ข้นั สุดทา้ ยของ ปารสี แผนงานโดฮา ตลอดจนกระตุ้นให้สาธารณชนซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของแผนงาน การสร้างจิตส�ำนึก มีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือนกระจกและ ตรา 6 เสวนามาตรา 6 การปรบั ตัว 2015 ครั้งท่ี 4 2020 3. การติดตามตรวจสอบและทบทวน ด�ำเนินการ ง และได้ ส�ำรวจ เชน่ การสำ� รวจความรู้ ทศั นคติและการปฏบิ ตั ิ/พฤติกรรม ดำ� เนินการ (Knowledge-attitude-practice/behavior) เพ่ือจัดท�ำข้อมูล รงุ ทบทวนขั้น บรรทดั ฐาน (baseline) จติ สำ� นกึ ของประชาชน ซง่ึ สามารถใชเ้ ปน็ ย กลางของ ข้อมูลพ้ืนฐานส�ำหรับการด�ำเนินงานต่อไปและสนับสนุนการ และ แผนงานโดฮา ตดิ ตามผลกระทบของกจิ กรรม แบง่ ปนั ขอ้ คน้ พบทม่ี อี ยใู่ นรายงาน ำนกึ แห่งชาติและแผนปฏิบัติการหรือแผนงานในประเทศด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับประชาชนท่ัวไปและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสยี ทั้งหมด 5 เรือ่ งเดน่ ประจ�ำฉบบั

ปีที่ 14 ฉบับท่ี 37 กนั ยายน 2560 วัตถุประสงค์และภารกิจของหน่วยประสานงานกลาง ของประเทศด้านการดำ� เนนิ กจิ กรรมภายใต้มาตรา 6 หน่วยประสานงานกลางของประเทศ มีบทบาทและ หน้าที่เพ่ือส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรมภายใต้มาตรา 6 ในทุก องค์ประกอบท้ังด้านการศึกษา การฝึกอบรม การสร้างจิตส�ำนึก การมีส่วนร่วมของประชาชน การเข้าถึงข้อมูลของสาธารณชน และความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศของ 5 ประเดน็ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ 7 ในระดับประเทศ หน่วยประสานงานกลางของประเทศ อาจมี ความรับผิดชอบด้านการเมือง ด้านเทคนิคและด้านองค์กร ทแี่ ตกตา่ งกนั ไปตามสถานการณข์ องประเทศ ทงั้ นี้ รฐั ภาคสี มาชกิ กรอบอนสุ ญั ญาฯ จำ� เปน็ ตอ้ งตดั สนิ ใจกำ� หนดประเภทของกจิ กรรม ทหี่ นว่ ยประสานงานกลาง สามารถดำ� เนนิ การ ซงึ่ รายการประเภท ของกิจกรรมดังกลา่ ว ดังแสดงในตารางท่ี 2 7 ตารางท่ี 2 บทบาทและหนา้ ทีข่ องหน่วยประสานงานกลางของประเทศด้านการดำ� เนนิ งานกจิ กรรมภายใต้มาตรา 6 1. ระดบั นานาชาติ ❍ รว่ มเจรจาการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศระหว่างประเทศ ❍ ร่วมการเสวนามาตรา 6 ประจ�ำปี ❍ ระบุแนวทางและประเด็นความร่วมมือระหว่างประเทศทเ่ี ปน็ ไปได้ และหาโอกาสเสริมสร้างความเขม้ แข็งกับอนสุ ญั ญาอ่ืน 2. ระดบั ประเทศ ❍ ส่งเสริมการบูรณาการอย่างเป็นระบบด้านการศึกษา ฝึกอบรม การสร้างจิตส�ำนึก การมีส่วนร่วมของประชาชนและการ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชน ในทุกกิจกรรมการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัวภายใต้กรอบอนุสัญญาฯ ตลอดจนความตกลงปารีส รวมถึงการด�ำเนินงานตามการมีส่วนร่วมท่ีประเทศก�ำหนด (Nationally Determined Contribution; NDC) และการจดั ท�ำยทุ ธศาสตร์ระยะยาวส�ำหรบั การพฒั นาทีม่ ีการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกตำ่� ❍ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้องทุกภาคส่วนในการด�ำเนินกิจกรรมมาตรา 6 และกิจกรรมการลด กา๊ ซเรือนกระจกและการปรับตวั ทดี่ �ำเนินการภายใตก้ รอบอนสุ ัญญาฯ ❍ ยกระดับการประสานงานข้ามภาคส่วนระหว่างกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกระทรวง ท่ีเกี่ยวข้องกบั การศกึ ษา การฝกึ อบรม การสรา้ งจิตสำ� นกึ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ❍ ประสานงานเพือ่ พฒั นา ดำ� เนินการและประเมินผลยุทธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยกิจกรรมมาตรา 6 ❍ ระดมความชว่ ยเหลือด้านเทคนิคและการเงินเพ่ือยกระดับการด�ำเนนิ งานตามแผนงานโดฮาในระดับประเทศ ❍ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สื่อวัสดุอุปกรณ์และตัวอย่างท่ีดีเกี่ยวกับองค์ประกอบทั้งหกด้าน ของกจิ กรรมมาตรา 6 ❍ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการและเหตุการณ์ส�ำคัญของกิจกรรมมาตรา 6 ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเกี่ยวข้องหลายภาคส่วน เพ่ืออำ� นวยความสะดวกการแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น การปฏิบัตทิ ่ดี ีและบทเรียนทไ่ี ด้รบั อยา่ งสมำ่� เสมอ ❍ จัดส่งข้อมูลซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของรายงานชาติและในกรณีท่ีเป็นไปได้ในรายงานอ่ืน ๆ ภายใต้กรอบอนุสัญญาฯ เก่ียวกับ การด�ำเนินงานตามแผนโดฮา และแบ่งปันประสบการณ์และแนวทางปฏิบัติท่ีดีเพ่ือวัตถุประสงค์ของการทบทวนและ ประเมินผลแผนงานโดฮาในปี ค.ศ. 2020 โดยมีข้อสังเกตว่าทั้งหกองค์ประกอบของกิจกรรมมาตรา 6 มีแนวทาง ทเ่ี ป็นประโยชน์ส�ำหรบั การรายงานดังกล่าว 3. ระดบั ท้องถิน่ ❍ ประสานงานกบั หนว่ ยงานทอ้ งถิน่ และผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสยี ที่เกี่ยวขอ้ งในการยกระดับการด�ำเนินกจิ กรรมมาตรา 6 ในระดบั ท้องถ่ิน เรื่องเดน่ ประจำ� ฉบบั 6

ปที ่ี 14 ฉบับท่ี 37 กันยายน 2560 ในปัจจุบัน รัฐภาคีสมาชิกกรอบอนุสัญญาฯ ได้เสนอ ของภาคสว่ นต่าง ๆ ในระดับประเทศ ภมู ภิ าคและท้องถิ่น ผลของ ช่อื หน่วยประสานงานกลางของประเทศ เพอื่ ท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบ การดำ� เนนิ กจิ กรรมเหลา่ นี้ สง่ ผลใหส้ ถานการณป์ จั จบุ นั ในแงค่ วาม การประสานงาน อ�ำนวยความสะดวกและส่งเสริมการด�ำเนิน รู้ความเข้าใจ ความตระหนักต่อประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพ กจิ กรรมภายใตม้ าตรา 6 แลว้ มากกว่า 100 ประเทศ 6 สำ� หรบั ภมู อิ ากาศ และการมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการพฒั นา ประเทศไทย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง และด�ำเนินการนโยบายและกิจกรรมด้านการเปล่ียนแปลงสภาพ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ ภูมิอากาศในประเทศไทย มีความก้าวหน้าเพิ่มมากข้ึนเป็นล�ำดับ เป็นหน่วยประสานงานหลักระดับประเทศส�ำหรับกิจกรรม กิจกรรมมาตรา 6 บางองค์ประกอบ ได้ผนวกรวมในแผนแม่บท มาตรา 6 ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2557 11 รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-259312 แผนการปรับตัวแห่งชาติ และโครงการและแผนงานอื่น ๆ ที่ การดำ� เนนิ กิจกรรมมาตรา 6 เก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับประเทศ ของประเทศไทยในภาพรวม กระทรวง จงั หวดั และทอ้ งถน่ิ การมสี ว่ นรว่ มและการปรกึ ษาหารอื กบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี นบั เปน็ กระบวนสำ� คญั ทมี่ กั จดั ตง้ั ในระหวา่ ง ในชว่ งทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยมคี วามกา้ วหนา้ การจัดท�ำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 อย่างมากในการวางแผน การประสานงานและการด�ำเนินงาน และ 12 ตลอดจนการจัดเตรียมรายงานแห่งชาติและรายงาน ด้านการศึกษาท่ีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความก้าวหนา้ รอบ 2 ปขี องกรอบอนสุ ัญญาฯ จากการดำ� เนนิ งาน การฝึกอบรม การสร้างจิตส�ำนึก การมีส่วนร่วมของประชาชน ดังกล่าว ชี้ให้เห็นถึงประเทศไทยให้ความส�ำคัญต่อกระบวนการ และการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารของสาธารณชน รวมถงึ ความรว่ มมอื มีส่วนร่วมของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อกระบวนการ ระหวา่ งประเทศในประเด็นต่าง ๆ ข้างต้น ทงั้ นี้ กิจกรรมมาตรา 6 พัฒนาแผนงานและยุทธศาสตร์ชาติและการจัดเตรียมรายงาน ท่ีมีความหลากหลายท้ังในบริบทของแผนงานนิวเดลีที่ปรับปรุง แหง่ ชาติ ซง่ึ เปน็ กลไกหนงึ่ ในการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและการสรา้ ง แล้วและแผนงานโดฮา ได้ด�ำเนินการผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม 7 เร่อื งเด่นประจำ� ฉบบั

ปีที่ 14 ฉบับท่ี 37 กันยายน 2560 จิตส�ำนึกต่อประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ปี พ.ศ. 2560 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติมอบหมายให้กรมส่งเสริม ภูมิอากาศ นอกจากนี้ กิจกรรมมาตรา 6 บางองค์ประกอบ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม รว่ มกบั สำ� นกั นโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ ได้กล่าวถึงในรายงานการมีส่วนร่วมที่ประเทศไทยก�ำหนด และสิ่งแวดล้อม และองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (Thailand’s NDC)13 ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน นกั วิชาการ (องค์การมหาชน) จัดเตรียมแผนปฏิบัติการกิจกรรมมาตรา 6 อาจารย์ องค์กรเอกชนที่ไม่หวังผลก�ำไรและหุ้นส่วนอ่ืน ๆ เพื่อสนับสนุนการยกระดับการด�ำเนินงานด้านการเปล่ียนแปลง ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไดม้ สี ว่ นในการจดั ทำ� Thailand’s NDC และการมสี ว่ น สภาพภูมิอากาศตามความตกลงปารีส รวมท้ังพัฒนาหลักสูตร ร่วมของภาคส่วนเหล่านี้ เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อความส�ำเร็จใน การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร14 การด�ำเนินงานตาม NDC ของประเทศไทย เมื่อเดือนมกราคม เอกสารอ้างองิ 1 United Nation Framework Convention on Climate Change. (1992). United Nation, http://unfccc.int/essential_background/ convention/items/6036.php. 2 Transforming our world. The 2030 agenda for sustainable development, https://sustainabledevelopment.un.org/post2015/ transformingourworld. 3 Paris Agreement. (2015). United Nation, http://unfccc.int/paris_agreement/items/9485.php. 4 Report of the Conference of the Parties on its twenty-first session held in Paris from 30 November to 13 December 2015. FCCC/ CP/2015/10/Add.1, http://unfccc.int/documentation/ documents/advanced_search/items/6911.php?priref=600008865. 5 Action for Climate Empowerment. A friendly name for Article 6. http://newsroom.unfccc.int/unfccc-newsroom/dont-cal-it- article-6-cal -it-ace-action-for-climate-empowerment/. 6 Education, Training and Public Awareness under Article 6 of the Convention. http://unfccc.int/cooperation_support/edu- cation_outreach/overview/items/8946.php. 7 United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO) and United Nation Framework Convention on Climate Change (UNFCCC). (2016). Action for climate employment guidelines for accelerating solutions through edu- cation, training and public awareness. http://unesdoc.unesco.org/images/0024/002464/246435e.pdf. 8 Kyoto Protocol to the United Nations Framework Convention on Climate Change. (1998). United Nation, http://unfccc.int/ kyoto_protocol/items/2830.php. 9Doha work programme on Article 6 of the Convention. http://unfccc.int/resource/docs/2012/ cop18/eng/08a02.pdf#page=17. 10 Lima Ministerial Declaration on Education and Awareness-rising. http://unfccc.int/resource/ docs/2014/cop20/eng/10a03. pdf#page=37. 11 National Focal Point for Action for Climate Empowerment. http://unfccc.int/cooperation_and_support/education_and_out- reach/national_focal_points/items/8942.php. 12 แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ พ.ศ. 2558 - 2593. http://www.deqp.go.th/media/36631/แผนแม-่ บท_2558_2593. pdf. 13 Thailand’s Nationaly Determined Contribution. http://www4.unfccc.int/ndcregistry/PublishedDocuments/Thailand%20First/ Thailand_INDC.pdf. 14 สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร.ี มตคิ ณะรฐั มนตรเี มอ่ื วนั ที่ 24 มกราคม 2560. https://cabinet.soc.go.th/soc/Program2-1.jsp?menu=1. เรอื่ งเดน่ ประจำ� ฉบับ 8

ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 37 กนั ยายน 2560 การ(เIปntรeยี rบ-LเทaยีbบoผraลtoระrหyวCา่ oงmห้อpงaปriฏsิบoตัn)ิการ รายการทดสอบระดับเสยี งรบกวนและระดบั เสียงโดยท่วั ไป ✑สุมาลี ปานมาศ ยพุ ิน บัวจันพอ ภาวิณี นาคประเวศน์ และเกษนยี ์ นนทคำ� จนั ทร์ ศูนยว์ ิจยั และฝกึ อบรมด้านสง่ิ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter- การทดสอบระดับเสียงเฉล่ีย 24 ชั่วโมงและระดับเสียงสูงสุด Laboratory Comparison) สาขาส่ิงแวดล้อม รายการทดสอบ ด้วยค่า Classical z-score ทุกห้องปฏิบัติการมีผลการทดสอบ ระดบั เสยี งรบกวนและระดบั เสยี งโดยทว่ั ไป (บรเิ วณภายในอาคาร) เปน็ ทนี่ า่ พอใจ แตเ่ มอื่ ประเมนิ ดว้ ยคา่ En-Ratio พบวา่ การทดสอบ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15-16 พฤษภาคม 2560 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ระดับเสียงสูงสุด มีจ�ำนวน 1 ห้องปฏิบัติการท่ีมีผลการทดสอบ สร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการท่ีมีศักยภาพในการทดสอบระดับ ไมส่ อดคลอ้ งกับคา่ อ้างอิง ( > 1) เสียงพารามิเตอร์ต่าง ๆ และเพ่ือจัดท�ำการควบคุมคุณภาพจาก ภายนอกของการทดสอบระดับเสียงรบกวนและระดับเสียงโดย ค�ำส�ำคัญ : การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ, ระดับ ท่ัวไป ห้องปฏิบัติการท่ีสนใจเข้าร่วมเปรียบเทียบผลมีจ�ำนวน เสียงรบกวน, ระดับเสียงโดยทั่วไป, ค่าความไม่แน่นอนของการ 6 หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร สถติ ทิ ใ่ี ชก้ ารประเมนิ สมรรถนะของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ทดสอบ ในครงั้ น้ี คณะผจู้ ดั ไดเ้ ลอื กการคำ� นวณคา่ Classical z-score และ ค่า Normalized Error (En) Ratio โดยใช้ค่าอา้ งอิงจากคา่ เฉล่ยี 1. บทน�ำ ผลการทดสอบและคา่ ความไมแ่ นน่ อนของการทดสอบของทกุ หอ้ ง การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ รายการ ปฏบิ ตั กิ ารทส่ี ง่ ผลการทดสอบเขา้ รว่ มเปรยี บเทยี บ ผลการประเมนิ ทดสอบเสยี งพารามเิ ตอรต์ า่ ง ๆ ในสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ งานทกี่ ระทำ� ได้ พบว่ารายการทดสอบระดับเสียงรบกวน คา่ Classical z-score คอ่ นขา้ งยาก เนอื่ งจากระดบั เสยี งในสงิ่ แวดลอ้ มนน้ั มปี จั จยั หลาย ๆ และค่า En-Ratio ของทุกห้องปฏิบัติการมีผลการทดสอบเป็นที่ ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ระดบั เสยี ง ไมว่ า่ จะเปน็ ตำ� แหนง่ ทที่ ดสอบ สภาพ น่าพอใจและสอดคลอ้ งกบั คา่ อา้ งองิ (z-score ≤ 2 และ ≤1) พ้ืนท่ี ช่วงเวลาที่ทดสอบ เคร่ืองมือ วิธีการ ประสบการณ์ของ ส�ำหรับรายการทดสอบระดับเสียงโดยทั่วไป มีจ�ำนวน 4 ห้อง เจ้าหน้าท่ีทดสอบ รวมทั้งสภาวะแวดล้อมด้วย ในขณะเดียวกัน 9ปฏบิ ตั กิ ารทส่ี ง่ ผลการทดสอบเขา้ รว่ มเปรยี บเทยี บ ผลการประเมนิ การให้ค่าก�ำหนด (Assigned value) ของการเปรียบเทียบผล เร่อื งเดน่ ประจำ� ฉบบั

ปที ่ี 14 ฉบับที่ 37 กนั ยายน 2560 ระหว่างห้องปฏิบัติการน้ันกระท�ำได้ค่อนข้างยาก ตามข้อ เมื่อ x คือ ผลการทดสอบของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร กำ� หนดของ มอก.17025-2548 (ISO/IEC 17025 : 2005) ขอ้ 5.9 คอื คา่ เฉล่ียของผลการทดสอบ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตอ้ งมขี น้ั ตอนการดำ� เนนิ งานในการควบคมุ คณุ ภาพ (ไมไ่ ดต้ ดั outlier ออก) การทดสอบ และตามข้อก�ำหนดของหน่วยรับรอง (ส�ำนักงาน Target SD คอื ค่า Standard Deviation ของกลมุ่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและกรมวิทยาศาสตร์บริการ) 2.1.2 การแปลผลค่า Classical z-score กำ� หนดใหห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารทขี่ อรบั การรบั รองหรอื ไดร้ บั การรบั รองแลว้ หาก z-score ≤ 2 คอื ผลเปน็ ท่นี า่ พอใจ (Satisfied) จำ� เปน็ ต้องเขา้ รว่ มโปรแกรมการทดสอบความชำ� นาญ (PT) หรอื 2 < z-score ≤ 3 คือ ผลเป็นท่นี ่าสงสยั (Questionable) เข้าร่วมในการทดสอบเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ z-score > 3 คอื ผลไม่เป็นที่น่าพอใจ (Unsatisfied) (Inter-Laboratory Comparison) อยา่ งนอ้ ยทกุ 3 ปี ในสาขาหลกั ที่ขอการรับรอง (ถ้ามี)1 หรือห้องปฏิบัติการต้องมีการจัดท�ำแผน 2.2 ค่า Normalized Error หรอื ด(งัEตn)่อไRปaนti้ี o และเข้าร่วมโปรแกรมทดสอบความช�ำนาญห้องปฏิบัติการ หรือ 2.2.1 สมการในการค�ำนวณ 4 การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม (ถ้ามี) อย่างน้อย 1 โปรแกรมแต่ละการทดสอบหลักในขอบข่ายท่ียื่นขอ เมอื่ คอื Normalized Error ก่อนยืน่ ขอการรบั รองและอย่างนอ้ ย 1 โปรแกรมทุก 4 ป2ี สำ� หรับ Xlab คือ ผลการทดสอบของห้องปฏบิ ัตกิ าร รายการทดสอบระดับเสียงรบกวนและระดับเสียงโดยทั่วไปน้ัน ทเ่ี ขา้ ร่วมเปรียบเทยี บ ปัจจุบันมีห้องปฏิบัติการที่สามารถทดสอบได้ท้ังห้องปฏิบัติการ Ul ab คือ คขอ่าคงหวอ้ามงปไมฏแ่บิ นตั น่กิ อารนทขเี่ อขา้งรผว่ลมกเาปรรทยี ดบสเทอยี บบ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน แต่เนื่องจากหน่วยงานท่ีท�ำ X ref คอื ค่าอา้ งอิงของการเปรยี บเทียบผล หนา้ ทจ่ี ดั เปรยี บเทยี บผลระหวา่ งหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื จดั โปรแกรม การทดสอบ ทดสอบความช�ำนาญนัน้ ยงั ไมม่ ีหนว่ ยงานไหนจดั ทำ� โปรแกรม Uref คือ คา่ ความไมแ่ นน่ อนของ Xref ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อมจึงได้ทดลอง จัดการเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ รายการทดสอบ 2.2.2 การแปลผลค่า Normalized Error (En) ระดับเสียงรบกวนและระดับเสียงโดยท่ัวไปข้ึน เมื่อวันที่ 15-16 Ratio พฤษภาคม 2560 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมโรงงาน หาก ≤ 1 คอื ผลการทดสอบสอดคลอ้ งกับค่าอา้ งองิ ภาคตะวันออก จ.ชลบุรี โดยมีห้องปฏิบัติการท่ีสนใจเข้าร่วม เปรียบเทียบจ�ำนวน 6 ห้องปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์หลัก คือ > 1 คือ ผลการทดสอบไมส่ อดคลอ้ งกบั คา่ อา้ งองิ เพื่อสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพในการทดสอบ ระดบั เสยี งพารามิเตอรต์ ่าง ๆ และเพือ่ จัดทำ� การควบคมุ คุณภาพ 2.2.3 วิธีการให้ค่าอ้างอิงของการเปรียบเทียบ จากภายนอกของการทดสอบระดับเสียงรบกวนและระดับเสียง ผลการทดสอบ โดยทวั่ ไป ค่าอ้างอิงของการเปรียบเทียบผลการทดสอบ (Xref) และคา่ ความไมแ่ น่นอนของ Xref (Uref) ได้จากคา่ เฉลีย่ ของ 2. การประเมินสมรรถนะ ห้องปฏบิ ตั กิ ารทุกห้องปฏบิ ัติการท่ีรายงานผลการทดสอบ พร้อม (Evaluation of performance) คา่ ความไมแ่ น่นอนของการทดสอบท่รี ะดับความเชอื่ มนั่ 95%5 การประเมนิ สมรรถนะของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทเี่ ขา้ รว่ มการ 3. วิธกี ารเปรยี บเทียบการทดสอบระดบั เสียงรบกวน เปรียบเทียบผลใช้สถติ ิในการประเมนิ สมรรถนะดงั ต่อไปน้ี 2.1 คา่ Classical z-score 3.1 ทดสอบระดับเสียงรบกวนบริเวณภายในอาคาร 2.1.1 สมการในการค�ำนวณ3 ดังตอ่ ไปนี้ เม่อื วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 ณ ห้องประชมุ 210 ชน้ั 2 อาคาร ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ มโรงงานภาคตะวนั ออก จ.ชลบุรี 3.2 แตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใชว้ ธิ ที ดสอบของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร นั้น ๆ เร่อื งเด่นประจ�ำฉบับ 10

ปีท่ี 14 ฉบบั ที่ 37 กนั ยายน 2560 3.3 ทุกห้องปฏิบัติการจะทดสอบระดับเสียงพื้นฐาน 4. วธิ กี ารเปรยี บเทยี บการทดสอบระดบั เสยี งโดยทว่ั ไป (LA90) ระดบั เสยี งขณะไมม่ กี ารรบกวน (LAeq) พรอ้ มกนั โดยใชเ้ วลา ทดสอบ 15 นาที เริ่มทดสอบเวลา 14.20 น. 4.1 ทดสอบระดบั เสยี งโดยทวั่ ไปบรเิ วณภายในอาคาร 3.4 การทดสอบระดบั เสยี งจากแหลง่ กำ� เนิด ณ ห้องประชุม 210 ชนั้ 2 อาคารศูนย์วจิ ยั และพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม 3.4.1 คณะผู้จัดได้จัดเตรียมเสียงตัวอย่างซ่ึงเป็น โรงงานภาคตะวนั ออก จ.ชลบรุ ี เสยี ง Pink noise* จากโปรแกรมจำ� ลองเสยี ง ชือ่ วา่ “NCH Tone 4.2 แตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใชว้ ธิ ที ดสอบของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร Generator” โดยเปิดโปรแกรมดังกล่าวกับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค นน้ั ๆ ย่ีห้อ SAMSUNG รุ่น NP470R4E-K01TH ร่วมกับการใช้เครื่อง 4.3 ทุกห้องปฏิบัติการจะทดสอบระดับเสียงเฉลี่ย ขยายเสียง ยห่ี ้อ Bruel & Kjaer รุ่น 2716C และ OmniPower 24 ช่ัวโมง (LAeq24hr) ระดับเสียงสูงสุด (LAmax) พร้อมกันทุกห้อง Sound source ย่ีห้อ Bruel & Kjaer Type 4292-L ปฏิบตั ิการ โดยตัง้ เครื่องวดั ระดบั เสยี งให้ใกลก้ ันทส่ี ดุ เร่มิ ทดสอบ 3.4.2 ทดสอบระดับเสียงจากแหล่งก�ำเนิด โดย ในวันท่ี 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 14.20 น. และสิ้นสุดการ ทุกห้องปฏิบัติการต้ังเคร่ืองวัดระดับเสียงห่างจาก OmniPower ทดสอบวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 14.20 น. Sound source เทา่ กับ 2.35 เมตร และทดสอบระดบั เสยี งจาก 4.4 รายงานผลการทดสอบในหน่วย เดซิเบลเอ แหล่งกำ� เนิดทีละห้องปฏบิ ัติการ ๆ ละ 10 นาที วนไปจนครบทุก (dB(A)) จำ� นวนทศนยิ ม 1 ตำ� แหน่ง โดยรายงานผลการทดสอบ ห้องปฏิบัติการ โดยเริ่มทดสอบระดับเสียงห้องปฏิบัติการล�ำดับ ระดบั เสียงเฉลย่ี 24 ช่วั โมง (LAeq24hr) และระดับเสียงสงู สดุ (LAmax) ท่ี 1 เวลา 14.45 น. และสนิ้ สดุ การทดสอบทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารสดุ ทา้ ย พร้อมทง้ั คา่ ความไม่แน่นอนทีร่ ะดับความเชื่อมัน่ 95% ล�ำดบั ท่ี 6 เวลา 15.57 น. 3.4.3 รายงานผลการทดสอบในหน่วย เดซเิ บลเอ 5. ผลการทดสอบระดบั เสยี งของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (dB(A)) จ�ำนวนทศนยิ ม 1 ตำ� แหน่ง และรายงานผลการทดสอบ ระดับเสียงพื้นฐาน (LA90) ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน (LAeq) 5.1 ผลการทดสอบระดบั เสยี งรบกวน ระดบั เสยี งจากแหลง่ กำ� เนดิ (LAeq10m) ระดบั เสยี งขณะมกี ารรบกวน ผลการทดสอบของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รวมทงั้ ผลการ (LAeq1hr) และระดบั การรบกวน ประมาณคา่ ความไมแ่ นน่ อนของการทดสอบแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ท่รี ะดับความเชื่อมัน่ 95% (Expanded uncertainty (k = 2)) แสดงดงั ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ผลการทดสอบระดบั เสยี งรบกวนและคา่ ความไมแ่ นน่ อนของการทดสอบของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (Expanded uncertainty (k = 2)) รายการทดสอบ : Lab1 Lab2 หอ้ งปฏบิ ตั ิการ dB(A) Lab5 Lab6 58.8 Lab3 Lab4 57.7 57.8 59.2 57.9 57.8 58.1 58.1 รรรระะะะดดดดับบับัับเเเเสสสสยีียียยี งงงงขจพขาณณ้นื กฐะะแาไมหมนกี ล่มา(่งีกLรกรAา�ำ9รบ0เร)กน บวิดกน(วL(นLAeA(qeL1q0A1mehqr)) ) 58.1 77.0 58.0 58.2 76.6 76.5 ระดับการรบกวน 58.5 69.2 76.3 76.5 68.8 68.7 77.9 10.4 68.5 68.7 11.1 10.9 70.1 ±0.57 10.6 10.9 ±0.84 ±1.51 12.0 ±0.90 ±1.78 ±1.1 11.0 ±1.12 Xref และ Uref * เสยี ง Pink noise หมายถงึ เสียงซ่งึ ความหนาแน่นของแถบพลงั งานเสียงแปรผกผันกบั ความถ่ี ดว้ ยคณุ สมบัตินท้ี �ำให้เสยี ง Pink noise วัดโดยไมผ่ า่ น weighting network มคี ่าเทา่ กนั ทุก Octave Band 6 11 เรื่องเด่นประจ�ำฉบับ

ปีที่ 14 ฉบบั ท่ี 37 กันยายน 2560 5.2 ผลการทดสอบระดับเสยี งโดยท่ัวไป ส�ำหรับรายการทดสอบระดับเสียงโดยทั่วไป (ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง และระดับเสียงสูงสุด) มีจ�ำนวน 4 ห้องปฏิบัติการ ท่ีสง่ ผลการทดสอบพร้อมคา่ ความไมแ่ นน่ อนของการทดสอบแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั ิการทร่ี ะดับความเช่ือมนั่ 95% (Expanded uncertainty (k = 2)) รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการทดสอบระดับเสียงโดยทั่วไปและค่าความไม่แน่นอนของการทดสอบของแต่ละห้องปฏิบัติการ (Expanded uncertainty (k = 2)) รายการทดสอบและค่าความไมแ่ นน่ อน : dB(A) ห้องปฏิบัตกิ าร ระดบั เสยี งเฉลย่ี 24 ช่วั โมง คา่ ความไมแ่ น่นอน ระดบั เสยี งสงู สดุ ค่าความไมแ่ นน่ อน (LAeq24hr) (LAmax) Lab1 Lab2 64.0 ±0.9 90.8 ±0.9 Lab3 63.8 ±2.00 90.3 ±2.82 Lab4 63.6 ±2.4 90.4 ±3.4 Lab5 - - - - Lab6 - - - - Xref และ Uref 64.1 ±2.13 84.4 ±2.29 63.9 ±1.86 89.0 ±2.35 6. ผลการประเมินการทดสอบระดับเสียงรบกวนและระดับเสยี งโดยทัว่ ไป 6.1 ผลการประเมินการทดสอบระดับเสียงรบกวนดว้ ยคา่ Classical z-score 6.1.1 ผลการค�ำนวณค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบเสียงรบกวน ( ) และค่า Standard Deviation ของแต่ละห้อง ปฏบิ ัตกิ ารแสดงดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 ผลการค�ำนวณคา่ เฉล่ยี ของผลการทดสอบ ( ) และคา่ Standard Deviation ของวิธที ดสอบเสยี งรบกวนของแต่ละหอ้ งปฏิบัตกิ าร ระดบั การรบกวน (x) SD : dB(A) Lab1 Lab2 Lab3 Lab4 Lab5 Lab6 12.0 10.4 10.6 10.9 11.1 10.9 11.0 0.6 6.1.2 ผลการประเมนิ ค่า Classical z-score ของการทดสอบระดบั เสียงรบกวนแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั ิการแสดงดงั ตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 ผลการประเมินค่า Classical z-score ของการทดสอบระดับเสียงรบกวนของแต่ละหอ้ งปฏิบตั กิ าร รายการทดสอบ Classical z-score : ห้องปฏบิ ัติการ Lab1 Lab2 Lab3 Lab4 Lab5 Lab6 ระดบั การรบกวน 1.8 -1.0 -0.7 -0.1 0.2 -0.1 เรอื่ งเด่นประจ�ำฉบบั 12

ปีที่ 14 ฉบับท่ี 37 กนั ยายน 2560 6.2 ผลการประเมนิ การทดสอบระดบั เสียงท่วั ไปด้วย Classical z-score 6.2.1 ผลการค�ำนวณค่าเฉล่ียของผลการทดสอบเสียงรบกวน ( ) และค่า Standard Deviation ของแต่ละห้อง ปฏิบตั กิ ารแสดงดังตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 ผลการค�ำนวณค่าเฉล่ียของผลการทดสอบ ( ) และค่า Standard Deviation ของวิธีทดสอบระดับเสียงโดยท่ัวไปของ แตล่ ะหอ้ งปฏบิ ัติการ รายการทดสอบ ห้องปฏบิ ตั ิการ (x) SD: dB(A) Lab1 Lab2 Lab3 Lab6 63.9 0.2 LAeq24hr 64.0 63.8 63.6 64.1 89.0 3.1 LAmax 90.8 90.3 90.4 84.4 6.2.2 ผลการประเมินค่า Classical z-score ของการทดสอบระดับเสียงโดยทั่วไปของแต่ละห้องปฏิบัติการแสดง ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 ผลการประเมินคา่ Classical z-score ของการทดสอบระดับเสียงโดยท่วั ไปของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รายการทดสอบ ค่า Classical z-score ของแต่ละห้องปฏบิ ัตกิ าร Lab1 Lab2 Lab3 Lab6 LAeq24hr 0.6 -0.3 -1.2 1.0 LAmax 0.6 0.4 0.5 -1.5 6.3 ผลการประเมินการทดสอบระดบั เสียงรบกวนด้วย En-ratio ก ารเปรียบเ ทียจบา6ผก.ล3ต.า(1Uราrผeงf)ลทกขี่ อา1รงครจะ�ะำดนพับวบเณวส่าคยี ผง่าลรอกบ้าากงรอวคนิงำ�ขนแอวสงณดกงาคดรา่ งัเอปต้ารางียรอาบิงงเททผ่ีลีย1กบแาผรลลทะกรดาูปสรทอทบ่ี ด1ซสง่ึ อไบดจ้ า(Xกrคef่า)เฉแลล่ียะผคล่ากคาวราทมดไมส่แอนบ่แนลอะนคขา่ อคงวคา่ามอไ้ามงแ่ อนิง่นขออนง ของทกุ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เท่ากับ 11.0 dB(A) และ ±1.12 dB(A) ตามลำ� ดับ เมอ่ื นำ� ผลการทดสอบของแต่ละห้องปฏิบัติการมาจัดทำ� กราฟ พรอ้ มดว้ ยคา่ อา้ งองิ ผลการทดสอบ (เสน้ สนี ำ้� เงนิ เขม้ ) และคา่ ความไมแ่ นน่ อนอา้ งองิ (เสน้ สแี ดง) จะพบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลการทดสอบ ข องแต่ละห ้องปฏ6.ิบ3ัต.2กิ าผรลก(XาLรaปb)รแะลเมะนิ คคา่ คา่ วEาnม-ไrมatแ่ ioนน่ ขออนงกขอารงทหดอ้ สงปอฏบิบระตั ดิกับาเรส(ยี UงLรaบb)กกวับนคข่าออง้าแงตอล่ ิงะแหส้อดงงปดฏังรบิ ปู ัตทกิ ่ี า1รแสดงดังตารางท่ี 7 ตารางที่ 7 ผลการประเมนิ ค่า En-ratio ของการทดสอบระดับเสียงรบกวนของแตล่ ะห้องปฏิบตั กิ าร ห้องปฏบิ ตั กิ าร ระดับการรบกวน (XLab) Lab1 12.0 0.65 Lab2 10.4 0.47 Lab3 10.6 0.27 Lab4 10.9 0.04 Lab5 11.1 0.08 Lab6 10.9 0.04 13 เร่ืองเดน่ ประจำ� ฉบับ

ปที ่ี 14 ฉบบั ท่ี 37 กันยายน 2560 เรื่องเด่นประจำ� ฉบับ รูปที่ 1 กราฟแสดงค่าระดับการรบกวนและ ค่าความไม่แน่นอนของแต่ละห้องปฏิบัติการ ร ว ม ทั้ ง ค ่ า อ ้ า ง อิ ง ข อ ง ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล การทดสอบ (Xref) และค่าความไม่แน่นอน ของคา่ อา้ งองิ ของการเปรียบเทียบผล (Uref) รูปท่ี 2 กราฟแสดงค่าระดับเสียงเฉล่ีย 24 ชม. และค่าความไม่แน่นอนของแต่ละห้องปฏิบัติการ รวมทั้งค่าอ้างอิงของการเปรียบเทียบผลการ ทอา้ดงสอองิ ขบอง(Xกาreรf)เปแรลียะบคเท่ายีคบวผามลไ(มU่แreนf)่นอนของค่า รูปท่ี 3 กราฟแสดงค่าระดับเสียงสูงสุด และค่า ความไม่แน่นอนของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รวมทงั้ แคา่ลอะา้ คง่อาคงิ ขวอางมกไามร่แเปนร่นยี อบนเทขยี อบงผคล่ากอา้ารทงอดิงสขออบง(กXาreรf) เปรียบเทยี บผล (Uref) 14

ปีท่ี 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 6.4 ผลการประเมนิ การทดสอบระดบั เสียงโดยท่ัวไปด้วย En-ratio การเปรียบ เทียบ6ผ.ล4.1(Uผreลf)กขาอรคงร�ำะนดวับณเสคีย่าองโ้าดงยอทิงขั่วไอปงก(ารระเดปับรเียสบียเงทเฉียลบี่ยผล2ก4ารชทั่วดโมสงอบแล(ะXรreะf)ดับแลเสะียคง่าสคูงวสาุดม)ไมแส่แดนง่นดอังนตขารอางงคท่า่ีอ2้างรอูปิงทขอ่ี 2ง และรูปท่ี 3 จากตารางท่ี 2 จะพบว่าผลการค�ำนวณค่าอ้างอิงผลการทดสอบซ่ึงได้จากค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่วั โมง และระดับเสียงสงู สดุ รวมทั้งค่าความไม่แนน่ อนของทุกห้องปฏบิ ัตกิ าร เท่ากบั 63.9 ±1.86 dB(A) และ 89.0 ±2.35 dB(A) ตามล�ำดับ เมื่อน�ำผลการทดสอบของแต่ละห้องปฏิบัติการมาจัดท�ำกราฟพร้อมด้วยค่าอ้างอิงผลการทดสอบ (เส้นสีน้�ำเงินเข้ม) และ คา่ ความไมแ่ นน่ อนอา้ งองิ (เสน้ สแี ดง) จะพบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลการทดสอบของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (XLab) และคา่ ความไมแ่ นน่ อน ของห้องปฏบิ ัตกิ าร (ULab) กบั ค่าอ้างอิงดงั รปู ที่ 2 และ รูปที่ 3 6.4.2 ผลการประเมนิ คา่ En-ratio ของการทดสอบระดบั เสยี งโดยทว่ั ไปของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแสดงดงั ตารางที่ 8 และ ตารางท่ี 9 ตารางที่ 8 ผลการประเมินค่า En-ratio ของการทดสอบระดับเสียงโดยทวั่ ไป (ระดบั เสียงเฉล่ยี 24 ช่วั โมง) ของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ห้องปฏิบัติการ ระดบั เสยี งเฉลย่ี 24 ช่ัวโมง (XLab) Lab1 64.0 0.05 Lab2 63.8 0.04 Lab3 63.6 0.10 Lab6 64.1 0.07 ตารางท่ี 9 ผลการหาค่า En-ratio ของการทดสอบระดบั เสียงโดยท่ัวไป (ระดับเสียงสงู สุด) ของแตล่ ะห้องปฏบิ ัติการ ห้องปฏิบัตกิ าร ระดับเสยี งสูงสดุ 24 ชว่ั โมง (XLab) Lab1 90.8 0.71 Lab2 90.3 0.35 Lab3 90.4 0.34 Lab6 84.4 1.40 7. สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ 7.1 สรปุ ผล 7.1.1 การเปรยี บเทียบผลการทดสอบระดบั เสยี งรบกวนในครัง้ น้ี ทดลองด้วยการจำ� ลองเสียงจากโปรแกรมจ�ำลองเสยี ง ท�ำให้การทดสอบระดับเสียงพ้ืนฐาน ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน และระดับเสียงจากแหล่งก�ำเนิดเสียง ของแต่ละห้องปฏิบัติการมี ผลการทดสอบใกล้เคยี งกนั ผลการประเมนิ การทดสอบระดับเสยี งรบกวนดว้ ยคา่ Classical z-score และค่า En-Ratio พบว่าทุกหอ้ ง ปฏบิ ัติการมีผลการทดสอบเปน็ ท่ีนา่ พอใจและสอดคลอ้ งกบั ค่าอ้างองิ (z-score ≤ 2 และ ≤1) 7.1.2 รายการทดสอบระดับเสียงโดยท่ัวไปพบว่าผลการประเมินการทดสอบด้วยค่า Classical z-score ทุกห้อง ปฏบิ ัติการมีผลการทดสอบเป็นท่นี า่ พอใจ แตเ่ มอื่ ประเมินดว้ ยค่า En-Ratio กลับพบวา่ ผลการทดสอบระดบั เสยี งสูงสุด มจี ำ� นวน 1 หอ้ ง ปฏิบตั กิ ารท่ีมผี ลการทดสอบไมส่ อดคลอ้ งกับค่าอา้ งองิ ( > 1) 15 เร่ืองเดน่ ประจ�ำฉบับ

ปที ่ี 14 ฉบบั ท่ี 37 กันยายน 2560 7.2 ขอ้ เสนอแนะ 7.2.1 ส�ำหรับการเปรียบเทียบผลการทดสอบ ระหว่างห้องปฏิบัติการในคร้ังต่อไป ควรจัดให้มีการเปรียบเทียบ ผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการรายการทดสอบระดับเสียง รบกวนและระดับเสียงโดยท่ัวไปท้ังบริเวณภายในและภายนอก อาคารเพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริงของเจ้าหน้าท่ี ทดสอบ 7.2.2 กรณีการประเมินของห้องปฏิบัติการ ด้วยค่า Normalized Error (En) Ratio ควรมีจ�ำนวนห้อง ปฏิบัติการท่ีเข้าร่วมเปรียบเทียบผลมากกว่าคร้ังน้ี เพ่ือจะได้ คา่ ผลการทดสอบและคา่ ความไมแ่ นน่ อนอา้ งองิ ทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั เป็นตัวแทนของกล่มุ 7.2.3 สำ� หรบั การเปรยี บเทยี บผลการวดั ครงั้ ตอ่ ไป หากมีห้องปฏิบัติการที่น่าเช่ือถือและสามารถให้ค่าก�ำหนด (Assigned value) รวมถึงคา่ ความไม่แน่นอนอ้างองิ ได้ จะทำ� ให้ สามารถประเมินผลการทดสอบของห้องปฏบิ ัติการได้ดยี ่ิงขนึ้ เอกสารอ้างองิ 1 ส�ำนักงานผลิตภัณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.). (2557). ข้อแนะน�ำทั่วไปในการตรวจประเมินด้านวิชาการส�ำหรับห้องปฏิบัติการ การทดสอบสาขาเคมีและท่ีเก่ียวขอ้ ง. [Online]. Available from : https://www.tisi.go.th/data/stories/lab/pdf/draft_seminar_ 9Jul10_2014.pdf [Accessed 2017 July, 18]. 2 กรมวทิ ยาศาสตร์บรกิ าร (วศ.). (2560). ขอ้ ก�ำหนด กฎระเบียบ และเง่ือนไขการรับรองความสามารถหอ้ งปฏิบัตกิ าร. [Online]. Available from : http://labthai.dss.go.th/download/LA-R-03-14Thai(10-04-15).pdf [Accessed 2017 July, 18]. 3 บริษทั เอแอลเอส แลบอราทอรี กรปุ๊ ประเทศไทย จ�ำกดั . (2558). The Correlation Laboratory Program VOCs No.6. กรงุ เทพฯ. 4 ฝา่ ยมาตรวทิ ยาเสยี งและการสน่ั สะเทอื น สถาบนั มาตรวทิ ยาแหง่ ชาต.ิ (2560). การเปรยี บเทยี บผลระหวา่ งหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร(Inter-Laboratory Comparison). TPA news. Online available from : http://www.tpa.or.th/tpanews/upload/mag_content/54/ContentFile956. pdf [accessed on June 18, 2017]. 5 Jurij Prezelj and Mirko Cudina. Inter Laboratory Comparison of Environmental Noise Measurements. 3rd Congress of the Alps Adria Acoustics Association 27-28 September 2007, Graz - Austria. Online available from : http://143.224.185.48/ archives/Ful %20Papers/Prezelj_Inter%20Laboratory%20Comparison%20Of%20Environmental%20Noise%20Measurements. pdf [Accessed on June 18, 2017]. 6 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี 4456 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ.2511 เรอ่ื ง ก�ำหนดมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม ขอ้ แนะน�ำในการเลอื ก การใช้ การดแู ล และการบ�ำรงุ รกั ษาอปุ กรณค์ มุ้ ครอง ความปลอดภยั สว่ นบุคคล เลม่ 1 อปุ กรณป์ กปอ้ งการได้ยนิ ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2555. Online available from : http://www.isosmartpro.com/private_folder/Law_Dec/071255.pdf [Accessed on June 18, 2017]. เร่ืองเดน่ ประจำ� ฉบับ 16

ปที ่ี 14 ฉบับท่ี 37 กันยายน 2560 โครงการประเมินศักยภาพของธรรมชาติ ในการบ�ำบัดฟ้ืนฟูนำ�้ ใต้ดินทป่ี นเปื้อนสารอนิ ทรยี ์ระเหย ในพื้นที่เขตควบคมุ มลพิษ จงั หวดั ระยอง ✑ ดร.แฟรดาซ์ มาเหลม็ พรี พงษ์ สนุ ทรเดชะ และสุนทร งดงาม ศนู ยว์ จิ ัยและฝึกอบรมดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม ชุมชนโขดหินต้งั อยใู่ นเขตควบคมุ มลพษิ จงั หวัดระยอง จากการสอบถามประชาชนในพนื้ ทที่ ราบวา่ บรเิ วณใกล้ เป็นพื้นที่หนึ่งท่ีได้ตรวจพบการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหย กับบ่อน�้ำชาวบ้านท่ีตรวจพบการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ระเหย บางชนิดในปริมาณที่สูงเกินค่ามาตรฐานน้�ำใต้ดินในบ่อน้�ำของ ห่างออกไปประมาณ 200-300 เมตร เหนือนำ้� มีพน้ื ที่เคยเปน็ หลุม ประชาชนที่ใช้น�้ำส�ำหรับการอุปโภคและบริโภค ซึ่งสารอินทรีย์ ทง้ิ ขยะอตุ สาหกรรม โดยพนื้ ทด่ี งั กลา่ วถกู ขดุ หนา้ ดนิ เปน็ บอ่ ขนาด ระเหยทพี่ บประกอบดว้ ย Vinyl Chloride, Trichloroethylene ใหญ่ขนาดพื้นที่ประมาณ 10 ไร่ ลึกประมาณ 6-8 เมตร และ (TCE), Carbon Tetrachloride, 1, 2 Dichloroethane, รบั ทง้ิ กากอตุ สาหกรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งระหวา่ งปี 2546-2547 Cis-1,2-Dichloroethylene, Tetrachloroethylene (PCE) ต่อมาได้รับการต่อต้านจากประชาชนที่อาศัยใกล้เคียง เนื่องจาก ซึ่งสารอินทรีย์ระเหยกลุ่ม Dense Non-aqueous Phase มีกลิ่นท่ีแรงมากและเกิดไฟไหม้หลุมท้ิงขยะอุตสาหกรรมดังกล่าว Liquid (DNAPL) ท่ีมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ หรือเรียกว่า เจ้าของพ้ืนท่ีจึงฝังกลบหลุมดังกล่าวและเลิกการใช้พื้นท่ี แต่ทั้งน้ี Chlorinated Solvent สารกลมุ่ นมี้ คี วามอันตรายต่อสุขภาพสูง แม้มกี ารเลกิ ใช้พืน้ ที่ส�ำหรบั เป็นหลมุ ทิง้ ขยะอตุ สาหกรรม แตก่ าก เชน่ Trichloroethylene, Vinyl Chloride และ Carbo Tetrachloride อตุ สาหกรรมทถี่ กู ฝงั ไวใ้ ตด้ ินยงั ไม่ไดถ้ กู กำ� จัด จากการจดั ทำ� แบบ เปน็ สารกอ่ มะเรง็ และ cis-1, 2-Dichloroethylene สง่ ผลทำ� ให้ จ�ำลองทางคณิตศาสตร์เพ่ือจ�ำลองการเคล่ือนที่ของมวลสาร ระบบภมู คิ มุ้ กนั ถกู รบกวนหรอื ทำ� ลายศกั ยภาพทางการปอ้ งกนั โรค อันตรายในน้�ำใต้ดินและจ�ำลองว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่ท่ีการ การติดเชื้อจะลดและพร่องลงจากเดิม ชาวบ้านในพ้ืนที่ยังมีการ ปนเปอ้ื นทเี่ กดิ ขน้ึ ในบอ่ ชาวบา้ นอาจเกดิ จากหลมุ ทง้ิ ขยะอตุ สาหกรรม ใช้น�้ำใต้ดินส�ำหรับการอุปโภคและบริโภค ท�ำให้การปนเปื้อน ซ่ึงจากผลการศึกษาเบ้ืองต้นน้ีแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ของสารอินทรีย์ระเหยในน�้ำใต้ดินในปริมาณท่ีเกินและไม่เกินค่า หลุมท้ิงขยะอุตสาหกรรมเป็นแหล่งก�ำเนิดการปนเปื้อนของ มาตรฐานน้�ำใต้ดินของสารข้างต้นท�ำให้ร่างกายรับสารอินทรีย์ สารอินทรีย์ระเหยในบ่อชาวบ้าน ซึ่งหากไม่มีการด�ำเนินการ ระเหยอย่างต่อเน่ืองและอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพข้ึนอยู่กับ แก้ไขปัญหาบริเวณแหล่งก�ำเนิดจะท�ำให้การกระจายตัวของสาร ความสามารถในการจัดการสารอันตรายของแต่ละคน อันตราย อย่างต่อเนื่องและแพร่กระจายในวงกว้างข้ึน และจะ 17 ตดิ ตามเฝ้าระวัง

ปีที่ 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 สง่ ผลกระทบต่อประชาชนในอนาคตมากข้นึ ดว้ ย ท้งั นี้การจัดการ การด�ำเนินงานวิจัย พื้นท่ีปนเปื้อนรวมท้ังการบ�ำบัดฟื้นฟูโดยท่ัวไปไม่สามารถเกิดขึ้น ได้ทันทีเน่ืองจากอาจต้องมีการฟ้องร้องและเป็นคดีความและ 1. ขุดเจาะส�ำรวจและเก็บตัวอย่างดิน โดยใช้รถขุด ตอ้ งมกี ารสอบสวนพน้ื ทอี่ ยา่ งละเอยี ดรวมทงั้ ตอ้ งศกึ ษาเทคโนโลยี เจาะดนิ แบบตอ่ เนอื่ ง (Geoprobe®) เพอื่ ศกึ ษาลกั ษณะโครงสรา้ ง ที่เหมาะสมในการบ�ำบัดฟื้นฟูซ่ึงต้องใช้เวลาในการด�ำเนินการ ทางธรณี และพัฒนาหลมุ เจาะส�ำรวจดินใหเ้ ป็นบ่อสังเกตการณ์ อีกท้งั ใช้งบประมาณสูงในการดำ� เนนิ การบำ� บัดฟน้ื ฟู 2. ทดสอบเพอื่ หาคา่ สมั ประสทิ ธคิ์ วามซมึ (hydraulic โดยทั่วไปการจัดการพ้ืนท่ีปนเปื้อนสารอันตรายตาม conductivity, K) ในบ่อที่สังเกตการณ์ด้วยวิธกี าร Slug Test หลกั การสากลจะคำ� นงึ ถงึ ศกั ยภาพของธรรมชาตใิ นการบำ� บดั ฟน้ื ฟู 3. เกบ็ ตวั อยา่ งในบอ่ นำ�้ ตน้ื ประชาชนใช้ submersible น้�ำใต้ดินท่ีปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยร่วมกับเทคนิคการบ�ำบัด pump เป็นการเก็บตัวอย่างท่ีความลึกเดียวในแต่ละบ่อโดย ฟื้นฟูในเชิงวิศวกรรม ซ่ึงข้อมูลจากการประเมินศักยภาพของ ก�ำหนดเป็นการเก็บที่ความลึกก่ึงกลางน้�ำ โดยใช้ submersible ธรรมชาตใิ นการบำ� บดั ฟน้ื ฟนู ำ้� ใตด้ นิ ทป่ี นเปอ้ื นสารอนิ ทรยี ร์ ะเหย pump ที่สามารถควบคุมอัตราการไหลของน�้ำได้ ส�ำหรับบ่อ จะช่วยลดทอนงบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดการพ้ืนที่ปนเปื้อน สงั เกตการณใ์ ช้การเก็บตัวอย่างนำ�้ แบบ multi-level sampling รวมทั้งการบ�ำบัดฟื้นฟู ทั้งนี้ประเด็นการปนเปื้อนสารอินทรีย์ โดยใช้ diffusion sampler ซึ่งเป็นการเก็บตัวอย่างหลาย ระเหยในบอ่ ชาวบา้ นในชมุ ชนโขดหนิ เปน็ ประเดน็ ทหี่ ลายหนว่ ยงาน ระดับตามความลึก และตรวจวัดคุณสมบัติทางเคมีพื้นฐานของ ใหค้ วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ เนอ่ื งจากเปน็ ผลกระทบทเ่ี กดิ ตอ่ ประชาชน น�้ำใตด้ นิ เช่น pH, Temperature, Conductivity, Oxidation- ท�ำให้คณะท�ำงานบูรณาการข้อมูลและก�ำกับการด�ำเนินงานการ Reduction Potential, Turbidity, Nitrate, Dissolved แก้ไขปัญหาการปนเปื้อนมลพิษของแหล่งน�้ำใต้ดินและในพื้นท่ี Oxygen และนำ� ไปวเิ คราะหห์ าปรมิ าณสารอนิ ทรยี ร์ ะเหย 16 ชนดิ จังหวัดระยอง และคณะกรรมการพัฒนาพื้นท่ีบริเวณชายฝั่ง (ประกอบดว้ ย 1, 1-Dichloroethylene, tran-Dichloroethylene, ภาคตะวนั ออก มกี ารประชมุ เพอื่ หารอื ในการแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว cis-Dichloroethylene, Benzene, Trichloroethylene, โดยกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มไดร้ บั มอบหมายใหท้ �ำการศกึ ษา Toluene, Tetrachloroethylene, Ethylbenzene, xylene, วิจัยเพ่ือการแก้ไขปัญหาและการบ�ำบัดฟื้นฟู ท้ังน้ีในปี 2558 Dichlormethane, 1, 1, 1-tricholomethane, Carbon กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้าน Tetrachloride, 1, 2-dichloromethane, 1, 1, 2-tricholomethane, สิ่งแวดล้อม จึงได้ศึกษาวิจัยการประเมินศักยภาพของธรรมชาติ Styrene, Vinyl chloride) ในการบ�ำบัดฟื้นฟูน้�ำใต้ดินท่ีปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในพื้นท่ี 4. ศึกษาปัจจัยท่ีควบคุมการสลายตัวของสารอินทรีย์ ชุมชนโขดหิน ซึ่งผลการศึกษาเป็นข้อมูลส�ำคัญในการวางแผน ระเหยโดยธรรมชาติ ประกอบด้วย คา่ คงทกี่ ารดูดซบั (Kd) และ การจดั การพน้ื ทป่ี นเปอ้ื นสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยในนำ้� ใตด้ นิ และการกำ� หนด ปรมิ าณสารอินทรยี ์ (TOC หรอื foc) ค่าคงที่การสลายตวั ทางเคมี รปู แบบการบ�ำบัดฟืน้ ฟูพ้ืนทไ่ี ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป (kh) และทางชีวภาพ (kb) โดยใช้เทคนิค Microcosm 5. ประเมินอัตราบ�ำบัดตามธรรมชาติโดยใช้แบบ จำ� ลองคณติ ศาสตร์ การขดุ เจาะส�ำรวจและเก็บตัวอย่างดนิ ไดใ้ ช้รถขุดเจาะดินแบบตอ่ เน่อื ง (Geoprobe®) ติดตามเฝ้าระวงั 18

ปที ่ี 14 ฉบบั ท่ี 37 กนั ยายน 2560 แร่ (ทีม่ ีเหลก็ เปน็ องค์ประกอบ) ท�ำให้เกิดการสลายตวั ไดเ้ รว็ กว่า การสลายตัวด้วยจุลินทรีย์ หรือ (2) ปรมิ าณจลุ นิ ทรยี ์มีไม่เพียงพอ หรอื สภาวะไมเ่ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของจลุ นิ ทรยี ท์ ำ� ใหเ้ กดิ การสลายตวั ไดช้ า้ มาก จนแทบสงั เกตความแตกตา่ งของอตั ราการ สลายตัวในท้ังสองกรณีไม่ได้ ทั้งนี้ผลการจ�ำลองคณิตศาสตร์เพ่ือ ประเมินศักยภาพและระยะเวลาในการย่อยสลายพบว่าศักยภาพ ของธรรมชาติของช้ันหินอุ้มน้�ำท่ีพบการปนเปื้อนในชุมชนโขดหิน สามารถท�ำให้ขอบเขตการปนเปื้อนไม่เคล่ือนขยายตัวกว้างข้ึน อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทเ่ี วลา 12 ปนี บั จากวนั แรกของการปนเปอ้ื น ทง้ั น้ี การเก็บตัวอยา่ งดินเพ่อื ศกึ ษาลกั ษณะโครงสรา้ งทางธรณี หากการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยจากแหล่งก�ำเนิดเพ่ิมข้ึน เนื่องจากการผุพังของถังสารเคมีท่ีอยู่ใต้ดินบริเวณแหล่งก�ำเนิด ผลการด�ำเนนิ งาน ยังคงตรวจพบการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ระเหย ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้มากในอนาคตอาจส่งผลต่อการเคล่ือนท่ี ในบ่อน้�ำตื้นของประชาชนที่มีการใช้น�้ำส�ำหรับอุปโภคและ มวลสารอินทรีย์ระเหยและท�ำให้ขอบเขตการปนเปื้อนขยายตัว บรโิ ภคในพน้ื ทช่ี มุ ชนโขดหนิ โดยปรมิ าณสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยบางชนดิ ออกไปเปน็ วงกวา้ งข้นึ เรือ่ ย ๆ สูงเกินกว่าค่ามาตรฐานคุณภาพน้�ำใต้ดิน และในแต่ละบ่อจะพบ สารอินทรีย์ระเหยต่างชนิดกันและตรวจพบหลายชนิดในบ่อ เดียวกัน โดยมีปริมาณเพ่ิมข้ึนและลดลงอย่างไม่มีรูปแบบ บ่งชี้ว่าบ่อน�้ำของประชาชนได้รับการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ ระเหยอย่างต่อเนื่อง สารอินทรีย์ระเหยที่ตรวจพบ เช่น Vinyl Chloride, Trichloroethylene (TCE), Carbon Tetrachloride, 1, 2 Dichloroethane, Cis-1, 2-Dichloroethylene, Tetrachloroethylene (PCE) จากปัจจัยทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ ท่ีมีผลต่อ ปริมาณสารอินทรยี ์ระเหยในน้�ำใตด้ ินในบอ่ น�้ำชาวบา้ น (RY3) การสลายตัวโดยธรรมชาติของพ้ืนท่ีศึกษา พบว่าค่าสัมประสิทธ์ิ ความซึมของชัน้ ดินอุ้มน�้ำในพน้ื ท่ีศกึ ษาดว้ ยวธิ ี slug test มคี า่ อยู่ ในชว่ ง 0.5-4.6 เมตร/วัน องคป์ ระกอบของดินส่วนใหญ่ประกอบ ดว้ ยแรค่ วอตซ์ เคโอลไิ นต์ อลิ ไลร์ และคลอไรต์ และในตวั อยา่ งดนิ ทุก ๆ ตวั อย่างมีแรท่ ่ีมีธาตุเหล็กเปน็ องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ แรเ่ ฟอรร์ -ิ (แไรGฮปูรoไแ่เดปeมรน็tก็ hตนi์Ftไี (eeทFeต(แIr์IลIr()FiะhหeyL3รOdiือmr4i)Ftoeซen,่งึ i(ดtFIeIิน)e;ทเ(FชOป่ี eน่ Hร(ะO)แ3ก)Hรอ่ซ)แบิเรแดด่เรอ้วกฮ่ไยอรีมแไตาทร์ไ่ทFทตe่ีม์แตCธีล์ าO(ะFตไ3eุเ;ลห2แมOลร์ม3็ก่ไ)อพทแไไง้ั นลรในตตะ์ ์ FeS2; แร่พิโรไทต์ FeS1-x มคี วามสามารถในการ(ชว่ ย)ยอ่ ยสลาย สารอนิ ทรีย์ระเหยบางชนดิ เช่น PCE และ TCE ได้ โดยปริมาณ อินทรยี ์วตั ถุในดนิ อยใู่ นช่วงร้อยละ 1.1-7.1 ซ่งึ ถอื วา่ มีปรมิ าณไม่ สูงมากนักบ่งบอกเป็นนัยว่าการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยโดย ตัวกลางดินในพื้นที่ปนเปื้อนอาจไม่สูงโดยค่าการดูดซับสาร PCE และ TCE ของดินในพ้ืนที่อยู่ท่ีประมาณ 0.3-0.5 ส�ำหรับการ ทดสอบค่าคงท่ีการสลายตัวทางเคมี (kh) และทางชีวภาพ (kb) 19โดยใช้เทคนิค Microcosm พบว่าอัตราการสลายตัวของทั้งสอง ปรมิ าณสารอนิ ทรยี ์ระเหยในน�ำ้ ใตด้ ินในบ่อน�้ำชาวบ้าน (RY6) กรณไี มม่ คี วามแตกตา่ งกนั มากนกั ทงั้ นอ้ี าจเปน็ เพราะ (1) ปรมิ าณ ติดตามเฝ้าระวัง

ปที ่ี 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 ปริมาณสารอินทรยี ร์ ะเหยในนำ้� ใตด้ นิ ในบ่อนำ้� ชาวบา้ น (RY10) การสลายตวั ของ PCE จากอทิ ธิพลปัจจัยทางเคมีในตัวอยา่ งดิน ติดตามเฝา้ ระวงั การออกแบบกรดิ (grid design) ส�ำหรับการจำ� ลอง 20

ปีท่ี 14 ฉบบั ท่ี 37 กันยายน 2560 ตวั อย่างการกระจายตัว ของดิน-ตะกอน (materials) ใน Model Layer 6 และ 8 ผลการจ�ำลองการเคล่ือนที่ ของ TCE: กรณที ่ไี มม่ ีการสลายตวั ผลการจำ� ลองการเคลื่อนที่ ของ TCE กรณมี กี ารสลายตัว ผลการศึกษาวิจัยน้ีได้ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ในหลาย อีกท้ังผลการศึกษาวิจัยยังได้ถูกน�ำเสนอให้กับคณะกรรมการ รปู แบบ เชน่ ขอ้ มลู การตรวจวดั ปรมิ าณสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยในบอ่ ชาวบา้ น พัฒนาพ้ืนที่บริเวณชายฝั่งภาคตะวันออก คณะท�ำงานบูรณาการ ได้ถูกแจ้งต่อประชาชนผู้เป็นเจ้าของบ่อน�้ำใต้ดินน้ัน ๆ ให้ทราบ ข้อมูลและก�ำกับการด�ำเนินงานการแก้ไขปัญหาการปนเปื้อน ถึงชนิดและปริมาณของการปนเปื้อนประชาชนมีความยินด ี มลพิษของแหล่งน้�ำใต้ดินและในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง ส่งผล เป็นอย่างย่ิงท่ีได้รับทราบถึงข้อมูลส่งผลให้ประชาชนได้มี ต่อการผลักดันดา้ นนโยบายให้เกิดการแกไ้ ขปัญหาใหก้ ับสงั คม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้น�้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภค ติดตามเฝ้าระวัง 21

ปที ่ี 14 ฉบับที่ 37 กนั ยายน 2560 โครงการกระบวนการทางด้านชีวธรณเี คมี และความสมั พันธ์ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและการใช้ประโยชนท์ ่ดี ินตอ่ คณุ ภาพ และปริมาณของนำ้� ในลุ่มนำ้� มลู ประเทศไทย ✑ ดร.แฟรดาซ์ มาเหล็ม พีรพงษ์ สุนทรเดชะ และสนุ ทร งดงาม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระบวนการการเปลี่ยนแปลงของระบบลุ่มน้�ำ ประโยชน์ท่ีดินต่อคุณภาพและปริมาณของน้�ำในลุ่มน้�ำมูล อันเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงสภาพ ประเทศไทย เปน็ โครงการท่ไี ด้รบั สนบั สนนุ ทุนวิจัยโดยสำ� นักงาน ภมู อิ ากาศสง่ ผลกระทบตอ่ ลกั ษณะทางอทุ กธรณเี คมที งั้ ในเชงิ ปรมิ าณ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้โครงการความร่วมมือ และคณุ ภาพ เปน็ ขอ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ สำ� หรบั การบรหิ ารจดั การ ไทย-จีน (NRCT-NSFC) ด้าน Future Earth โดยกรมส่งเสริม ลมุ่ นำ้� เพราะมคี วามเชอ่ื มโยงกบั ศกั ยภาพนำ�้ (water availability) คุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นหัวหน้าโครงการฝ่ายไทย และมีองค์กร ในการจะนำ� ไปใชป้ ระโยชนท์ ง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคต และรวมไปถงึ ร่วมวิจัยในประเทศ ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การนำ� ไปคาดการณ์ความพอเพียงของปรมิ าณนำ้� จดื ความมน่ั คง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อีกทั้งมีองค์กรร่วมวิจัยจากประเทศ ปลอดภัยทางด้านอาหาร (food security) และยังเชื่อมโยง สาธารณรัฐประชาชนจีน ประกอบด้วย China University of ถึงสุขภาพของระบบนิเวศแหล่งน้�ำ (ecosystem health) และ Geosciences (Beijing) และ Tianjin Normal University สขุ ภาพประชาชน (human health) ซึ่งหากมกี ารบรหิ ารจัดการ ซงึ่ เปน็ ความรว่ มมอื ของทมี นกั วจิ ยั สองประเทศทม่ี คี วามเชยี่ วชาญ ลมุ่ นำ้� ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมจะเปน็ ปจั จยั เสรมิ สำ� คญั ตอ่ การพฒั นาทาง ที่หลากหลายสาขา เชน่ ดา้ นอุทกวทิ ยา ดา้ นอทุ กธรณีเคมวี ทิ ยา เศรษฐกจิ (economic development) ในพืน้ ที่ ดา้ นเคมวี ิเคราะห์ ดา้ นการใชแ้ บบจำ� ลองทางคณติ ศาสตร์ รวมทั้ง โครงการกระบวนการทางด้านชีวธรณีเคมีและ ดา้ น remote sensing และดา้ นสถติ ิ ซงึ่ ความเชย่ี วชาญทหี่ ลากหลาย ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใช้ ของบุคลากรวิจัยเป็นปัจจัยส�ำคัญหน่ึงในการบรรลุวัตถุประสงค์ 22 ก้าวหนา้ พัฒนา

ปีที่ 14 ฉบบั ท่ี 37 กนั ยายน 2560 ของการศกึ ษาวจิ ยั นที้ ม่ี งุ่ เนน้ การศกึ ษาการผพุ งั การกดั กรอ่ น และ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์ กระบวนการตกตะกอนในลุ่มน้�ำ รวมท้ังการศึกษาปริมาณและ อ�ำนาจเจริญ และอุบลราชธานี) มี 150 อ�ำเภอ 1,229 ต�ำบล/ คุณภาพน�้ำที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลง เทศบาล และ 15,300 หมู่บ้าน ลักษณะลุ่มน�้ำวางตัวอยู่ตาม สภาพภมู อิ ากาศ โครงการนีเ้ รม่ิ ดำ� เนนิ การตง้ั แตเ่ ดอื นพฤษภาคม แนวทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยทิศเหนือติดกับลุ่มน้�ำชี ทิศใต ้ 2560 และมแี ผนการดำ� เนินงานตอ่ เน่ือง 4 ปี ติดกับลุ่มน�้ำบางปะกง ลุ่มน้�ำโตนเลสาปและประเทศกัมพูชา การดำ� เนนิ งานวจิ ยั นค้ี รอบคลมุ การใชช้ ดุ เครอื่ งมอื ทาง ทิศตะวนั ตกตดิ กบั ลุ่มนำ�้ ปา่ สัก และทศิ ตะวนั ออกตดิ กับแม่น้�ำโขง ด้านธรณีเคมีวิทยาในการส�ำรวจตรวจสอบปริมาณความเข้มข้น ซึ่งเป็นเขตแดนระหว่างประเทศไทย และประเทศสาธารณรัฐ ของไอออนหรือธาตุหลัก ธาตุรอง และธาตุร่องรอย รวมท้ังใช้ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ปริมาณไอโซโทปเสถียรของธาตุหลายชนิด เช่น การวิเคราะห์ ลุ่มน้�ำมูล แบ่งตามภูมิประเทศออกเป็น 2 ส่วน คือ ปริมาณไอโซโทปเสถียรของธาตุสตรอนเซียม (Sr) ในตัวอย่าง ลมุ่ นำ้� มลู ตอนบนและลมุ่ นำ้� มลู ตอนลา่ ง มแี มน่ ำ้� มลู เปน็ แมน่ ำ�้ สายหลกั ดิน-ตะกอน และตัวอย่างน�้ำ เพ่ือหาอัตราส่วนของ 87Sr/86Sr ประกอบด้วย ล�ำนำ�้ สาขาตา่ ง ๆ อกี หลายสาขา แมน่ ้�ำมูลมที ิศทาง และน�ำไปใช้ประกอบการประเมินสมดุลมวลทางธรณีเคมี การไหลจากทิศตะวันตกไปทางตะวันออก โดยมีต้นก�ำเนิดจาก (geochemical mass balance) เพ่ือบ่งชี้กระบวนการผุพัง เทือกเขาทางตอนใต้ของจังหวัดนครราชสีมาไหลผ่านจังหวัด การกัดกร่อน และกระบวนการตกตะกอนในลุ่มน�้ำย่อย รวมท้ัง บรุ รี มั ย์ สรุ นิ ทร์ ศรสี ะเกษและอบุ ลราชธานี แลว้ ไหลลงสแู่ มน่ ำ้� โขง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางด้านธรณีเคมีกับกระบวนการผุพัง ทอี่ ำ� เภอโขงเจยี ม จงั หวดั อบุ ลราชธานี มลี ำ� นำ้� สาขาทสี่ ำ� คญั ไดแ้ ก่ ผุกร่อนและความเช่ือมโยงกับวัฏจักรของคาร์บอน ไนโตรเจน ล�ำตะคอง ล�ำชี ล�ำปลายมาศ ล�ำจักราช ล�ำแชะ ห้วยเสนง และกำ� มะถนั การเกบ็ ตวั อย่างครอบคลุมฤดแู ลง้ และฤดูนำ�้ หลาก ห้วยเสยี ว ห้วยทับทัน ห้วยขยุง ลักษณะภมู ิประเทศทางตอนบน เพอ่ื ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงขององคป์ ระกอบพน้ื ฐานของนำ�้ ทแี่ ปร ของลมุ่ นำ�้ มสี ภาพภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปน็ พน้ื ทรี่ าบสงู มเี ทอื กเขา เปลยี่ นตามเวลาและระยะทาง และการศกึ ษาทางดา้ นแบบจำ� ลอง บรรทดั และพนมดงรกั เปน็ แนวยาวอยทู่ างทศิ ใต้ มรี ะดบั ความสงู ทางคณิตศาสตร์เพ่ือช่วยในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในเชิง ประมาณ +300 ถึง +1,350 เมตรจากระดับน้�ำทะเลปานกลาง ผลกระทบของปริมาณและคุณภาพน้�ำในลุ่มน้�ำมูลกับการใช้ที่ดิน (ม.รทก.) จากนนั้ พน้ื ทคี่ อ่ ย ๆ ลาดตำ�่ ลงมาทางทศิ เหนอื สแู่ มน่ �้ำมลู และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอีกด้วย และในการศึกษา ทรี่ ะดบั ประมาณ +100 ถงึ +150 ม.รทก. สำ� หรบั สภาพภมู ปิ ระเทศ วจิ ยั นจี้ ะวเิ คราะหไ์ ปถึงความสามารถในการเคลอ่ื นยา้ ยของสสาร ทางด้านทิศเหนือของลุ่มน้�ำเป็นเนินเขาระดับไม่สูงมากนัก โดยน�้ำในล�ำน�้ำ รวมทั้งจะวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลทาง ประมาณ +150 ถึง +250 ม.รทก. จากนน้ั พื้นที่ค่อยๆ ลาดตำ่� ลง ดา้ นส่งิ แวดล้อมกับการไหลของน�้ำในลำ� นำ้� ซงึ่ ในผลการวเิ คราะห์ มาทางทศิ ใต้ส่แู ม่นำ�้ มลู เช่นกันสว่ นทางตอนล่างของลุ่มนำ�้ สภาพ ประเมนิ ในสว่ นนจี้ ะเปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานทจ่ี ะสะทอ้ นถงึ กระบวนการ ภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญย่ งั คงเปน็ ทร่ี าบสงู และมที วิ เขาพนมดงรกั เปน็ ที่แตกต่างกันของการเคลื่อนที่ของสสารจากพ้ืนดินไปยังล�ำน�้ำ แนวยาวทางตอนใต้ พ้นื ที่จะค่อย ๆ ลาดลงไปทางดา้ นตะวันออก ในพื้นที่ของลุ่มน�้ำมูลที่มีความเฉพาะของลักษณะทางธรณีวิทยา ในเขตจังหวัดศรีสะเกษ สภาพภูมิประเทศเป็นท่ีราบสลับเนินเขา และการใช้ประโยชนท์ ่ีแตกตา่ งกนั ส่วนในเขตจงั หวดั อบุ ลราชธานี ยโสธร และอ�ำนาจเจรญิ สว่ นใหญ่ องค์ความรู้จากการศึกษาจะเป็นข้อมูลข้อเท็จจริงที่ เปน็ ทรี่ าบลมุ่ สลบั ลกู คลน่ื ลอนลาดถงึ ลกู คลนื่ ลอนชนั ความสงู ของ ถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� ตามหลกั วทิ ยาศาสตรท์ ส่ี ามารถนำ� ไปใชใ้ นการบรหิ าร พ้ืนทโี่ ดยเฉลี่ย 200 ม.รทก. (สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้� และ จัดการพื้นท่ีลุ่มน้�ำท่ีอยู่ในสภาวะท่ีมีความอ่อนไหวทางด้าน การเกษตร 2555) อทุ กธรณีนิเวศ ดงั เช่น ลุ่มนำ�้ มลู ซ่ึงการบริหารจดั การพื้นทีล่ ุ่มน�้ำ ลักษณะอุทกธรณีวิทยาของลุ่มน้�ำมูลเป็นช้ันหินอุ้มน้�ำ ควรครอบคลุมไปถึงการก�ำหนดการใช้พื้นท่ีที่เหมาะสมตาม ในตะกอนหินร่วน ชนั้ หนิ อุ้มนำ้� ในตะกอน หินรว่ นกึง่ หินแขง็ และ ลกั ษณะภูมิประเทศเพอ่ื ปกป้องคณุ คา่ ของระบบนิเวศและบรกิ าร ช้นั หนิ อมุ้ น้�ำในหินแข็งรวม 16 ชนดิ โดยพน้ื ทีส่ ว่ นใหญ่เปน็ ชนั้ หิน ของระบบนิเวศที่ส�ำคัญในพ้ืนที่ เช่น ปริมาณน�้ำส�ำหรับใช้ อมุ้ นำ้� หนิ ชดุ มหาสารคาม พื้นท่ี 31,387 ตารางกโิ ลเมตร คดิ เปน็ อุปโภคบริโภค คุณภาพของน�้ำ เป็นต้น ซ่ึงมีความจ�ำเป็นต่อ ร้อยละ 44.17 ของพื้นท่ลี มุ่ น�้ำ รองลงมาคอื ช้ันหินอุม้ น้�ำ หนิ ชุด การพัฒนาพืน้ ทแี่ ละพฒั นาประเทศตอ่ ไป โคกกรวด พน้ื ท่ี 15,755 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นรอ้ ยละ 22.17 ลมุ่ นำ้� มลู ตง้ั อยทู่ างตอนลา่ งของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของพ้ืนที่ลุ่มน้�ำ ซ่ึงช้ันหินอุ้มน�้ำ หินชุดมหาสารคามและชั้นหิน มีพ้ืนที่ประมาณ 69,700 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ี อมุ้ นำ�้ หนิ ชดุ โคกกรวดเปน็ ชน้ั หนิ ในกลมุ่ หนิ โคราชตอนบน (Upper 2311 จังหวดั (ประกอบด้วย จังหวดั ขอนแก่น นครราชสีมา บุรีรมั ย์ Khorat Group) มอี ายรุ ะหวา่ งครเี ทเชยี ส-ไทรแอสซกิ หนิ เปน็ พวก กา้ วหนา้ พฒั นา

ปที ี่ 14 ฉบบั ท่ี 37 กนั ยายน 2560 หนิ ดนิ ดาน หนิ ทราย หนิ ทรายแปง้ และหนิ กรวดมน นำ้� บาดาลจะ การด�ำเนินงานระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม แทรกอยใู่ นรอยแตก รอยเลอ่ื นและชอ่ งวา่ งระหวา่ งชน้ั หนิ มสี มบตั ิ 2560 ได้ด�ำเนินการจัดท�ำข้อมูลในระบบสารสนเทศท่ีมีข้อมูล การใหน้ ำ�้ ในเกณฑ์ 5-10 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ชว่ั โมง ปรมิ าณฝนเฉลยี่ ประกอบดว้ ย แผนทฐ่ี านลมุ่ นำ้� มลู แผนทข่ี อบเขตลมุ่ นำ้� ยอ่ ย แผนท่ี รายปีในพ้ืนท่ีลุ่มน้�ำมูล 1,296 มิลลิเมตร จะตกในช่วงเดือน การใช้ประโยชน์ท่ีดิน รวมท้ังแผนที่จุดเก็บตัวอย่าง ซึ่งได้มีการ พฤษภาคมถงึ เดอื นกนั ยายน ปรมิ าณนำ้� ทา่ เฉลยี่ รายปขี องทง้ั พนื้ ที่ ดำ� เนนิ งานสำ� รวจและเกบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ ในชว่ งนำ้� หลากในแมน่ ำ้� หลกั ลุ่มน้�ำ 19,403 ล้านลูกบาศก์เมตร เริ่มมีปริมาณน้�ำตามฝนแรก และสาขายอ่ ย เพอื่ วเิ คราะหห์ าอตั ราสว่ นปรมิ าณไอโซโทปของธาตุ ในราวเดือนพฤษภาคม และน้�ำท่ากว่าร้อยละ 80 ของปริมาณ สตรอนเซียม คาร์บอน ไนโตรเจน และก�ำมะถัน ในตัวอย่างน้�ำ น�้ำท่ารายปีเฉลี่ยจะอยู่ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน รวมทั้งเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณไอออนหรือธาตุหลัก เช่น และประสบกับภาวะน้�ำท่วมในช่วงดังกล่าว (สถาบันสารสนเทศ ฟลูออไรด์ โบรไมด์ คลอไรด์ ไนเตรท ซัลเฟต แอมโมเนียม ทรัพยากรน้�ำและการเกษตร 2555 และ https://th. wikipedia ฟอสเฟต ซิลิกา แคลเซียม แมก็ นีเซยี ม โซเดยี ม โปแตสเซยี ม และ .org/wiki/) ลิเธียม โดยใชเ้ คร่ือง Ion Chromatography (IC) และวเิ คราะห์ หาปรมิ าณธาตรุ อ่ งรอย เชน่ ปรอท ตะกวั่ ทองแดง และสังกะสี โดยใช้เครอ่ื ง Inductively coupled plasma-mass spectrometry (ICP-MS) ซงึ่ อยูร่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ งานวิเคราะห์ รูปท่ี 1 แสดงลกั ษณะภมู ิประเทศ ของลุ่มนำ�้ มลู (อ้างองิ ภาพจาก สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนำ้� และการเกษตร) รปู ที่ 2 24 ตำ� แหน่งเก็บตวั อย่างนำ้� บริเวณลุม่ นำ�้ มลู กา้ วหนา้ พัฒนา

ปีที่ 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 อุปกรณป์ ้องกันลม (Windscreen) กับการตรวจวัดระดบั เสียง ✑ ภาวณิ ี นาคประเวศน์ ศนู ยว์ ิจัยและฝกึ อบรมดา้ นสิ่งแวดล้อม กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม การตรวจวดั ระดับเสยี งมหี ลายประเภท เชน่ เสียงจาก ก�ำเนิดเสียงมาตรฐาน และอีกหน่ึงอุปกรณ์ที่มีความส�ำคัญในการ การจราจร เสียงจากรถไฟ เสียงจากอากาศยาน เสียงจาก ตรวจวัด คือ อปุ กรณ์ปอ้ งกันลม (Wind screen) เป็นส่งิ ที่ตอ้ งใช้ อตุ สาหกรรม เสยี งโดยทว่ั ไปในสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ ซงึ่ รายละเอยี ด ทุกคร้ัง เนื่องจากระหว่างการตรวจวัดหากมีลมมาปะทะกับ การตรวจวดั เสยี งแตล่ ะประเภทมคี วามแตกตา่ งกนั ออกไป อปุ กรณ์ ไมโครโฟนโดยตรงอาจท�ำให้เกิดความคลาดเคล่ือนของผลการ ส�ำหรับการตรวจวัดระดับเสียง ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง ตรวจวดั ได้ 1 ไมโครโฟน สายสัญญาณ ขาตง้ั หรือเสา เครอ่ื งบนั ทึกขอ้ มูล เครื่อง รปู ท่ี 1 แสดงอุปกรณ์ปอ้ งกันลมชนดิ ต่างๆ รูปท่ี 2 แสดงลักษณะของอปุ กรณป์ ้องกนั ลม 25 ก้าวหน้าพฒั นา

ปที ่ี 14 ฉบับท่ี 37 กันยายน 2560 อุปกรณ์ป้องกันลม (Wind screen) ผลิตจากวัสดุ รปู ที่ 4 แสดงการตดิ ตง้ั เคร่อื งมอื ตรวจวดั ระดบั เสียง Polyurethane foam 2 มีลกั ษณะเป็นรพู รุน ชว่ ยลดเสียงลมท่ีจะ (ภายนอกอาคาร) มผี ลกระทบตอ่ การตรวจวดั ระดบั เสยี ง (ความเรว็ ลมไมเ่ กนิ 5 m/s) นอกจากน้ียังสามารถป้องกนั ฝุน่ ละออง ฝนตก (ปรอย ๆ) ละออง น้�ำมนั ท่ีอาจจะท�ำให้เกดิ ความเสยี หายแกไ่ มโครโฟนได้ 3 รปู ที่ 3 แสดงตวั อย่างขนาดของเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง การเลือกอุปกรณ์ป้องกันลมให้เหมาะกับขนาดของ อปุ กรณป์ อ้ งกนั ลม ไมโครโฟน พจิ ารณาจากเส้นผา่ ศนู ย์กลางของบรเิ วณท่จี ะสวมเขา้ กบั ไมโครโฟน เพื่อประสิทธภิ าพในการลดเสยี งลมทดี่ ีและป้องกัน การหลดุ รว่ งระหวา่ งการตรวจวดั ซงึ่ มหี ลากหลายขนาดใหเ้ ลอื กใช้ แต่ละแบบนั้นขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต ซ่ึงส่วนใหญ่อุปกรณ์ป้องกัน ลมมักจะมาคูก่ บั เครอ่ื งวัดระดับเสียง การเกบ็ รกั ษานน้ั ไมค่ วรเกบ็ ในสถานทท่ี มี่ คี วามชนื้ และ อุณหภูมิสูง หากอุปกรณ์ป้องกันลมหมดอายุการใช้งานจะท�ำให้ เกิดการหลุดร่วงของเศษวัสดุ จึงไม่ควรน�ำมาใช้งานเน่ืองจาก เศษวสั ดเุ หลา่ นัน้ อาจจะทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ไมโครโฟนได้ เอกสารอ้างองิ 1 ISO1996-2, Acoustic-Description, measurement and assessment of environmental noise - Part 2 : Determinationof environmental noise levels. 2nd ed. Geneva : ISO officer, 2007 2 Glen M. Balou. Handbook for Sound Engineers. 4th ed. MA : Elsevier Inc, 2008 3 กรมควบคุมมลพษิ . มลพษิ ทางเสยี ง. พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: ซิลคค์ ลบั , 2544 กา้ วหนา้ พฒั นา 26

ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 37 กันยายน 2560 ดลุ ยภาพธรรมชาติ.. ธรรมชาตบิ นโลกใบนี้... มีเรอ่ื งราวมากมาย...ได้บอกผา่ นซึ่งกาลเวลา และในทกุ ๆ เรอ่ื งราว เวลาคือความชอบธรรม คอื สงิ่ ... “สรา้ งความสมดุล” ธรรมชาตทิ ีน่ ำ้� ตกเหวสวุ ัต ในสภาวะทางธรรมชาตินั้น มีความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะในธรรมชาติ นอกเสียจากว่าเกิดการเปล่ียนแปลงแบบ องค์ประกอบในธรรมชาติที่หลอมรวมเป็นหน่ึงสู่ความสมบูรณ ์ กะทนั หนั ใหร้ ะบบนเิ วศตอ้ งเสยี สมดลุ และทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ นั่นหมายถึงในระบบนิเวศจะต้องท�ำหน้าที่ในวงจรครบรอบ คือ ส่ิงมีชีวิตและพืชพันธุ์ที่อาศัยร่วมกันในวงจรแห่งนิเวศเกิดการ มผี ผู้ ลติ ผบู้ รโิ ภค และผยู้ อ่ ยสลาย สนบั สนนุ กนั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ ใน เปลยี่ นแปลงไป เชน่ การเปลย่ี นแปลงทางภมู อิ ากาศอยา่ งฉบั พลนั ความสมดลุ ทางธรรมชาตนิ น้ั มคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามแตล่ ะนเิ วศ ไฟไหม้ นำ�้ ทว่ ม หรอื โรคระบาด เป็นต้น ท้ังน้ียงั ไม่รวมการกระทำ� ซึ่งโดยปกติน้ันในแต่ละนิเวศน้ัน ๆ ย่อมจะมีการเปลี่ยนแปลง อันมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากน�้ำมือของมนุษย ์ ในวงจรรอบของตวั มนั เอง และเปน็ ไปตามเวลา ในรปู แบบคอ่ ยเปน็ ท่ีไม่รู้ตวั ว่าตนนั้นคอื องคป์ ระกอบหนึง่ บนโลกใบนี้ คอ่ ยไปอยา่ งชา้ ๆ ซงึ่ เวลาทวี่ า่ นก้ี จ็ ะเปน็ ตวั แปรทส่ี รา้ งความสมดลุ ให้กับสรรพส่ิงท่ีอยู่ในระบบท้ังสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต อันเป็น องค์ประกอบหลักในแต่ระบบนิเวศที่มีการเก้ือกูลและพึ่งพา ร่วมกันอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ซึ่งท่ามกลางความเป็น ธรรมชาติย่อมมีความหลากหลายทางชีวภาพท่ีบางสิ่ง บางอย่าง บางชนิด มีความเปราะบางและแข็งแกร่งตามสภาวะ ดังนั้น เมื่อองค์ประกอบทางธรรมชาติถูกด�ำเนินไปตามระยะของเวลา การปรับตัวหรือสร้างความสมดุลของระบบแห่งวงรอบในนิเวศ น้ัน ๆ ก็เป็นไปตามเวลาแหง่ ความสมบูรณม์ ากน้อยตามแตส่ ามัญ 27 พง่ึ พาธรรมชาติ

ปที ี่ 14 ฉบบั ท่ี 37 กันยายน 2560 ต่างก็เป็นหนง่ึ ในองค์ประกอบ.. ร่วมกัน ในภาวะใต้ประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง การอยู่ร่วมกัน ของสิ่งมีชีวิตโดยก็ได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แยกกันอยู่ ส่ิงมีชีวิตและไม่มีชีวิตในธรรมชาติบนโลกใบน้ี คือ กส็ ามารถดำ� รงชวี ติ ไดต้ ามปกติ เชน่ แมลงกบั ดอกไม้ : แมลงไดร้ บั สององค์ประกอบหลักในระบบนิเวศตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามหลากหลาย นำ้� หวานจากดอกไม้ สว่ นดอกไมไ้ ดแ้ มลงชว่ ยผสมเกสรท�ำให้แพร่ ทางชวี ภาพและกายภาพ ทงั้ พืชพนั ธ์แุ ละสตั วน์ านาชนิด ล้วนแล้ว พนั ธไ์ุ ดด้ ขี นึ้ เปน็ ตน้ ดงั นน้ั ในธรรมชาตติ ามวงจรแตล่ ะชวี ติ จงึ หลกี อาศยั อยรู่ ว่ มกนั ตามสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและเออื้ อ�ำนวยตอ่ ไม่พ้นในเรื่องการพ่ึงพาซึ่งกัน ธรรมชาติจึงมอบสิ่งในการด�ำรงไว้ การด�ำรงชีวิตที่ประกอบด้วยปัจจัยหลายสิ่งต่อการเกื้อกูลและ รว่ มกัน คอื สงั คมแหง่ การเปน็ อยู่ในธรรมชาตริ ่วมกันบนโลกใบน้.ี . พง่ึ พา ในระบบนเิ วศ เช่น ดิน น้�ำ แสงอาทิตย์ อุณหภมู ิ อากาศ คือดลุ ยภาพท่ีสอดคล้อง ความชืน้ ความเปน็ กรดด่างต่าง ๆ และมนุษยเ์ องกเ็ ปน็ อีกหนง่ึ ใน คือห้องเรียนขนาดใหญ่ “เมื่อเรารู้...ท่ีจะเรียนรู้” เรา องคป์ ระกอบของธรรมชาตทิ ม่ี คี วามสามารถปรบั ตวั ไดร้ วดเรว็ ตาม ต้องยอมรับในคุณแห่งผืนป่าธรรมชาติ ที่ท�ำให้เราได้นึกคิดถึง สภาวะของธรรมชาติ อีกท้ังยังเป็นตัวแปรส�ำคัญทางหน่ึงท่ีมีผล เหตุและผลของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ โอนอ่อนผ่อนตาม ทำ� ใหส้ ภาวะของธรรมชาตเิ ปลยี่ นแปลงไดเ้ รว็ และชดั เจน นบั ตง้ั แต่ ใหก้ ารเกอื้ กลู ซ่ึงกันและกนั คดิ ไปแล้วอยากรจู้ รงิ ๆ มนุษย์เร่มิ ท่จี ะรุกล�ำ้ พน้ื ทีธ่ รรมชาติ ละเลยต่อความใสใ่ จในระบบ ชีวิตและพืชพันธุ์ต่าง ๆ มีการทะเลาะถกเถียงกันซึ่ง นิเวศทางธรรมชาติ สร้างปัจจัยด้วยมลภาวะที่มีผลปรับเปลี่ยน ความคิดต่างกันบ้างไหม กับการที่ได้อยู่ร่วมกันบนความหลาก สภาพแวดลอ้ มหรอื ระบบนเิ วศอนั ไมพ่ งึ ประสงคต์ อ่ การขบั เคลอื่ น หลายของโลกใบนี้ เหตุน้ีจึงนึกคิดไปว่า หากมนุษย์เราสามารถ ของกลไกในธรรมชาติ ตราบใดท่ีมนุษย์ไม่คงไว้ซึ่งความสมดุล เรียนรู้ เร่ืองของการอยู่ร่วมกันอย่างลึกซึ้งโดยถ่องแท้แล้ว ตามกฎของธรรมชาติและก่อเกิดความผิดแปลกต่อกลไก ความงดงามในการอยู่ร่วมกันของเราในสังคม คงวิจิตรและ ธรรมชาติมากเกินความสมดุล ความหลากหลายทางชีวภาพ เบกิ บาน สนั ตสิ ขุ จากการพง่ึ พา และเกอื้ กลู ในแบบอยา่ งธรรมชาติ บนโลกใบน้ี ซ่ึงตัวมนุษย์เองนั้นก็ยังเรียนรู้ไม่หมด คงจะไม่มีให้ จะน�ำพาความส�ำเร็จในหลากหลายเร่ืองราวมาสู่เรา สู่รุ่นลูก ลูกหลานและเหลนได้สมั ผสั และเรียนรู้ รนุ่ หลาน และเหลน ๆ ของเราสบื ไป... “สละเวลาเล็กน้อย และมาอยู่กับธรรมชาติ” ธรรมชาติสร้างสิง่ ที่เรียกว่า “ดุลยภาพ” บางทีตัวเรานนั้ อาจไม่รู้คณุ คา่ ของคำ� ว่า “ธรรมชาติทแ่ี ท้จริง” หากเราเพยี งแคช่ ่นื ชมความงดงามของธรรมชาติ จนกว่าทีเ่ รา เมื่อเรามองเห็นการเกื้อกูลในสรรพส่ิงแท้จริงมันก็คือ นั้นร.ู้ .ทจ่ี ะเรียนร.ู้ . ธรรมชาติ และธรรมชาตกิ ค็ อื ความเปน็ จรงิ “ความเปน็ จรงิ ทม่ี นษุ ย์ อยา่ งเรา ๆ มกั มองผา่ น” ดงั่ รปู ภาพทเี่ ราไดบ้ นั ทกึ หากเรามองเหน็ มากกว่าท่ีตาผ่านเลนส์บันทึกภาพ เราก็จะรู้ว่าการเก้ือกูลนั้น แทท้ จ่ี รงิ ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งสรา้ ง เพราะการเกอ้ื กลู จากสง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ ทม่ี ี ตอ่ สงิ่ หนงึ่ นน้ั เกิดเองไดโ้ ดยปัจจัยการอาศยั และพึ่งพากัน เปน็ ไป กด็ ว้ ยจดุ ประสงคเ์ ดยี วกนั อยา่ งแทจ้ รงิ เพอื่ การมชี วี ติ และดำ� รงอยู่ พ่งึ พาธรรมชาติ ทมี่ า : การรกั ษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต http://environment.ekstepza.ws/life-equilibrium.html 28

ปีท่ี 14 ฉบบั ที่ 37 กนั ยายน 2560 การทอ่ งเที่ยวเชิงนเิ วศ (Ecotourism) ✑ นนั ท์ธรี า ศรบี รุ ินทร์ ศนู ย์วิจยั และฝึกอบรมดา้ นส่งิ แวดล้อม กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ (Ecotourism) หมายถึง ตระหนักถึงบทบาทและความส�ำคัญของการท่องเท่ียวที่มีผลต่อ การทอ่ งเทย่ี วทค่ี ำ� นงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ ม โดยผทู้ มี่ าทอ่ งเทยี่ วนน้ั จะ การเพ่มิ มลู คา่ สังคม วฒั นธรรม และเศรษฐกจิ โลก ต้องเป็นบุคคลเฉพาะกลุ่มที่มีความรู้ มีความตระหนักและมี สาระสำ� คัญของการท่องเทยี่ วเชงิ นเิ วศ ศูนย์วจิ ยั ปา่ ไม้ จติ สำ� นกึ ไมท่ ำ� ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม หรอื ทำ� ให้ (2538) มดี งั น้ี แหลง่ การทอ่ งเทยี่ วนน้ั เสยี หาย ซงึ่ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศนร้ี วมไปถงึ 1. แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทจ่ี ะสง่ เสรมิ ควรเปน็ พนื้ ทธี่ รรมชาติ รูปแบบการท่องเท่ียวในเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม และการอนุรักษ์ ท่ีมีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมเป็นหลัก ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือมุ่งเน้นให้เกิดจิตส�ำนึก และอาจรวมถึงแหลง่ ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี และวฒั นธรรมที่ ต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างย่ังยืน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ปรากฏในพ้ืนทด่ี ้วย จงึ เปน็ กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ และอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม 2. ควรเป็นการท่องเท่ียวท่ีทุกฝ่ายมีความรับผิดชอบ ซง่ึ องคก์ ารการทอ่ งเทย่ี วโลกแหง่ สหประชาชาติ (United Nations ต่อสภาพแวดล้อมธรรมชาติและระบบนิเวศ เป็นการท่องเท่ียว World Tourism Organization : UNWTO) ได้ก�ำหนดให้ ทไ่ี มท่ ำ� ใหท้ รัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ มเส่ือมโทรม ทุกวนั ที่ 27 กนั ยายนของทกุ ปี เปน็ “วนั ท่องเท่ยี วโลก” เพือ่ ให้ 3. เน้นให้นักท่องเท่ียวได้สัมผัส ได้รับประสบการณ์ และการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยตรง อีกทั้ง เสรมิ สร้างจิตส�ำนกึ ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย 4. เปน็ การทอ่ งเทยี่ วทใี่ หป้ ระโยชนก์ ลบั คนื สธู่ รรมชาติ เอือ้ ประโยชน์ต่อชุมชนทอ้ งถ่ินท้งั ทางตรงและทางออ้ ม 5. มุ่งเน้นคุณค่าลักษณะเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของ ธรรมชาติทเ่ี ปน็ แหล่งท่องเทยี่ วในการดึงดูดใจนักทอ่ งเทยี่ ว แต่ไม่ เนน้ ทก่ี ารเสรมิ แต่ง พฒั นาสิง่ อ�ำนวยความสะดวก 29 พง่ึ พาธรรมชาติ

ปีที่ 14 ฉบบั ท่ี 37 กันยายน 2560 องค์ประกอบหลักของการทอ่ งเที่ยวเชงิ นิเวศ 4. องคป์ ระกอบดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม เปน็ การทอ่ งเทยี่ ว ท่ีมีการค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชนท้องถ่ิน การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (2544) ได้กล่าวถึง และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง ท่ีมีส่วนร่วมในการคิด วางแผน องคป์ ระกอบหลกั ทส่ี ำ� คญั ของการทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศ มี 4 ประการ คอื ปฏิบัติตามแผน ได้รับประโยชน์ติดตามตรวจสอบ ตลอดจนร่วม 1. องคป์ ระกอบดา้ นพนื้ ท่ี เปน็ การทอ่ งเทย่ี วในแหลง่ บ�ำรุงรักษาทรัพยากรการท่องเท่ียว อันจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกบั ธรรมชาตทิ มี่ เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะถนิ่ รวมทง้ั ในทอ้ งถน่ิ ทง้ั การกระจายรายได้ การยกระดบั คุณภาพชวี ิต และ แหล่งวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ การได้รับผลตอบแทนเพ่ือกลับมาบ�ำรุงรักษา และจัดการแหล่ง (Eco-system) ในพืน้ ท่นี น้ั ๆ ทอ่ งเทย่ี วดว้ ย 2. องค์ประกอบด้านการจัดการเป็นการท่องเท่ียว จากสถติ กิ รมการทอ่ งเทยี่ ว กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและ ท่ีมีความรับผิดชอบ (Responsible Travel) โดยไม่ก่อให้เกิด กฬี า และการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย นกั ทอ่ งเทย่ี วชาวตา่ งชาติ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสงั คม มกี ารจดั การทยี่ ง่ั ยนื ครอบคลมุ ทีเ่ ดนิ ทางเขา้ มาในประเทศไทยมีแนวโนม้ สูงขนึ้ ทุกปี จากปี 2559 ไปถึงการอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกัน มจี ำ� นวน 32,588,303 คน ซึง่ สูงขนึ้ จากปี 2558 คิดเปน็ ร้อยละ และจ�ำกัดมลพิษ ภาวะ และควบคุมอย่างมีขอบเขต จึงเป็นการ 9.05 และสงู ขน้ึ จากปี 2557 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.35 ทำ� ใหก้ ารขยาย ท่องเท่ียวทมี่ กี ารจดั การย่งั ยืน ตัวของเศรษฐกิจและการขยายตัวของเมืองเป็นอย่างรวดเร็วและ 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ กวา้ งขวาง ซง่ึ ปจั จยั ในการเลอื กสถานทท่ี อ่ งเทยี่ วของนกั ทอ่ งเทย่ี ว เป็นการท่องเที่ยวท่ีมีกระบวนการเรียนรู้ โดยมีการให้ศึกษา ยอ่ มมีความแตกต่างกนั ไปตามความพึงพอใจหรือความตอ้ งการท่ี เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศของแหล่งท่องเที่ยว จะได้รับจากการท่องเท่ียว โดยท่ีนักท่องเท่ียวบางคนต้องการไป เปน็ การเพ่มิ พูนความรู้ ประสบการณ์ ความประทบั ใจ เพ่อื สร้าง เพ่ือการท่องเที่ยวตามแหล่งธรรมชาติ หรือบางคนต้องการ ความตระหนักและปลูกจิตส�ำนึกที่ถูกต้องต่อนักท่องเท่ียว ความสะดวกสบายจากการท่องเที่ยวในเรื่องของที่พักหรืออาหาร ประชาชนท้องถน่ิ และผูป้ ระกอบการที่เก่ียวข้อง หรือบางคนต้องการพาครอบครัวไปท่องเท่ียวพักผ่อนในวันหยุด เทศกาลต่าง ๆ เป็นต้น การท่องเที่ยวท�ำให้ผู้ที่ท่องเที่ยวเกิด ความสุข การผ่อนคลาย การได้เรียนรู้ในส่ิงใหม่ ๆ ทั้งด้าน ระบบนิเวศ ความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต วัฒนธรรม โบราณสถาน ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และความแตกต่างจากทุกมุมโลก นอกจากนี้ยังช่วยในการฟื้นฟูและซ่อมแซมร่างกายจากสภาวะ เครียดจากการท�ำงานในแต่ละวันได้ดีอีกด้วย ด้วยรูปแบบของ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีความหลากหลาย อาทิ การเดินป่า การปีนเขา การล่องแก่ง การด�ำน้�ำในทะเล ล้วนเป็นการใช้ ประโยชน์จากการพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม พึ่งพาธรรมชาติ 30

ปีที่ 14 ฉบับท่ี 37 กันยายน 2560 ทงั้ สิ้น ทำ� ใหเ้ กิดปัญหาทางภูมิทศั นข์ องแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วธรรมชาติ ซึ่งมาจากการขยายตัวของการท่องเที่ยว ในการใช้พื้นท่ีมาสร้าง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเกินขอบเขตท่ีจ�ำกัด การขาดแคลนพ้ืนท ี่ สเี ขยี ว รวมถงึ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี สอ่ื มโทรมลงจากกจิ กรรมของ มนษุ ย์ เชน่ ขยะทเ่ี พม่ิ ขน้ึ การปลอ่ ยทง้ิ นำ้� เสยี มลพษิ ทางเสยี ง ฝนุ่ ละออง และก๊าซต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ รวมทั้งก๊าซเรือน กระจกอนั เป็นสาเหตุหลกั ของภาวะโลกรอ้ น จากปัญหาดังกล่าว ท�ำให้นานาประเทศตระหนักถึง ผลกระทบทมี่ ตี อ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม จงึ ควรมกี าร บริหารจัดการอย่างยั่งยืน ปกป้อง สงวน และรักษาเพื่ออนุชน รุ่นหลัง องค์การท่องเที่ยวโลก (WTO) จึงให้ความหมาย การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน (Sustainable Tourism Development) เปน็ การทอ่ งเทย่ี วทตี่ อบสนองความตอ้ งการของ นักทอ่ งเทย่ี วและผเู้ ปน็ เจา้ ของแหลง่ ท่องเทยี่ ว โดยเน้นการจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือให้สามารถรักษาความม่ันคงของระบบ นิเวศ ตลอดจนวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อประโยชน์ ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ซ่ึงแนวทางปฏิบัติในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวให้มีความ ย่ังยืนน้ัน เราในฐานะนักท่องเที่ยว จึงควรที่จะท่องเที่ยวภายใต้ ขดี ความสามารถของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม การอนรุ กั ษ์ และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างพอดี การลดการใช้ถุงพลาสติก หลีกเล่ียงการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีหีบห่อบรรจุภัณฑ์หลายช้ัน เพ่อื ลดปริมาณ ขยะในแหลง่ ท่องเทย่ี ว การนำ� แนวคิด 7 Greens พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษต่อส่ิงแวดล้อม ไปใช้ในการบริการ (ททท (2554)) ซึ่งได้แก่ จดั การการท่องเทยี่ ว รวมถงึ แนวทางปฏิบตั ติ ่าง ๆ ทเี่ ป็นมติ รกบั 1. Green Hearts คือ การสร้างความรู้สึกให้ สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกับแหล่งท่องเท่ียวธรรมชาติอย่างย่ังยืน นกั ทอ่ งเที่ยวใสใ่ จส่งิ แวดล้อม การสรา้ งและพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ปน็ พน้ื ทสี่ เี ขยี ว การอนรุ กั ษ์ 2. Green Activities คอื กจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ปน็ ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ด�ำรงคุณค่า การวางแผนบริหาร มติ รต่อสิ่งแวดล้อม จัดการแหล่งท่องเท่ียวอย่างต่อเนื่องที่ไม่ทิ้งคุณค่าของแหล่ง 3. Green Communities คือ แหล่งท่องเท่ียวท่ีให้ ท่องเท่ียวนน้ั ๆ ความส�ำคัญกับการจัดการท่องเที่ยวท่ีใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมและ จากทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ไดส้ ะทอ้ นภาพของการทอ่ งเทย่ี ว วถิ ชี วี ติ ดัง้ เดิมของชมุ ชน เชงิ นเิ วศไวอ้ ยา่ งชดั เจน วา่ เปน็ การทอ่ งเทยี่ วและการพฒั นาจะตอ้ ง 4. Green Logistics รูปแบบการให้บริการด้านการ ไปพรอ้ ม ๆ กนั โดยเฉพาะการพฒั นาจติ สำ� นกึ ของนกั ทอ่ งเทย่ี วให้ ขนส่งท่ีลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการใช้ยานพาหนะท่ีเป็น มีความตระหนักในการรักษาส่ิงแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของ มติ รต่อสิ่งแวดล้อม นักท่องเท่ียวและชุมชนจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ในท้องถิ่น 5. Green Services รปู แบบการให้บรกิ ารของธรุ กิจ ท้ังการกระจายรายได้ การยกระดับคุณภาพชีวิต และการได้รับ ทอ่ งเท่ียวต่าง ๆ ท่มี ีมาตรฐานและคณุ ภาพที่ดภี ายใตก้ ารคำ� นงึ ถงึ ผลตอบแทนเพอื่ กลบั มาบำ� รงุ รกั ษาพรอ้ มทงั้ จดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ส่ิงแวดล้อม ให้คงอยู่ในสภาพเดิมหรือดียิ่งขึ้น เราหวังท่ีจะให้นักท่องเที่ยว 6. Green Attractions แหล่งท่องเท่ียวที่มีรูปแบบ ทุก ๆ ท่านช่วยกันดูแลรักษาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและ การบรหิ ารจดั การทีต่ ระหนักถงึ คุณค่าของสง่ิ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ ม ไมท่ �ำลายแหลง่ ท่องเท่ยี วธรรมชาติ เพื่อให้เกิดความ 7. Green Plus กิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีตอบแทน สมดลุ ของระบบนเิ วศ อนั จะทำ� ใหก้ ารทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศเกดิ ความ สู่สังคมด้วยความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม โดยการลด ละ เลิก ยงั่ ยนื ตอ่ ไปได้ในอนาคต พึ่งพาธรรมชาติ 31

ปที ่ี 14 ฉบับที่ 37 กันยายน 2560 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม ลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมอื กับบริษทั ห้องปฏบิ ัตกิ ารกลาง (ประเทศไทย) จำ� กดั อกี ภารกจิ หนง่ึ ของกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มทมี่ ี ความร่วมมือ “การพัฒนางานบริการที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม” ความสำ� คญั คือ การศกึ ษา วิจยั พฒั นา ถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละ ระหวา่ งกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม กบั บรษิ ทั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลาง การจัดการด้านส่ิงแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้าน (ประเทศไทย) จำ� กัด โดยมนี ายสากล ฐนิ ะกลุ อธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ สง่ิ แวดล้อม ได้มีการดำ� เนนิ การในด้านการวจิ ยั และพัฒนาวิธกี าร คุณภาพสิ่งแวดล้อม และนายสุรชัย ก�ำพลานนท์วัฒน์ กรรมการ ติดตามและตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล้อม ให้การสนับสนุนด้าน ผู้อ�ำนวยการ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บรกิ ารวชิ าการ แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขา่ วสาร จดั ทำ� หลกั สตู รฝกึ อบรม ได้ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อใช้ศักยภาพ ดา้ นตา่ ง ๆ ใหก้ ารสง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทง้ั ในหนว่ ยงานและ ของทั้งสองหนว่ ยงานในการพัฒนา สง่ เสริม สนับสนุนองค์ความรู้ โครงการที่เกี่ยวข้อง ให้มีองค์ความรู้ ความสามารถและความ หรือบริการ รวมถึงความร่วมมือในกิจกรรมที่จะช่วยเหลือ เช่ียวชาญ ที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบทางห้องปฏิบัติการวิจัย ซึ่งกันและกัน โดยจัดขึ้นในวันอังคารท่ี 1 สิงหาคม 2560 เพื่อพัฒนาวิธีการผลิตวัสดุอ้างอิง และการจัดโปรแกรมทดสอบ ณ บรษิ ทั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลาง (ประเทศไทย) จำ� กดั ถนนพหลโยธนิ ความช�ำนาญส�ำหรับการวัดทางเคมีส่ิงแวดล้อม และพัฒนา แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง ERTC Update 32

ปที ี่ 14 ฉบับท่ี 37 กนั ยายน 2560 วสิจูย่ ยั ุคส่ิงแTวดhลaอ้ มil.a..nd 4.0 กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ในฐานะหน่วยงาน ประชาชนดา้ นการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม จงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การเผยแพร่ ทมี่ ภี ารกจิ ดา้ นการวจิ ยั พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรม ในดา้ นตา่ ง ๆ ส่ือสาร องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากผลการ อาทิเช่น การวจิ ัยด้านอากาศ เสียงและความส่นั สะเทอื น ดา้ นนำ�้ ด�ำเนินงานวิจัยของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่ม และขยะ ด้านสารอันตราย และด้านการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ เป้าหมายทั้งในระดับผู้บริหาร นักวิชาการ และนักวิจัยจาก เพ่ือใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการก�ำหนดนโยบาย มาตรฐาน เครอื ขา่ ยหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง เพือ่ ใหส้ ามารถน�ำผลงานวจิ ัยของ คุณภาพสิ่งแวดล้อม การป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ให้กับ กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ไปใช้แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน นำ� ไปใช้ในการ อย่างรวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป บริหารจัดการสิง่ แวดล้อมไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รวมทงั้ องค์ความรู้ จึงได้จัดสัมมนาวิชาการเผยแพร่ผลงานวิจัยด้านส่ิงแวดล้อม เพ่ือใช้ในการสร้างจิตส�ำนึกและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ “วิจัยสิ่งแวดล้อม...สู่ยุค Thailand 4.0” ในวันท่ี 16 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร โดยมี นายบรรบต อมราภบิ าล รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ ประธานในพิธกี ารเปิดสัมมนาวิชาการดงั กล่าว และมนี กั วิจยั จากศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม และผู้เชี่ยวชาญจาก หนว่ ยภายนอกรว่ มอภปิ รายในหวั ขอ้ “Mercury, Dioxins, VOCs, PAHs มลพษิ อากาศใกลต้ ัว” และหัวขอ้ เรอ่ื ง “สารอนั ตรายกับ การปนเปอ้ื นในดนิ นำ้� และนำ�้ ใตด้ นิ และการนำ� นำ�้ กลบั มาใชใ้ หม”่ พร้อมการแสดงนิทรรศการ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น Climate Change น้�ำและขยะ อากาศ เสียง และความส่ันสะเทือน สารอันตราย ไดออกซนิ และการบรโิ ภคทยี่ ง่ั ยนื โดยมผี สู้ นใจเขา้ รว่ มการสมั มนา ในครั้งนีจ้ ำ� นวน 320 คน 33 ERTC Update


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook