ISSN:1686-1612 Research ปที ่ี 12 ฉบบั ที่ 29 มกราคม 2558 เพ่อื การบริหารจกัดารกวาิจรยันำ�้ ในระดับชุมชน การใชท้ รพั ยากรนำ�้ จดื บนเกาะสมุย การทดสอบประสทิ ธภิ าพการปรับปรุง ผลการบ�ำ บดั น้�ำ เสียจากหอพักโดยระบบ คุณภาพน้ำ�เสียของระบบทรายกรองชา้ บ�ำ บดั น้ำ�เสียแบบติดกับท่ี (Johkasou)
บ.ก.แถลง EDITOR’S TALK ขอต้อนรับเข้าสู่ศักราชใหม่ พ.ศ. 2558 คาดว่าหลายท่านคงใช้โอกาสในช่วงต้นปีน้ี ในการเริ่มที่จะท�ำส่ิงใหม่ๆ เพ่อื พฒั นาตนเองและหนา้ ท่ีการงานให้ดีย่งิ ๆ ขึน้ ไป “Green Research” เปน็ ก�ำลงั ใจใหส้ �ำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดนี ะคะ “Green Research” ฉบับที่ 29 ประจ�ำเดือนมกราคม 2558 ยังคงน�ำเสนอสาระวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีๆ เช่นเคย ภายใต้ ประเด็นหลัก “การวิจัยเพ่ือการบริหารจัดการน้�ำในระดับชุมชน” ซ่ึงได้น�ำเสนองานวิจัยเพื่อการบริหารทรัพยากรน้�ำ ทน่ี า่ สนใจ โดยเฉพาะการบรหิ ารจดั การนำ�้ ในระดบั ชมุ ชน ไมว่ า่ จะเปน็ การบรหิ ารจดั การนำ�้ จดื ใหก้ บั พนื้ ทท่ี เ่ี ปน็ เกาะหรอื การบำ� บดั น�้ำเสยี ชุมชน ดว้ ยระบบบำ� บัดน้ำ� เสียแบบติดกับที่ (Johkasou) รวมท้ังการใช้ “ผักตบชวา” มาช่วยในการบ�ำบัดนำ�้ เสียให้กบั ชุมชน คลองโรงเจ ซ่ึงสอดคล้องกับกระแสการตื่นตัวเร่ืองการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำในปัจจุบัน เนื่องจากทรัพยากรน้�ำมีบทบาทที่ส�ำคัญ ตอ่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ของสงั คมโลกหากไมม่ กี ารบรหิ ารจดั การทดี่ ี กอ็ าจสง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม และสขุ อนามยั ของประชากรได้ ปจั จบุ นั ประเทศไทยเอง ก็ได้ใหค้ วามสำ� คัญกับการบรหิ ารจัดการน�ำ้ ของประเทศ ดงั จะเห็นได้จากรัฐบาลไดก้ �ำหนดให้การบริหาร จัดการน้�ำแบบบูรณาการ เป็นนโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ นอกจากนั้น “Green Research” ฉบับนี้ ยังคงมบี ทความทีน่ �ำเสนอสาระอ่ืนๆ ทีน่ า่ สนใจอกี มายมายเชน่ เคย แลว้ มาพบกนั ใหมฉ่ บบั หน้านะคะ GREEN RESEARCH CONTENTS เรอื่ งเดน่ ประจำ� ฉบับ มกราคม 2558 3 การใชท้ รพั ยากรน้�ำจดื บนเกาะสมุย ทป่ี รึกษา ผลการบำ� บดั น�้ำเสียจากหอพักโดยระบบบำ� บดั น�้ำเสียแบบติดกบั ท่ี 5 (Johkasou) ภาวณิ ี ปุณณกนั ต์ เสรมิ ยศ สมมนั่ 7 การทดสอบประสทิ ธิภาพการปรบั ปรุงคุณภาพน�ำ้ เสยี สากล ฐนิ ะกลุ ของระบบทรายกรองชา้ บรรณาธิการบรหิ าร ตดิ ตามเฝ้าระวงั 13 มลพษิ ทเ่ี กดิ จากเครอื่ งถ่ายเอกสาร สวุ รรณา เตยี รถส์ วุ รรณ ก้าวหนา้ พฒั นา กองบรรณาธิการ แนวทางขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การจดั การการเปลย่ี นแปลง 17 สภาพภมู อิ ากาศของประเทศไทย โสฬส ขนั ธ์เครือ นติ ยา นักระนาด มลิ น์ 23 การปฏิรปู การส่งเสรมิ การวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ศริ ินภา ศรีทองทมิ ภายใต้กระแสการปฏิรปู ประเทศไทย หทยั รัตน์ การเี วทย์ เจนวทิ ย์ วงษ์ศานูน 26 การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารอยา่ งมีส่วนร่วม (Participatory Action ปัญจา ใยถาวร Research : PAR) กบั การแกไ้ ขปัญหาหมอกควนั ของพืน้ ท่ี จินดารัตน์ เรอื งโชตวิ ิทย์ ภาคเหนอื ตอนบน อาทิตยา พามี ศนู ยว์ จิ ัยและฝกึ อบรมด้านสง่ิ แวดลอ้ ม พึง่ พาธรรมชาติ กรมส่งเสริมคุณภาพสง่ิ แวดล้อม การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพในการบำ� บดั น�ำ้ เสยี ของผักตบชวา กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 30 ในคลองโรงเจ เทคโนธานี ต�ำบลคลองหา้ อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 ERTC UPDATE โทรศพั ท์ 02-557-4182-9 โทรสาร 02-557-1138 www.deqp.go.th/website/20/
เรอ่ื งเดน่ ประจ�ำ ฉบับ 3 การใชท้ รพั ยากรนำ้� จดื บนเกาะสมยุ กลับมาใช้ใหม่ในพื้นที่ท่ีมีทรัพยากรน�้ำอย่างจ�ำกัด และมีความส�ำคัญในภาคธุรกิจการท่องเท่ียว ชญานิน น้ำ�เยื้อง วาลิกา เศวตโยธิน ชชั ชัย โทปัญญา จงึ ไดค้ ดั เลอื กพนื้ ทเี่ กาะสมยุ เปน็ พนื้ ทใ่ี นการสำ� รวจ สดุ า อทิ ธิสุภรณ์รัตน์ และสุไพลิน ศรีกงพาน เบื้องต้น ประกอบกับเกาะสมุยเองได้มีแนวคิด ทจี่ ะยกระดบั ขน้ึ ใหเ้ ปน็ พน้ื ทน่ี ำ� รอ่ งเมอื งทอ่ งเทย่ี ว ในปัจจุบันกระแสการตื่นตัวในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นประเด็น สเี ขยี ว “โลว์คาร์บอนโมเดลทาวน์” ท่ีท่ัวโลกได้ให้ความส�ำคัญ กรณีที่เห็นได้ชัดเจนถึงผลกระทบท่ีเกิดจาก การท�ำลายส่ิงแวดล้อมมาอย่างยาวนานจนท่ัวโลกต้องมีการปรับตัว จากการสำ� รวจขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ เมอื่ ตน้ ปี 2557 กับผลกระทบที่เกิดข้ึน น่นั คอื ภาวะโลกรอ้ น ส�ำหรับประเทศไทยไมต่ า่ งจาก โดยการสำ� รวจระบบบำ� บดั นำ้� เสยี รวม แหลง่ น�้ำดบิ ประเทศก�ำลังพัฒนาประเทศอื่นๆ ที่มีการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม นำ้� ประปา การใชน้ ำ้� ทงั้ จากชมุ ชน และผปู้ ระกอบการ และเกษตรกรรม ทำ� ใหม้ คี วามต้องการในการใชท้ รัพยากรและวตั ถดุ บิ ตา่ งๆ ธุรกจิ ด้านโรงแรม โดยการสอบถามและสมั ภาษณ์ เพม่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะความตอ้ งการใชท้ รพั ยากรนำ�้ ถอื เปน็ วตั ถดุ บิ หลกั สำ� หรบั ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นท่ี อาทิ ประชาชนทั่วไป การผลติ ในขณะท่ีปริมาณของทรัพยากรน้ำ� ไม่ไดม้ ปี ริมาณเพ่ิมขึ้น ประกอบ ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการโรงแรม และสปา กับแหล่งน้�ำธรรมชาติยังมีความเส่ือมโทรมมากขึ้นด้วย ท�ำให้ในปัจจุบัน สามารถสรุปไดด้ งั นี้ จึงเกิดปัญหาการขาดแคลนแหล่งน�้ำที่เหมาะสมและเพียงพอส�ำหรับใช้ ระบบบ�ำบดั น�้ำเสยี รวม ในกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้ผู้ที่ต้องการใช้ทรัพยากรน�้ำของภาคส่วนต่างๆ มคี วามพยายามทจี่ ะหาแหลง่ นำ�้ ทดแทนแหลง่ เดมิ ซง่ึ การนำ� นำ�้ ทผ่ี า่ นการใชแ้ ลว้ ระบบบ�ำบัดน้�ำเสียรวมของเทศบาลนคร มาใช้ซ�้ำอีกคร้ังเป็นแนวทางหน่ึงในการแก้ปัญหาดังกล่าว ซ่ึงนอกจาก เกาะสมยุ มี 3 แหง่ เปน็ ระบบตะกอนเรง่ Activated จะสามารถช่วยลดปริมาณการใช้น�้ำจากแหล่งน�้ำธรรมชาติแล้ว ยังสามารถ Sludge (AS) สามารถรองรับน�้ำเสียได้ประมาณ ช่วยลดการปล่อยน�้ำเสียลงสู่แหล่งน้�ำธรรมชาติโดยตรง ทั้งนี้ประเทศต่างๆ ร้อยละ 50 ของน�้ำเสียท่ีเกิดขึ้นทั้งหมด ซ่ึงทาง ได้ให้ความสนใจในการน�ำน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดกลับมาใช้ประโยชน์ทั้งทาง เทศบาลฯ ไดม้ อบหมายใหเ้ อกชนเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ตรงและทางออ้ ม ซงึ่ การนำ� มาใชใ้ นกจิ กรรมตา่ งๆ ขนึ้ อยกู่ บั คณุ สมบตั ขิ องนำ้� ดำ� เนนิ การอยู่ ท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้ว โดยการน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่นั้น ส่วนมากก�ำหนด ให้ใช้เป็นน�้ำส�ำหรับการอุปโภค เช่น การปรับปรุงภูมิทัศน์ สวนสาธารณะ ลา้ งรถ ควบคมุ ฝนุ่ ละออง ดบั เพลงิ ระบบชกั โครก หอระบายความรอ้ น ระบบ ท�ำความเยน็ เป็นตน้ ศูนย์ส่งเสริมการน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ ภายใต้การก�ำกับดูแลของ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยแี ละสง่ เสรมิ การนำ� นำ�้ กลบั มา ใชใ้ หมใ่ นทกุ ภาคสว่ น ซงึ่ หนง่ึ ในเปา้ หมายนนั้ ไดม้ แี นวคดิ ทจ่ี ะสง่ เสรมิ การนำ� นำ�้ Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
4 เรื่องเดน่ ประจ�ำ ฉบบั การผลิตน�ำ้ ประปา ส่วนการใช้น�้ำในสถานประกอบการ และโรงแรมมาจาก การผลติ นำ้� ประปา ดำ� เนนิ การโดยการประปาสว่ นภมู ภิ าค ทั้งน้�ำบาดาลและน�้ำประปา ซึ่งโรงแรมส่วนใหญ่มีระบบบ�ำบัด ซ่ึงมีก�ำลังผลิตน้�ำประปาจากพรุธรรมชาติประมาณ 9 ล้าน น�้ำเสียของตนเอง และเม่ือบ�ำบัดแล้วน�้ำจะระบายลงคูคลอง ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ปี โดยในปี 2550 การประปาเกาะสมยุ สามารถ หนา้ โรงแรม และมเี พยี งบางสว่ นจะมกี ารนำ� นำ�้ มารดตน้ ไม้ สวน จำ� หนา่ ยนำ้� จดื ใหก้ บั ประชาชนเพม่ิ เตมิ จากระบบการผลติ นำ้� จดื หญา้ ในบริเวณโรงแรม จากทะเล (Reverse Osmosis, RO) ซึ่งมีก�ำลังการผลิตเฉลี่ย 2,500 ลบ.ม. ต่อวนั อย่างไรกต็ ามปริมาณการผลิตกย็ งั ตำ่� กวา่ ความต้องการใช้น�้ำในปัจจุบัน ท้ังน้ีเนื่องจากขาดแคลนน�้ำดิบ ดงั นน้ั การประปาสว่ นภมู ภิ าคจงึ กำ� ลงั ดำ� เนนิ การลงทนุ สง่ นำ�้ จดื จากฝง่ั โดยการวางท่อลอดทะเลมายังเกาะสมยุ จากข้อมูลท่ีได้ช้ีให้เห็นว่า แหล่งน้�ำดิบหลักของการ ประปาส่วนภูมิภาคท่ีใช้บนเกาะสมุยมาจากน�้ำในพรุธรรมชาติ ในขณะท่ีสถานประกอบโดยเฉพาะธุรกิจด้านโรงแรมหลายท่ี นอกจากการใช้น้�ำจากการประปาส่วนภูมิภาคแล้ว ยังมีการใช้ การใช้น้�ำและการยอมรับการน�ำนำ้� กลบั มาใช้ใหม่ น้�ำบาดาลอยู่มาก ซึ่งในอนาคตหากไม่มีการจัดการอย่างถูกวิธี จากแบบสอบถามในเบอ้ื งตน้ จากชมุ ชน จำ� นวน 32 ราย จึงมีความเป็นไปได้ท่ีน้�ำบาดาลท่ีมีอยู่อย่างจ�ำกัด อาจเกิดการ น้�ำส่วนใหญ่ท่ีประชาชนใช้ในการอุปโภค บริโภคในบ้าน รกุ ลำ้� จากนำ�้ ทะเล ทำ� ใหเ้ กดิ การสญู เสยี ทรพั ยากรนำ้� ใตด้ นิ อยา่ ง (ประกอบอาหาร ล้างรถ รดน�้ำต้นไม้) เป็นน�้ำบาดาล คิดเป็น ถาวรในอนาคตได้ ร้อยละ 50 ในขณะที่ ร้อยละ 92 ดม่ื นำ้� จากน้�ำบรรจขุ วด แมว้ ่า ดังนั้น ควรที่จะมีการสงวนรักษาทรัพยากรน้�ำ โดยการ รอ้ ยละ 83 ของประชาชนสว่ นใหญไ่ มม่ กี ารนำ� นำ้� กลบั มาใชใ้ หม่ เพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการน้�ำเสีย การรวบรวมน�้ำเสียเพื่อ แต่ก็แสดงความเห็นดว้ ย ท่ีจะมกี ารนำ� น�้ำกลับมาใชใ้ หม่คดิ เปน็ มาบ�ำบัดให้ครอบคลุมมากข้ึน รวมทั้ง น�้ำท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้ว ร้อยละ 67 โดยที่ประชาชนมีการยอมรับที่จะน�ำน้�ำเสียที่ผ่าน ควรมีการหมุนเวียนน้�ำกลับมาใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม การบำ� บดั แลว้ จากการซกั ลา้ งและอาบนำ้� มาใชใ้ นการรดนำ้� ตน้ ไม้ นอกจากน้ี การรณรงคใ์ หค้ วามรู้ สรา้ งจติ สำ� นกึ และการตระหนกั ลา้ งรถ เปน็ นำ�้ ชกั โครก และทำ� ความสะอาดพน้ื ทงั้ นี้ รอ้ ยละ 71 ถึงการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ควรได้รับความร่วมมือจากทุกภาค มีการยอมรับในคุณภาพน้�ำท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้วก่อนน�ำมาใช้ ส่วน ซึ่งถือเป็นตัวขับเคลื่อนส�ำคัญเพ่ือให้เกิดการส่งเสริมและ ควรมคี ุณสมบัติเทยี บเทา่ กับนำ้� ประปา รักษาคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ รูปธรรมและยัง่ ยืน เอกสารอ้างองิ ISSN:1686-1612 รายงานการศึกษาโครงการพฒั นาแหลง่ น�้ำเพือ่ สนับสนุนการทอ่ งเท่ียวบนเกาะสมยุ เกาะพะงัน และเกาะเต่า จ.สรุ าษฎร์ธานี (ระยะเวลาการศึกษา 6 ต.ค. 2549 – 28 มี.ค. 2551) กรมทรพั ยากรนำ�้ บาดาล โครงการศึกษาความเหมาะสมในการกอ่ สร้างระบบกักเก็บน�ำ้ ใตด้ ิน เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี Research No.29 january 2015
เร่ืองเด่นประจำ�ฉบับ 5 ผลการบ�ำบดั นำ้� เสยี จากหอพักโดยระบบบ�ำบัดนำ�้ เสีย แบบติดกับที่ (Johkasou) สุดา อทิ ธิสภุ รณร์ ัตน์ สุเทียบ ศรลี าไชย ชวลา เสยี งลำ้� และอนุพงษ์ ปณุ โณทก จากผลการด�ำเนินงานการบ�ำบัดน�้ำเสียจากหอพัก ระบบบำ� บดั นำ้� เสยี แบบตดิ กบั ที่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก ของศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มดว้ ยระบบบงึ ประดษิ ฐ์ Japan International Cooperation Agency (JICA) ใหก้ บั โครงการ และระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบติดกับท่ีโจคัตซึ ท่ีได้ลงในวารสาร The project for capacity building of government authorities Green Research ปที ่ี 9 ฉบับที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 นน้ั ระบบ on decentralized wastewater treatment in Mekong region ท้ังสองแบบ สามารถท�ำการบ�ำบัดน้�ำเสียจากหอพักได้อย่าง เพื่อใช้เป็นระบบสาธิตการบ�ำบัดน�้ำเสียให้กับการอบรม มีประสิทธิภาพ หลังจากด�ำเนินการมาเกือบ 3 ปี ในเล่มนี้ นานาชาติในประเทศลุ่มแม่น้�ำโขง ซึ่งได้ท�ำการติดตั้งเม่ือ จึงได้ขอเสนอผลการบ�ำบัดน�้ำเสีย ปัญหาที่พบ และข้อแนะน�ำ ปี 2554 ระบบบ�ำบัดน้�ำเสียแบบติดกับท่ีน้ี เป็นชนิดการเติม ในการดูแล บ�ำรุงรักษาระบบ โดยเน้นผลการศึกษาของระบบ อากาศแบบมีตัวกลางยึดเกาะ สามารถรองรับน้�ำเสียได้วันละ บำ� บดั นำ�้ เสยี แบบตดิ กบั ท่ี เพอ่ื ถา่ ยทอดประสบการณจ์ ากการใช้ 15 ลูกบาศก์เมตร แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ นด้วยกนั คอื 1. ถังแยก จรงิ ใหก้ บั ผทู้ สี่ นใจ ใหส้ ามารถนำ� ขอ้ มลู ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ระบบที่ ตะกอน (Solid separation tank) 2. ถงั กรองไรอ้ ากาศ (Anaerobic มีความคล้ายคลงึ กนั ต่อไปได้ filter part) 3. ถังเติมอากาศ (Fixed film aeration part) 4. ถงั ตกตะกอน (Ledimentation tank) ตวั กรองภายในISSN:1686-1612 Research No.29 january 2015
6 เรอ่ื งเด่นประจำ�ฉบบั หลังจากเดนิ ระบบเป็นเวลาเกือบ 3 ปี สามารถสรุปคา่ แตล่ ะดชั นวี เิ คราะหค์ ุณภาพน้�ำไดด้ งั ตาราง หมายเหต:ุ 1จำ� นวน 19 ตัวอย่าง 2จ�ำนวน 14 ตัวอย่าง และจากผลการติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบอย่าง ไม่ได้มีปัญหาเกิดข้ึน พบว่า การบ�ำบัดสารอินทรีย์ในรูปของ ต่อเนือ่ ง พบว่า ประสทิ ธิภาพในการบำ� บัดของระบบลดลง อัน บโี อดี และตะกอนแขวนลอยมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ รอ้ ยละ 85 เนอื่ งมาจากสาเหตหุ ลักๆ 2 ประการด้วยกัน ดังน้ี 1. หลังจากเดินระบบมาเกอื บ 1 ปี ประสิทธิภาพในการ บ�ำบัดสารอินทรีย์ในรูปของบีโอดีลดลงจากร้อยละ 90 เหลือ เพียงร้อยละ 23 เท่าน้ัน สาเหตุหลักมาจากการสะสมตะกอน ในระบบมากเกนิ ไป หลงั จากทำ� การสบู ตะกอนในระบบทงิ้ ระบบ ก็ค่อยๆ กลับสู่สภาวะปกติโดยประสิทธิภาพการบ�ำบัดเพ่ิมข้ึน มาตามล�ำดบั ระบบบ�ำบัดนำ�้ เสียแบบติดกบั ที่ (Johkasou) 2. หลังจากน้ัน ท�ำการติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพ ระบบทุก 6 เดือน จนตรวจพบว่าระบบมีประสิทธิภาพในการ บ�ำบัดลดลงอีกคร้ังเม่ือเดินระบบอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาเกือบ 3 ปี สาเหตุหลักของการทร่ี ะบบไมส่ ามารถท�ำการบำ� บัดน้ำ� เสยี ลักษณะน�้ำเสยี และน้ำ� ที่ผ่านการก�ำจดั ออกจากถัง Johkasou ได้ดีเท่าที่ควรนี้ พบว่า ตัวกระจายน�้ำเสียในถังกรองไร้อากาศ นอกจากน้ี จากการได้ติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพ อดุ ตนั เนอ่ื งจากระบบฯ ไมไ่ ดต้ ดิ ตงั้ ตะแกรงดกั ขยะทป่ี นเปอ้ื นมา การบ�ำบัดของระบบฯ พบว่า ระบบและอุปกรณ์ต่างๆ ควรท่ี กบั นำ�้ เสยี เมอื่ เกดิ การอดุ ตนั จงึ ทำ� ใหน้ ำ้� เสยี ไหลลน้ เขา้ ไปในถงั จะมีการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกปี (Annual inspection) และ เติมอากาศโดยไม่ได้ผ่านการบ�ำบัดจากส่วนถังกรองไร้ ควรท่ีจะมีการสูบตะกอนทิ้งอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ อากาศ ประกอบกับปั้มเติมอากาศในถังเติมอากาศรั่ว ท�ำให้ จากการทท่ี ่อกระจายนำ�้ เสียเกดิ การอดุ ตนั น้นั วิธกี ารแกป้ ญั หา ประสิทธิภาพในการย่อยสลายสารอินทรีย์ลดลง ซึ่งหลังจาก ทดี่ ที ส่ี ดุ จงึ ควรทจ่ี ะมกี ารตดิ ตงั้ ตะแกรงดกั เศษขยะทง้ั แบบหยาบ แก้ไขปญั หาดังกลา่ วแลว้ ระบบก็ค่อยๆ กลับสภู่ าวะปกติ และแบบละเอียด (Coarse และ Fine screening) ที่ปนเปื้อน อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพการบ�ำบัด มากับน้ำ� เสียก่อนทีจ่ ะเขา้ สูร่ ะบบ ของถังบ�ำบัดน�้ำเสียแบบติดกับท่ีโจคัตซึ ในสภาวะปกติที่ระบบ Research No.29 january 2015 ISSN:1686-1612
เรอ่ื งเดน่ ประจ�ำ ฉบบั 7 การทดสอบประสทิ ธิภาพ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้�ำเสีย ของระบบทรายกรองชา้ สุเทยี บ ศรีลาชยั จติ ตมิ า จารุเดชา ชัชชัย โทปัญญา ชวลา เสยี งลำ้� อนุพงษ์ ปณุ โณทก และ ปญั จา ใยถาวร เทคโนโลยีในการบ�ำบัดหรือปรับปรุงคุณภาพน้�ำเสียมีหลากหลายวิธีการขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ลักษณะของน�้ำเสีย คา่ ใชจ้ ่ายในการตดิ ตัง้ หรอื บ�ำรงุ รกั ษา สภาพภมู ิอากาศหรือภมู ิประเทศ รวมท้ังทักษะหรือความยากงา่ ยในการดูแลและเดินระบบ ของเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ จึงไม่สามารถท่ีจะระบุได้อย่างชัดเจนว่าระบบใดดีหรือเหมาะสมกว่าระบบใด ดังน้ัน การทดสอบ หรอื คน้ หาเทคโนโลยที เี่ หมาะสมสำ� หรบั การบำ� บดั หรอื ปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ�้ เสยี ชมุ ชน เพอื่ ใชเ้ ปน็ ทางเลอื กแกห่ นว่ ยงานหรอื องคก์ ร ทเี่ กย่ี วขอ้ งนน้ั สามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบในการตดั สนิ ใจไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ โดยเฉพาะในสว่ นของคา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ตงั้ และบำ� รงุ รกั ษา ท่ีน้อย ดูแลรักษาง่าย ลดการใช้พื้นท่ีและประหยัดพลังงาน และท่ีส�ำคัญที่สุดก็คือสามารถที่จะบ�ำบัดหรือปรับปรุงคุณภาพน�้ำ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งระบบทรายกรองช้า (Slow sand filtration) เป็นระบบปรับปรุงคุณภาพน้�ำอีกระบบหน่ึงที่มีการใช้มา อยา่ งยาวนาน ขอ้ ดขี องระบบทรายกรองชา้ คอื เปน็ เครอ่ื งกรองทใี่ ชเ้ ครอื่ งจกั รกลนอ้ ยไมต่ อ้ งใชส้ ารเคมแี ละไมต่ อ้ งมกี ระบวนการ สร้างและรวมตะกอน มีประสิทธิภาพในการกรองจุลินทรีย์ได้ประมาณร้อยละ 80 ถึง 99 แต่มีข้อจ�ำกัดท่ีความขุ่นของน้�ำ ทเ่ี ขา้ เครอ่ื งกรองตอ้ งตำ�่ และตอ้ งใชพ้ นื้ ทใี่ นการกอ่ สรา้ งมาก แตข่ อ้ มลู สำ� หรบั การใชร้ ะบบทรายกรองชา้ เพอ่ื กรองนำ�้ เสยี โดยตรงนนั้ ยังไม่มีข้อมูลท่ีชัดเจนมากนัก การทดสอบประสิทธิภาพของระบบทรายกรองช้าในครั้งนี้ จึงเป็นอีกแหล่งข้อมูลหนึ่งท่ีสามารถ น�ำไปประกอบการตัดสนิ ใจและด�ำเนนิ การไดเ้ ป็นอย่างดี ขน้ั ตอนและวิธกี ารศึกษา เกิดเป็นชั้นเมือกบนผิวทราย ชั้นเมือกดังกล่าวจะท�ำหน้าท่ี 1. ออกแบบและจัดสร้างระบบทรายกรองช้า (Slow เสมือนชั้นกรองที่ดักจับความสกปรกในน้�ำ ระยะเวลาของ sand filtration) ขนาดพ้ืนที่ส�ำหรับการกรอง 6 ตารางเมตร รอบการใช้งานของระบบข้ึนอยู่กับความสกปรกของน้�ำดิบและ ณ ระบบปรับปรุงคุณภาพน�้ำเสียของเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ อัตราการกรอง เมอื่ ระบบเกดิ การอุดตนั จะท�ำความสะอาดโดย เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้�ำเสียที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วจากบ่อที่ 2 การระบายน�้ำออกจากถังแล้วท�ำการขูดลอกผิดหน้าทรายออก ซงึ่ เป็นบ่อเติมอากาศ เปรียบเทียบกับประสิทธิภาพของบ่อท่ี 3 ซึ่งลักษณะของระบบทรายกรองช้าท่ีท�ำการทดสอบ แสดงใน ซ่ึงเป็นบ่อผ่ึงของระบบเดิม โดยระบบทรายกรองช้าอาจเรียก รปู ที่ 1 และ 2 และค่าต่างๆ ท่ใี ชอ้ อกแบบส�ำหรบั การทดสอบ ว่าระบบกรองชีวภาพ (Bio Filtration) เนื่องจากกระบวนการ เช่น ความหนาของชั้นทราย ความหนาของช้ันกรวด ระดับน้�ำ ในการกำ� จดั ความขนุ่ และความสกปรกในนำ้� ตอ้ งอาศยั แบคทเี รยี เหนือชั้นทราย เปรียบเทียบกับค่าแนะน�ำของแหล่งอ่ืนๆ และจุลชีพในการดักจับความสกปรกในน้�ำเพื่อการเจริญเติบโต แสดงในตารางท่ี 1 Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
ISSN:1686-16128 เร่อื งเดน่ ประจ�ำ ฉบับ รปู ท่ี 1 มมุ มองดา้ นบนของระบบทรายกรองช้า รูปท่ี 2 มมุ มองด้านข้างของระบบทรายกรองช้า Research No.29 january 2015
เรื่องเด่นประจำ�ฉบบั 9 ตารางท่ี 1 องคป์ ระกอบและคา่ ออกแบบส�ำหรบั ระบบทรายกรองชา้ ทม่ี กี ารแนะน�ำและระบบทรายกรองชา้ ทที่ ดสอบ องคป์ ระกอบ เกรยี งศักด์ิ อุดมสนิ โรจน์ ทวศี ักดิ์ วังไพศาล ม่นั สนิ ตณั ฑุลเวศม์ ระบบที่ทดสอบ ความหนาของทรายด้านบน (เมตร) 0.6 – 1.2 1.0 – 1.4 0.6 – 1.2 0.6 – 0.8 ความหนาของกรวดดา้ นลา่ ง (เมตร) 0.30 0.3 – 0.5 0.3 – 0.5 0.3 – 0.5 ระดับน้ำ� เหนือชั้นทราย (เมตร) 0.9 – 1.6 1.0 – 1.5 1.0 – 1.5 0.2 – 0.8 อัตราการกรอง (ลบม./ตรม.ชม.) 0.13 – 0.60 0.13 – 0.25 0.1 – 0.4 0.10 – 0.5 รอบการท�ำความสะอาด (วนั ) 20 - 180 20 - 60 - 30 - 120 ผวิ หนา้ ทรายทข่ี ดู ออก (ซม.) 5 - 10 5-7 - 5 – 10 2. หลงั จากตดิ ตง้ั และทดสอบเดนิ ระบบกระทง่ั ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นสภาวะปกตแิ ลว้ จงึ ไดด้ ำ� เนนิ การทดสอบประสทิ ธภิ าพ โดย ทำ� การเก็บตวั อยา่ งนำ�้ จาก 3 จดุ คอื จดุ ที่ 1 จากบอ่ ที่ 2 ซึ่งเปน็ บอ่ เติมอากาศ มีพน้ื ทป่ี ระมาณ 10,000 ตารางเมตร ลึกประมาณ 2.5 เมตร และรับน�้ำเสียทีผ่ า่ นจากบอ่ ที่ 1 ประมาณวนั ละ 5,000 – 7,000 ลกู บาศกเ์ มตร ใช้เป็นตัวแทนของน�้ำกอ่ นการทดสอบ จุดท่ี 2 น�้ำทผี่ ่านจากบ่อท่ี 3 ซึ่งเปน็ บ่อผึ่ง มพี ื้นทีใ่ กล้เคยี งกบั บอ่ ที่ 2 ใชเ้ ป็นตวั แทนของระบบเดิมส�ำหรบั เปรยี บเทียบ และจุดที่ 3 น้�ำที่ผ่านการกรองจากชดุ ทรายกรองช้าทีต่ ดิ ตงั้ ใหม่ รายละเอียดดังแสดงในรูปท่ี 4 3. ทำ� การเกบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ จากทง้ั 3 จดุ จำ� นวน 5 ครงั้ คอื ครง้ั ท่ี 1 วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2557 โดยยงั ไมไ่ ดเ้ รมิ่ เดนิ ระบบทราย กรองชา้ ครั้งที่ 2 วันท่ี 29 พฤษภาคม 2557 คร้งั ที่ 3 วนั ท่ี 26 มิถนุ ายน 2557 ครงั้ ท่ี 4 วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2557 และครงั้ ที่ 5 วนั ท่ี 4 กนั ยายน 2557 เพอื่ วเิ คราะหด์ ชั นพี นื้ ฐาน จำ� นวน 7 ชนดิ ประกอบดว้ ย ซโี อดี บโี อดี ตะกอนแขวนลอย ฟอสฟอรสั ทง้ั หมด ไนโตรเจนในรปู ทเี คเอน็ ไนไตรท์ และไนเตรท และแบคทเี รยี กลุม่ โคลฟิ อรม์ ทั้งหมด รปู ที่ 3 ทดสอบเดินระบบ รูปท่ี 4 องคป์ ระกอบของระบบบ�ำบัดน้ำ� เสียเทศบาลเมอื งบรุ ีรัมย์ Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
10 เร่อื งเดน่ ประจ�ำ ฉบบั ผลการด�ำเนนิ งาน ผลการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างน้�ำจากแหล่งต่างๆ ดังแสดงในตารางท่ี 2 ส่วนประสิทธิภาพในการบ�ำบัดของระบบ ทรายกรองช้าเปรียบเทยี บกับบ่อท่ี 3 และผลการทดสอบทางสถิตโิ ดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป excel ในฟังกช์ ั่น t-Test รายละเอียด ดงั ตารางท่ี 3 ตารางท่ี 2 ค่าเฉลยี่ ของดัชนีตา่ งๆ ท่วี เิ คราะห์จากระบบทที่ �ำการทดสอบ ดัชนี บอ่ ท่ี 2 ทรายกรองช้า บ่อที่ 3 (บอ่ ผง่ึ ) มิลลกิ รมั ตอ่ ลิตร ซีโอดี 43.93 ±8.96 23.82 ±2.98 40.75 ±9.24 บโี อดี 36.71 ± 7.75 15.50 ± 8.21 31.84 ± 16.29 ตะกอนแขวนลอย 22.60 ± 6.77 8.35 ± 4.32 13.84 ± 3.03 ฟอสฟอรัสท้งั หมด 0.68 ± 0.27 0.15 ± 0.06 0.59 ± 0.19 ทเี คเอ็น (TKN) 14.43 ± 14.91 2.90 ± 1.15 4.66 ± 2.62 ไนไตรท์ (NO2-) 1.70 ± 1.01 0.86 ± 1.18 1.29 ± 0.77 ไนเตรท (NO3-) 23.47 ± 7.73 6.26 ± 4.39 28.11 ± 6.41 ตารางท่ี 3 แสดงประสทิ ธิภาพเฉลยี่ ในการบ�ำบัดดชั นตี า่ งๆ และคา่ t-test เปรยี บเทียบของทง้ั สองระบบ ดชั นี ประสทิ ธภิ าพเฉลีย่ ในการบ�ำบัด (รอ้ ยละ) p one-tail* บอ่ ที่ 3 (บ่อผ่ึง) ทรายกรองชา้ ซีโอดี 7.44 ± 5.99 47.07 ±7.62 0.001961 บีโอดี 16.85 ± 25.27 57.09 ± 23.17 0.010754 ตะกอนแขวนลอย 35.26 ± 19.48 61.18 ± 18.96 0.033830 ฟอสฟอรัสทัง้ หมด 11.45 ± 9.52 72.75 ± 19.83 0.000654 ทีเคเอ็น (TKN) 46.51 ± 27.90 64.08 ± 25.52 0.236976 ไนไตรท์ (NO2-) 17.05 ± 34.74 26.11 ± 82.33 0.396821 66.32 ± 23.47 0.000253 ไนเตรท (NO3-) - 24.20 ± 19.87 * p one-tail คอื ค่าทางสถติ ทิ ีค่ ำ� นวณไดโ้ ดยใชโ้ ปรแกรมสำ� เร็จรูป excel Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
เรอ่ื งเด่นประจำ�ฉบับ 11 การทดสอบครัง้ นก้ี �ำหนดค่าความเชื่อมั่นทางสถติ ทิ ร่ี อ้ ยละ 95 หรอื αเท่ากบั 0.05 ดงั น้นั หากค่า p one-tail ใดท่ีคำ� นวณ ได้แล้วมีค่าน้อยกว่าαหรือ 0.05 แสดงว่าประสิทธิภาพในการบ�ำบัดดัชนีน้ันๆ ของระบบทรายกรองช้ามีมากกว่าบ่อผ่ึงอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติ ในขณะท่ีค่า p one-tail ของดัชนีใดท่ีค�ำนวณได้แล้วมีค่ามากกว่า 0.05 แสดงว่าประสิทธิภาพในการบ�ำบัด ของทงั้ สองระบบไม่มคี วามแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสำ� คญั ทางสถิติ ซ่งึ จากตารางที่ 3 พบวา่ คา่ p one-tail ของ ซโี อดี บีโอดี ตะกอน แขวนลอย ฟอสฟอรสั ทง้ั หมด ทเี คเอน็ ไนไตรท์ และไนเตรท มคี า่ นอ้ ยกวา่ คา่ αหรอื 0.05 จงึ สรปุ ไดว้ า่ คา่ เฉลยี่ ของประสทิ ธภิ าพ ในการบ�ำบัดดัชนีดังกล่าวของระบบทรายกรองช้ามีประสิทธิภาพดีกว่าบ่อผึ่งอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีความเช่ือม่ันร้อยละ 95 ส่วนประสิทธิภาพในการบ�ำบัดทีเคเอ็น และไนไตรท์ของท้ังสองระบบไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติเน่ืองจาก ค่า p one-tail ที่คำ� นวณไดแ้ ล้วมีคา่ มากกวา่ 0.05 ส�ำหรบั แบคทเี รียในกลุม่ โคลฟิ อร์มทงั้ หมด (Total coliform) พบว่าคา่ เฉล่ียและประสิทธภิ าพเฉลีย่ ในการบ�ำบัดของทงั้ สอง ระบบทที่ ดสอบ โดยการคำ� นวณประสทิ ธภิ าพของแบคทเี รยี ในกลมุ่ โคลฟิ อรม์ ทงั้ หมดไดน้ ำ� เสนอในรปู log เพอื่ ใหม้ คี วามเหมาะสม กับลักษณะดังกล่าว รายละเอียดดังแสดงในตารางท่ี 4 และ 5 ตามลำ� ดบั ตารางท่ี 4 คา่ เฉลีย่ ของโคลิฟอร์มท้ังทีว่ เิ คราะห์จากระบบทที่ �ำการทดสอบ ดชั นี บอ่ ที่ 2 ทรายกรองชา้ บอ่ ที่ 3 (บอ่ ผ่งึ ) CFU/mL 1.11E+03 ± 6.34E+02 โคลิฟอร์มท้ังหมด 6.71E+03 ± 4.18E+03 1.14E+03 ± 1.71E+03 ตารางที่ 5 แสดงประสิทธิภาพเฉลีย่ ในการบ�ำบัดโคลิฟอร์ท้ังหมดและค่า t-test เปรยี บเทียบของทง้ั สองระบบ ดชั นี ประสิทธภิ าพเฉลี่ยในการบ�ำบดั p one-tail* บ่อที่ 3 (บอ่ ผึ่ง) ทรายกรองช้า โคลิฟอรม์ ท้ังหมด 0.76 ± 0.35 log 1.03 ± 0.63 log 0.129299 Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
ISSN:1686-161212 เรื่องเด่นประจ�ำ ฉบับ จากการทดสอบทางสถิติโดย t-Test เพ่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการบ�ำบัดโคลิฟอร์มในตารางท่ี 5 โดยก�ำหนด ค่าความเชือ่ มน่ั ทางสถติ ิท่ีร้อยละ 95 หรอื αเทา่ กับ 0.05 พบว่าค่า p one-tail เทา่ กบั 0.129299 ซึง่ มากกวา่ คา่ αหรอื 0.05 จึงสรปุ ไดว้ า่ ระบบทัง้ สองมปี ระสิทธภิ าพในการบำ� บดั โคลฟิ อรม์ ท้งั หมดไมแ่ ตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสำ� คญั รูปท่ี 5 ทำ� การขดู ลอกหน้าทรายเมือ่ ระบบเกดิ การอดุ ตัน ส่วนการดูแลและบ�ำรุงรักษาระบบทรายกรองช้าน้ัน เม่ืออัตราการกรองลดลงจะต้องท�ำการขูดลอกหน้าทรายออกแล้วมี การนำ� ทรายมาเตมิ เปน็ ระยะ โดยระบบทท่ี ำ� การทดสอบในครงั้ น้ี พบวา่ เมอ่ื ทำ� การกรองไปแลว้ ประมาณ 60 – 120 วนั อตั ราของ การกรองจะลดตำ�่ กวา่ 0.1 ลบม./ตรม.ชม. จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การขูดหน้าทรายออกประมาณ 5 – 10 เซนตเิ มตร และเติมทรายใหม่ เพอ่ื ให้ประสทิ ธิภาพการกรองเหมอื นเดมิ ซง่ึ ระยะในการอุดตันจะข้ึนอยู่กับความสกปรกของน�้ำในการกรองเป็นหลัก สรุปผลการด�ำเนินงาน ระบบทรายกรองชา้ (Slow sand filtration) เปน็ อกี ระบบปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ้� ทส่ี ามารถจะนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ซงึ่ ผลจากการ ทดสอบเพอ่ื เปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพกบั บอ่ ผง่ึ เดมิ ทใี่ ชอ้ ยู่ พบวา่ ประสทิ ธภิ าพในการบ�ำบดั ความสกปรกในน้�ำเสยี ในรปู ของ ซโี อดี บโี อดี ตะกอนแขวนลอย ฟอสฟอรสั ทง้ั หมด และไนเตรท มปี ระสทิ ธภิ าพดกี วา่ ระบบเดมิ ทเ่ี ปน็ เพยี งบอ่ ผง่ึ โดยเฉพาะความสกปรก ในรปู ของไนเตรททบี่ อ่ ผง่ึ เดมิ ไมส่ ามารถบำ� บดั ไดเ้ ลย สำ� หรบั ประสทิ ธภิ าพในการบำ� บดั ไนโตรเจนในรปู ทเี คเอน็ ไนไตรท์ และโคลฟิ อรม์ ทั้งหมดซึ่งเป็นหนึ่งในดัชนีของแบคทีเรียนั้น พบว่าระบบท้ังสองมีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกัน โดยการดูแลและบ�ำรุงรักษาระบบ ทรายกรองชา้ ดงั กลา่ วจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารขดู หนา้ ทรายออกและเตมิ ทรายใหมเ่ ปน็ ระยะเพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพการบ�ำบดั อยา่ งสมำ่� เสมอ เอกสารอ้างองิ เกรียงศกั ดิ์ อุดมสินโรจน,์ 2542. วิศวกรรมประปา. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2, มิตรนราการพมิ พ,์ กรงุ เทพฯ. ทวีศกั ด์ิ วังไพศาล, 2554. วิศวกรรมการประปา. พิมพค์ รั้งที่ 1, สำ� นกั พมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. ม่นั สิน ตัณฑลุ เวศม์, 2532. วิศวกรรมการประปา เล่ม 1และ 2. ภาควชิ าวิศวกรรมส่ิงแวดลอ้ ม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. Research No.29 january 2015
ISSN:1686-1612 ติดตามเฝ้าระวัง 13 ศภุ นชุ รสจนั ทร์ สุธีระ บุญญาพิทกั ษ์ เคร่ืองถ่ายเอกสารเป็นอุปกรณ์ส�ำนักงานท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายในส�ำนักงานทั่วไป แต่จากการศึกษาท่ีผ่านมาพบว่า เครื่องถ่ายเอกสารก�ำลังปฏิบัติงานในข้ันตอนการหลอมหมึกพิมพ์ให้ติดกับกระดาษโดยใช้ความร้อน จะมีสารอินทรีย์ระเหย ง่ายบางชนิดในกลุ่มของไฮโดรคาร์บอน ได้แก่ เบนซีน โทลูอีน เอทธิลเบนซีน ไซลีน และสไตรีน ที่ปลดปล่อยออกมาใน ปริมาณสูง ดังน้ันผู้ปฏิบัติงานเก่ียวกับการถ่ายเอกสารหรือผู้ที่มีเคร่ืองถ่ายเอกสารอยู่ในห้องท�ำงาน จึงมีโอกาสได้รับสัมผัสกับ สารอินทรีย์ระเหยง่ายกลุ่มน้ีในปริมาณสูงอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว(ฉัตรชัย, 2552) การศึกษาเก่ียวกับการประเมินความเส่ียงต่อสุขภาพ จากการได้รับสัมผัสสารมลพิษจากเคร่ืองถ่ายเอกสารยังมีไม่มากนัก ในประเทศไทย ดงั นนั้ ผศู้ กึ ษาสนใจในเรอื่ งดงั กลา่ ว จงึ ไดท้ ำ� การศกึ ษาโดยคดั เลอื กรา้ นถา่ ยเอกสารทเี่ ปน็ ตวั แทนในการเกบ็ ตวั อยา่ ง เพอื่ หาความเขม้ ขน้ ของสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยทงั้ 5 ชนดิ ดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ และนำ� คา่ ความเขม้ ขน้ สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยทงั้ 5 ชนดิ ไปใช้ในการประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพของพนกั งานในรา้ นถา่ ยเอกสาร รปู ท่ี 1 เครือ่ งถ่ายเอกสาร Research No.29 january 2015
14 ติดตามเฝา้ ระวงั ข้นั ตอนการด�ำเนินงาน หลอดเก็บตวั อย่าง Carbopack B 1. คดั เลอื กรา้ นถา่ ยเอกสาร เพอื่ เปน็ ตวั แทนในการเกบ็ ตวั อยา่ งสารอนิ ทรร์ ะเหยงา่ ย จำ� นวน 3 รา้ น ภายในมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม ทำ� การ เกบ็ ตวั อยา่ งทง้ั แบบบคุ คล และแบบพน้ื ที่ ในชว่ งเวลาทแี่ ตกตา่ งกนั 3 ช่วง ได้แก่ ช่วงการเรียนการสอนปกติ ช่วงก่อนสอบ และช่วง เปิดภาคการศึกษาใหม่ โดยมีระยะเวลาการเก็บตัวอย่างทั้งส้ิน 8 ชว่ั โมง ตลอดระยะเวลาการท�ำงานของพนกั งาน ซงึ่ ใชว้ ธิ กี ารเกบ็ ตัวอย่างแบบแพสซีฟ ดว้ ยหลอดเก็บตวั อย่างชนดิ Carbopack B 2. เก็บตวั อยา่ งแบบบคุ คล การเก็บตัวอยา่ งสารอินทรีย์ระเหยงา่ ยแบบบคุ คล ท�ำโดยการ รปู ที่ 2 การเก็บตัวอย่าง เหนบ็ หลอดเกบ็ ตวั อยา่ งอากาศไวท้ ปี่ กเสอ้ื ของพนกั งาน เปน็ ระยะเวลา 8 ชวั่ โมง ตลอดระยะเวลา แบบบคุ คล การทำ� งานของพนกั งานเมอ่ื ครบตามเวลาทก่ี �ำหนดทำ� การปดิ หลอดเกบ็ ตวั อยา่ งดว้ ยฝาทองเหลอื ง จากน้ันเก็บหลอดตัวอย่างในถุงซิปล็อคแล้วน�ำมาเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ระหว่างรอ วเิ คราะห์สามารถเกบ็ ตัวอยา่ งได้ไม่เกนิ 30 วนั 3. เก็บตวั อยา่ งแบบพนื้ ที่ การเก็บตัวอยา่ งสารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ยในร้านถา่ ยเอกสารแบบ พน้ื ท่ี ทำ� โดยการแขวนหลอดเกบ็ ตวั อยา่ งอากาศไวท้ จ่ี ดุ กงึ่ กลางของรา้ นทงั้ ในแนวดงิ่ และแนวนอน เปน็ ระยะเวลา 8 ชวั่ โมง ตลอดระยะเวลาการเปดิ บรกิ าร เมอื่ ครบตามกำ� หนดเวลา ทำ� การปดิ หลอด เกบ็ ตวั อยา่ งดว้ ยฝาทองเหลอื ง จากนน้ั เกบ็ หลอดตวั อยา่ งในถงุ ซปิ ลอ็ คแลว้ นำ� มาเกบ็ ไวท้ อี่ ณุ หภมู ิ 4 องศาเซลเซยี ส ระหวา่ งรอวิเคราะหส์ ามารถเก็บตัวอย่างไดไ้ มเ่ กนิ 30 วัน AB C รปู ท่ี 3 การเก็บตัวอย่างแบบพ้ืนที่ในรา้ น A B และ CISSN:1686-1612 Research No.29 january 2015
ตดิ ตามเฝ้าระวัง 15 4.การประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพของพนกั งาน เปน็ ไปตามวธิ ีการของ US EPA (1989) โดยประเมนิ ทั้งความเส่ยี ง ต่อการก่อมะเร็ง (Cancerrisk) และความเสีย่ งตอ่ การไม่ก่อมะเรง็ (Non-cancerrisk) ดังสมการต่อไปน้ี Cancer risk = LADD x SF Non-cancer risk = ADD / ปRรfCมิ าณสารก่อมะเรง็ และสารก่อมะเรง็ เฉลีย่ ท่ไี ดร้ บั ตอ่ วนั โดยท่ี LADD และ ADD คอื ตามล�ำดับ; มก./ลบ.ม. AโSคด่าFvยeLคทrAaอื ี่ gCDSeDคlodือแpaลeiคlะyfวคaาic่าnมttoAเaขrDk;้มeD(ขม้น(กสmข.า/gอมล/งาบmสร.3มาถ)รค.)=ใ-�ำ1นแนCอลวาะณกxRาไดศfCจ้ E(ามคTกกือสx./มARลEกTeบFาfe.รมxre.)nEEcDeT concentration; มก./ลบ.ม. คอื เวลาในการสมั ผัสต่อหน่วยเวลา (ชม./วัน) EF คอื ความถีใ่ นการไดร้ ับสมั ผสั (วนั /ปี) ED คอื ชว่ งเวลาการได้รับสมั ผสั (ปี) AT คอื เวลาเฉลยี่ (ปี) สำ� หรับสารไม่ก่อมะเร็ง AT = ED × 365 (วนั /ปี) และส�ำหรับสารกอ่ มะเร็ง AT = 70 years × 365 (วนั /ปี) ผลการศกึ ษา 1. ระดบั สารอนิ ทรีย์ระเหยง่ายแบบบุคคล ผลการศกึ ษาการเปรยี บเทยี บความเขม้ ขน้ ของสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ยภายในรา้ นถา่ ยเอกสารจำ� นวน 3 รา้ น ตลอดระยะเวลา การเปดิ ใหบ้ รกิ าร 8 ชว่ั โมง ชว่ งทมี่ กี ารเรยี นการสอนปกติ ชว่ งกอ่ นสอบ และชว่ งเปดิ ภาคการศกึ ษาใหมๆ่ พบวา่ โทลอู นี เปน็ สาร ที่มคี วามเข้มข้นสูงท่สี ุดเมอื่ เปรยี บเทียบกับสารตัวอื่นๆ ดังแสดงในรูปท่ี 4 รูปท่ี 4 แสดงความเข้มขน้ สารสารอินทรียร์ ะเหยงา่ ย แบบบคุ คลทั้ง 3 ร้าน ใน 3 ช่วงเวลาISSN:1686-1612 2. ระดบั สารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ยแบบพ้ืนท่ี ผลการศกึ ษาความเข้มข้นของสารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ยภายในรา้ นถ่ายเอกสารที่ทำ� การศึกษา จำ� นวน 3 ร้านตลอดระยะเวลา การเปดิ ใหบ้ ริการ 8 ชว่ั โมง แสดงให้เห็น ว่าความเขม้ ข้นของสารอนิ ทรยี ์ระเหยง่ายทัง้ 3 รา้ น จะมีความเข้มข้น ไปในทิศทางเดยี ว กับการตรวจวัดแบบบุคคล โดยโทลูอีนเป็นสารท่ีมีความเข้มข้นสูงท่ีสุดเมื่อเปรียบเทียบกับสารตัวอ่ืน ผลการตรวจวัดแบบพ้ืนที่ เมอื่ เทียบกับแบบบุคคล ดงั แสดงรปู ท่ี 5 รปู ที่ 5 แสดงความเขม้ ขน้ ของสารอนิ ทรีย์ระเหยงา่ ย ระหว่างแบบบคุ คลและแบบพ้ืนที่ Research No.29 january 2015
ISSN:1686-161216 ตดิ ตามเฝา้ ระวัง 3. การประเมินความเสย่ี งตอ่ สุขภาพของพนกั งาน ในการศึกษานี้ได้ท�ำการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารอินทรีย์ระเหยง่าย 5 ชนิด ของพนักงาน ในรา้ นถา่ ยเอกสารจากทง้ั 3 รา้ น จำ� นวนทง้ั หมด 5 คน เปน็ เพศชาย จำ� นวน 1 คน และเพศหญงิ จำ� นวน 4 คน มชี ว่ งอายรุ ะหวา่ ง 21 – 49 ปี โดยผลการประเมินความเสยี่ งพบวา่ พนกั งานร้านถา่ ยเอกสารมคี วามเส่ียงต่อการกอ่ มะเรง็ เทา่ กับ 2 คนต่อแสนคน ซึ่งอยู่ในชว่ ง ของการเปดิ ภาคการศึกษาใหม่ ซึ่งเป็นชว่ งท่ีมกี ารถ่ายเอกสารมากที่สุด และเม่อื พิจารณาค่าความเสยี่ งต่อการไมก่ ่อมะเร็งพบว่า มคี ่าไม่เกนิ 1 ซึ่งเปน็ คา่ ความเสี่ยงของพนกั งานอยูใ่ นระดับทย่ี อมรับได้ สรปุ ผลการศกึ ษา 1. การศึกษาสารอินทรยี ร์ ะเหยงา่ ยภายในร้านถา่ ยเอกสารจ�ำนวน 3 ร้าน ในมหาวิทยาลัยศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจันทร์ ตลอดระยะเวลาการเปิดให้บริการ 8 ชั่วโมง ทั้งแบบบุคคลและแบบพ้ืนที่ในเวลาท่ีร้านเปิดบริการ ในช่วงการเรียน การสอนปกติ ชว่ งกอ่ นสอบ และชว่ งเปดิ ภาคการศกึ ษาใหม่ พบวา่ รา้ นถา่ ยเอกสารทม่ี กี ารระบายอากาศทด่ี ี จะชว่ ยลดความเขม้ ขน้ ของสารอินทรีย์ระเหยง่ายในร้านลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าร้านจะมีขนาดเล็กและมีเคร่ืองถ่ายเอกสารใช้งาน เป็นจ�ำนวนมากก็ตาม ในทางตรงกันข้าม ร้านท่ีมีขนาดใหญ่แต่มีการระบายอากาศท่ีไม่ดีจะท�ำให้เกิดการสะสมของสารอินทรีย์ ระเหยง่ายภายในรา้ น ซ่ึงเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพของพนกั งานเปน็ อย่างยง่ิ 2. การประเมินความเส่ียงต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสกับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในช่วงการเรียนการสอนปกติ ช่วงก่อนสอบ และช่วงเปิดภาคการศกึ ษาใหมๆ่ ของพนกั งานร้านถ่ายเอกสารท้ัง 3 ร้าน มคี า่ ความเสยี่ งตอ่ การกอ่ มะเรง็ เทา่ กับ 2 คนต่อประชากร 1 แสนคน และมีความเส่ียงต่อการไม่ก่อมะเร็งอยู่ในช่วงที่สามารถยอมรับได้ อย่างไรก็ตาม การได้รับสัมผัส สารอินทรียร์ ะเหยงา่ ย แมจ้ ะในปริมาณน้อยแต่หากไดร้ บั เป็นเวลานานกอ็ าจเกดิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพได้ 3. พฤติกรรมการท�ำงานของพนักงานร้านถ่ายเอกสารมีส่วนส�ำคัญในการได้รับสัมผัสกับสารอินทรีย์ระเหยง่าย เนื่องจากพนักงานส่วนใหญ่ไม่สวมถุงมือและหน้ากากป้องกันสารเคมี ผลการศึกษาคร้ังน้ีเป็นเพียงการกล่าวถึงโอกาสเส่ียง ตอ่ การเกดิ โรคมะเรง็ และโรคอน่ื ๆ ซงึ่ พนกั งานรา้ นถา่ ยเอกสารจะเปน็ โรคหรอื ไมเ่ ปน็ นน้ั ขนึ้ อยกู่ บั พฤตกิ รรมในการปอ้ งกนั ตวั เองดว้ ย 4. ส�ำหรับแนวทางในการลดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่าย จากเครื่องถ่ายเอกสารที่สามารถท�ำได้ เช่น การเลือก ใช้หมึกพิมพ์ที่มีส่วนผสมของสารอินทรีย์ระเหยง่ายต่�ำ ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการพัฒนาการผลิตหมึกพิมพ์จากธรรมชาติ โดยการนำ� ปาลม์ มาผสมกบั น้�ำมนั ถ่ัวเหลือง น้�ำมนั พืช รวมถึงผงหนิ สจี ากธรรมชาติ เพื่อทดแทนส่วนผสมของปโิ ตรเลยี ม ซ่ึงเป็น ท่ีมาของสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย สว่ นการลดผลกระทบที่ตวั ผู้รบั ไดแ้ ก่ การสวมถงุ มือและสวมหนา้ กากป้องกันสารเคมีขณะท�ำงาน และการเปลี่ยนหมกึ พิมพ์ หลกี เลีย่ งการไดร้ บั สมั ผัสกบั สารอนิ ทรยี ์ระเหยงา่ ยเป็นเวลานาน เชน่ ลดชวั่ โมงการทำ� งานในแต่ละวนั เป็นตน้ เอกสารอ้างองิ ฉตั รชยั เอกปญั ญาสกลุ . 2552. อนั ตรายจากเครอื่ งถา่ ยเอกสาร. สำ� นกั โรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดลอ้ ม กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . วรรณา เลาวกลุ . 2546. รายงานฉบับสมบูรณ์การศกึ ษาความเสีย่ งตอ่ สุขภาพของประชาชนอนั เนอื่ งมาจากสารอนิ ทรีย์ระเหยงา่ ยจากการจราจร. ศูนย์วิจัยและฝกึ อบรมดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม. ศริ ลิ ักษณ์ สุวรรณวงศ์. 2553. เอกสารการวิเคราะหส์ ถิตงิ านวิจยั . ภาควชิ าคณติ ศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. United Stated Environmental Protection Agency. 1989.Integration Risk Information System. Retrieved March 13, 2012, from http://www. epa.gov/subst/0104.htm United Stated Environmental Protection Agency. 1999.Compendium Method TO – 17 Determination of Volatile Organic Compounds in Ambient Air Using Active Sampling Onto Sorbent Tubes.Retrieved November 25, 2012, from http://www.epa.gov/ttnamtil/files/ambient/ airtox/to-17.pdf Research No.29 january 2015
กา้ วหน้าพฒั นา 17 แนวทางขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจัดการการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศของประเทศไทย ดร.สทุ ธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ ดร.สดุ า อทิ ธสิ ภุ รณร์ ัตน์ การเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียผิวโลก รวมถึงความแปรปรวนของ สภาพดินฟ้าอากาศในช่วงระยะเวลา 100 ปีท่ีผ่านมา เป็นผลมาจาก ภาวะเรือนกระจกในช้ันบรรยากาศ (IPCC, 2007) ส�ำหรับประเทศไทยเอง ก็ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในประเด็นปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิ อากาศและภัยพิบัติดังกล่าว โดยให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีสมาชิกภายใต้ กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) เม่ือเดือนธันวาคม พ.ศ. 2537 และลงนามให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ภายใต้อนุสัญญาฯ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2545 อีกด้วย ถึงแม้ว่าไทย ในฐานะประเทศสมาชิกกลุ่มนอกภาคผนวก (Non-Annex I) จะยังไม่มี พันธกรณีในการลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามพันธสัญญา ที่ระบุไว้ในพิธีสารฯ (UNFCCC, 2014) แต่เนื่องจากไทยเป็นประเทศหน่ึง ที่มีความล่อแหลมและมีแนวโน้มท่ีจะได้รับความรุนแรงจากผลกระทบ ของปญั หา เพมิ่ มากขน้ึ ทกุ ปี อกี ทง้ั ยงั มพี นื้ ฐานความเปน็ ประเทศเกษตรกรรม ทตี่ อ้ งพงึ่ พงิ ความสมบรู ณข์ องทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ดว้ ยเหตนุ ี้ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วน ในการวางแผนด�ำเนินงานสร้างความพร้อม ของประเทศในการเตรียมตัว ตั้งรับ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศตลอดจนประเดน็ ปญั หาทเี่ กย่ี วขอ้ ง อนั จะนำ� ไปสกู่ ารบรรเทาความ รนุ แรงของปัญหาและขบั เคลื่อนสู่สังคมคารบ์ อนต่�ำ (Low Carbon Society) อย่างยั่งยนื ต่อไป (ชยันตแ์ ละคณะ, 2556) Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
18 ก้าวหน้าพัฒนา ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการการเปล่ียนแปลง พรอ้ มของทกุ ภาคสว่ น ตลอดจนพฒั นากลไกผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การ สภาพภมู ิอากาศ บูรณาการวางแผนดำ� เนินงานแกไ้ ขปัญหาอยา่ งมีประสิทธผิ ล ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ 4) ด�ำเนินงานร่วมกับภาคประชาสังคมโลกในการแก้ไข และสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้จัดท�ำยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วย ปญั หาการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ การจัดการการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศฉบับแรก โดยมี วัตถุประสงค์ กรอบระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2551-2555) เพ่ือเป็นจุดเริ่มต้น 1) เพอื่ เปน็ การสรา้ งความพรอ้ มในการรบั มอื และปรบั ตวั แผนยทุ ธศาสตรข์ องประเทศไทยภายใตว้ สิ ยั ทศั นก์ ารสรา้ งความ ตอ่ ผลกระทบของปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ พร้อมในการรับมือและปรับตัวต่อผลกระทบการเปล่ียนแปลง 2) เพ่ือร่วมกับประชาคมโลกในการลดการปลดปล่อย สภาพภูมิอากาศบนพื้นฐานของการพัฒนาที่ย่ังยืน ดังพันธกิจ ก๊าซเรือนกระจกและด�ำเนินการบนพ้ืนฐานการพัฒนาที่ย่ังยืน และวตั ถปุ ระสงคท์ ไี่ ดก้ ำ� หนดไวต้ อ่ ไปนี้ (คณะกรรมการนโยบาย ตามหลักการความรับผดิ ชอบรว่ มในระดับท่ีแตกต่างกนั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศแหง่ ชาติ, 2551) 3) เพ่ือส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการบูรณาการจาก ทุกภาคส่วนในขั้นตอนการวางแผนและด�ำเนินงานเพ่ือแก้ไข พันธกจิ ปัญหาสภาพภูมอิ ากาศท่เี ปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ 1) สร้างความพร้อมแก่ทุกภาคส่วนในการรับมือและ ปรับตัวต่อผลกระทบจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ส�ำหรับประเด็นยุทธศาสตร์ที่จะขับเคล่ือนไปสู่การ บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ประกอบด้วย 2) ลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก 6 ยุทธศาสตร์ (คณะกรรมการนโยบายการเปล่ียนแปลงสภาพ กิจกรรมต่างๆ บนพื้นฐานการพัฒนาทีย่ ัง่ ยนื ภมู ิอากาศแห่งชาต,ิ 2551) ดังแสดงไว้ในตารางท่ี 1 3) พัฒนาองค์ความรู้ ขีดความสามารถและสร้างความ ตารางท่ี 1 ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2555 (คณะกรรมการนโยบายการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศแหง่ ชาติ, 2551) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การสร้างความสามารถในการปรับตัวเพอื่ รับมอื และลดความล่อแหลมตอ่ เป้าหมาย ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ แนวทาง ปอ้ งกนั รักษาหรอื เพิ่มคณุ คา่ ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ป้องกนั หรือปรับปรงุ คณุ ภาพ สง่ิ แวดลอ้ มและคุณภาพชวี ติ จากผลกระทบทางสภาพภูมอิ ากาศ - สร้างความสามารถในการประเมินผลกระทบจากสภาพภูมอิ ากาศ เชน่ พัฒนาฐาน ขอ้ มูลสภาพภมู ิอากาศ ระบบพยากรณอ์ ากาศ แบบจำ� ลอง การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิ อากาศ รวมท้งั ฐานขอ้ มูลพ้นื ทเี่ ส่ียงภัยและระดบั ความเส่ยี งในระดบั ประเทศ ภมู ภิ าค และจังหวัด - ป้องกนั และบรรเทาความเสยี หายจากผลกระทบการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และภัยพบิ ัติ เชน่ การก�ำหนดหลักเกณฑ์เพ่อื จดั ล�ำดบั ความส�ำคัญของพน้ื ท่ีอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟูพื้นท่ปี า่ และแหลง่ น�ำ้ การวางระบบทเี่ หมาะสมเพอื่ ป้องกนั การกัดเซาะชายฝ่ัง การปลูกหญ้าแฝกคลุมดินเพ่อื ลดการชะล้างหนา้ ดนิ รวมท้ังการจดั ทำ� แผนและระบบ เตือนภัยทม่ี ปี ระสิทธิภาพในทกุ พ้ืนทเี่ สี่ยง - สร้างเสริมความสามารถในการปรับตวั เชน่ การเพม่ิ พนื้ ทปี่ า่ พน้ื ทีอ่ นุรักษ์ รวมท้ัง พัฒนาระบบบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนเิ วศในพ้ืนที่เสี่ยงภยั แล้ง เปน็ ต้น Research No.29 january 2015 ISSN:1686-1612
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 กา้ วหนา้ พฒั นา 19 เปา้ หมาย แนวทาง สนับสนุนการลดการปลดปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกและเพมิ่ แหล่ง ดดู ซบั บนพ้ืนฐานของการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ลดการปลดปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกและปรับปรงุ ฐานของเทคโนโลยสี ู่การผลิตที่สะอาด เปา้ หมาย อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ แนวทาง - ลดกา๊ ซเรือนกระจกภาคพลังงานโดยเพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ และการใชไ้ ฟฟา้ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและใชพ้ ลงั งานทดแทนในภาคคมนาคมขนส่ง สนับสนนุ การ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พัฒนาการใช้พลังงานทดแทน เป้าหมาย - ลดก๊าซเรอื นกระจกจากภาคของเสียโดยบรหิ ารจัดการของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทาง - ลดกา๊ ซเรอื นกระจกจากกระบวนการอุตสาหกรรม - เพ่มิ แหล่งดูดซับกา๊ ซเรอื นกระจกจากภาคเกษตรกรรม ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 - ส่งเสริมและสนับสนนุ กลไกทีเ่ หมาะสม โดยปรับปรงุ ฐานการผลิตสเู่ ทคโนโลยี เป้าหมาย ทส่ี ะอาด แนวทาง สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจต่อ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ISSN:1686-1612สนับสนุนการวจิ ยั และพัฒนา (R&D) ถ่ายทอดองคค์ วามรู้และมฐี านข้อมูล ท่เี ป็นประโยชน์ต่อการบรหิ ารจัดการเชงิ นโยบาย วางแผนและดำ� เนินงาน - รวบรวมสรา้ งองค์ความรู้ดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ - รวบรวมสรา้ งองค์ความรูด้ ้านผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และทางเลือกในการปรบั ตวั ต่อภยั ธรรมชาติ - สรา้ งองค์ความรู้ดา้ นการลดก๊าซเรอื นกระจกจากภาคส่วนตา่ งๆ - สรา้ งกลไกทเี่ หมาะสมเพื่อผลกั ดนั ใหเ้ กิดความเชือ่ มโยง ถ่ายทอดองค์ความรู้ และสนับสนุนการบริหารจดั การเชิงนโยบาย วางแผนและดำ� เนนิ งาน สรา้ งความตระหนกั รแู้ ละการมีสว่ นรว่ มในการแก้ไขปัญหา การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ประชาชนมคี วามตระหนักรู้ มจี ติ ส�ำนึกรับผิดชอบตามบทบาทหน้าทีอ่ ยา่ งเหมาะสม - จัดกิจกรรมประชาสัมพันธเ์ พือ่ สรา้ งจติ สำ� นึกที่ดแี ก่ประชาชนและมีส่วนร่วม ท่ีเหมาะสม - สนับสนุนกจิ กรรมในภาคการศกึ ษาเพ่ือสร้างความตระหนักรแู้ ละปลกู ฝงั จิตส�ำนึก ส�ำหรับนกั เรยี น นักศึกษา - สรา้ งกลไกการติดตาม ประเมนิ ผลงานประชาสมั พนั ธ์ เพิ่มศักยภาพบลุ ากรและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการด�ำเนินงานดา้ นการ เปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ องค์กรและบุคลากรท่เี กีย่ วขอ้ งด้านวชิ าการ ดำ� เนนิ งานและตดิ ตามผล มีความสามารถในการทำ� งานทรี่ บั ผดิ ชอบร่วมกันแบบบูรณาการ - สนบั สนนุ ให้บคุ ลากรได้รบั การพัฒนาความรทู้ างวชิ าการและทักษะในการด�ำเนินงาน อยา่ งต่อเนอ่ื ง - สรา้ งกลไกการถ่ายทอดองคค์ วามรู้และแลกเปลยี่ นประสบการณใ์ นการวางแผน ด�ำเนนิ งานระหว่างหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง Research No.29 january 2015
20 กา้ วหนา้ พัฒนา ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 พฒั นาการด�ำเนนิ งานในกรอบความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศ เป้าหมาย สร้างศักยภาพขององคก์ รและบคุ ลากรที่เก่ียวข้องในการด�ำเนินงานภายใต้ ความรว่ มมือกับตา่ งประเทศ และสง่ เสริมการทำ� งานแบบบรู ณาการอยา่ งตอ่ เน่อื ง แนวทาง รวมทง้ั ถา่ ยทอดองค์ความรภู้ ายในและระหว่างองค์กรรว่ มกัน - บูรณาการงานด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศภายใต้กรอบความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศ เช่น ASEAN, APEC, G-77 และขอ้ ตกลงอื่นๆ - สนับสนนุ การแลกเปลย่ี นองคค์ วามร้กู ารด�ำเนินงานด้านความร่วมมือกบั ตา่ งประเทศ เชน่ การคา้ และสงิ่ แวดล้อม การอนุรักษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ การปอ้ งกนั สภาวการณ์กลายเป็นทะเลทรายและการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลติ ที่เป็นมติ ร ต่อส่งิ แวดล้อม (Environmentally Sound Technology) กรอบแนวคิดและทศิ ทางการขับเคลือ่ นนโยบายวา่ ด้วยการจัดการการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย จากสาระส�ำคัญที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2555 (ตารางที่ 1) สามารถสังเคราะห์กรอบแนวคิดและทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ จ�ำแนกเป็นประเด็นต่างๆ ได้ดังนี้ จ�ำแนกตามหลักการและแนวทางปฏบิ ตั ิ จ�ำแนกตามภาคส่วนการปลดปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก โดยทั่วไปแนวทางปฏิบัติเพื่อเป็นการตอบสนองต่อ เม่ือพิจารณากรอบแนวคิดการจัดการปัญหาการ ปัญหาสภาพภูมิอากาศที่เปล่ียนแปลงและภัยพิบัติ ตลอดจน เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยจำ� แนกตามภาคสว่ น สามารถ ผลกระทบท่ีเกี่ยวข้อง สามารถกระท�ำได้โดยการ “บรรเทา” สรุปแนวทางการด�ำเนินงานท่ีเกีย่ วข้องได้ ดังน้ี หรือลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศ • ภาคพลงั งานและการผลิตไฟฟ้า: การอนรุ ักษพ์ ลังงาน (Mitigation) โดยส่งเสริมกิจกรรม การบริโภคและการผลิต ส่งเสรมิ พลงั งานหมนุ เวียนและใชพ้ ลงั งานทดแทน ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการพัฒนาขีด “ความ • ภาคการขนส่ง: การพัฒนาระบบขนส่งมวลชน สามารถปรบั ตวั ” (Adaptation) ตอ่ ผลกระทบ ความรุนแรงหรือ จัดการอุปสงค์อุปทานของการเดินทางและขนส่ง การปรับปรุง ความเส่ียงใดๆ อันเกิดจากปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพ ประสิทธิภาพเชื้อเพลิง ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือกและ ภมู อิ ากาศ โดยเฉพาะในพน้ื ทเี่ ปราะบางและลอ่ แหลมไดใ้ นขณะ พฒั นาโครงสร้างคมนาคมขนสง่ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ เดียวกัน ดงั แสดงรายละเอียดไวใ้ นรูปที่ 1 • ภาคครวั เรือนและอุตสาหกรรม: การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลดการใช้พลังงานภายใน อาคาร • ภาคของเสยี : การลดปรมิ าณของเสยี เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การจดั การและสนับสนนุ การเปลยี่ นของเสยี เป็นพลงั งาน • ภาคป่าไม:้ การเพิ่มพน้ื ทส่ี ีเขยี ว พ้ืนทีป่ า่ ไม้ อาทเิ ชน่ การใชก้ ลไก REDD+ พนั ธบัตรปา่ ไม้ ธนาคารตน้ ไม้ เป็นตน้ • ภาคการเกษตร: สรา้ งความพรอ้ มควบคกู่ บั การพฒั นา ศักยภาพเกษตรกรให้มีความสามารถรับมือและปรับตัวต่อ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และจัดการกิจกรรม รูปที่ 1 กรอบแนวคดิ การจดั การปัญหาสภาพภูมิอากาศท่เี ปล่ยี นแปลง การเกษตรท่ีปลอ่ ยคารบ์ อนต�ำ่ จำ� แนกตามหลกั การและแนวทางปฏิบัติ Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
ก้าวหนา้ พฒั นา 21 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (5) การเพมิ่ ศกั ยภาพบคุ ลากร และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งในการดำ� เนนิ งานดา้ นการเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศ และ (6) การพัฒนาความร่วมมือกับ ต่างประเทศ ทั้งน้ีกรอบแนวคิดการด�ำเนินงานสามารถจ�ำแนก ได้ตามแนวทางปฏิบัติ ภาคส่วนท่ีมีการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจกและตามมิติช่วงเวลาของการจัดการ อย่างไรก็ตาม ทิศทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ว่าด้วยการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ควรพิจารณาหลายประเด็น ที่เกีย่ วขอ้ ง ดงั น้ี • แผนนโยบายของประเทศว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง • การจดั การเมอื ง: การดำ� เนนิ กจิ กรรมลดการปลดปลอ่ ย สภาพภูมิอากาศควรสอดคล้องกับความต้องการของภาค ก๊าซเรือนกระจกจากภาวะเมือง การวางผังเมืองและการเพ่ิม ประชาสังคมอย่างแท้จริง เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ไปสู่ พน้ื ที่สเี ขยี ว ภาคปฏิบตั ิอยา่ งเปน็ รปู ธรรม และในขณะเดยี วกนั ควรมีการขบั จ�ำแนกตามมติ ิชว่ งเวลา เคลื่อนเชิงระบบร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง นอกจากนี้การจัดการปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพ ในลักษณะการท�ำงานแบบต่อยอด ต่อเนื่องและตอบโจทย์ใน ภูมิอากาศอย่างย่ังยืน ยังต้องพิจารณาถึงความต่อเน่ือง ทกุ มิติ ของกจิ กรรมการเพมิ่ ขดี ความสามารถในการปรบั ตวั และสง่ เสรมิ กิจกรรมลดกา๊ ซเรือนกระจกตามเงอ่ื นเวลา ดังน้ี • ระยะส้ัน: เร่งสร้างความพร้อมในการรับมือ ต้ังรับ และปรับตัวต่อความเสี่ยงและปัญหาใดๆ อันเกิดจากการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ รวมท้ังมีการพัฒนา ขีดความสามารถในการจัดการและบรรเทาผลกระทบท่ีเกิด ข้ึนอย่างฉับพลัน (Immediate Impact) ได้อย่างเหมาะสมและ ทนั ท่วงที • ระยะกลางและระยะยาว: มุ่งเน้นการสร้างเสริม ความตระหนักรู้ พัฒนาศักยภาพและเทคโนโลยีรองรับ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผ่านกลไกสนับสนุน การด�ำเนินงานเพ่ือพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต�่ำและขับเคล่ือน แบบบูรณาการจากทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง รวมทั้งเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้ชุมชนมีความสามารถในการพ่ึงพาตนเองได้ อย่างย่ังยนื • แผนการด�ำเนินงานเพื่อตอบสนองปัญหาการ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ควรเปน็ โครงการทม่ี กี าร บรู ณาการ บทสรุปและขอ้ อภิปราย มติ ดิ า้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเขา้ ไปในการออกแบบ ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการการเปล่ียนแปลงสภาพ โครงการที่ดำ� เนนิ การอยู่ (Climate Integrated Project) อาทเิ ช่น การบูรณาการงานด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศของประเทศไทย พ.ศ.2551-2555 ประกอบด้วย กับการออกแบบวางผังเมือง โครงการสร้างถนน เป็นต้น 6 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (1) การสรา้ งความสามารถในการปรับตวั (อดศิ ร์, 2557) เพ่ือรับมือและลดความล่อแหลมต่อผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (2) การสนบั สนนุ การลดปรมิ าณ • การสรา้ งเสรมิ ความตระหนกั รแู้ ละจติ สำ� นกึ แกท่ กุ ภาค ก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิมแหล่งดูดซับ บนพ้ืนฐานของการ สว่ น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ภาคประชาสงั คมนบั เปน็ ประเดน็ ทา้ ทาย พฒั นาที่ยัง่ ยืน (3) การสนบั สนนุ งานวจิ ัยและพฒั นา เพ่อื สร้าง ที่ส�ำคัญและมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับการตอบสนองต่อ ความเข้าใจต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (4) การ ปัญหาสภาพภมู ิอากาศที่เปลยี่ นแปลง สร้างความตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
ISSN:1686-161222 ก้าวหนา้ พัฒนา • หน่วยงานรับผิดชอบท่ีเกี่ยวข้องควรจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ในการขับเคลื่อนแผนนโยบายสู่ภาค ปฏิบัติให้เกิดข้ึน รวมท้ังสร้างกลไกสนับสนุนการท�ำงานร่วมกันจากทุกภาคส่วนสังคมในลักษณะ Public-Private- People Partnership (P4) ส�ำหรับการด�ำเนินงานเพื่อตอบสนองปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาทิเช่น การด�ำเนินโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ (Voluntary Emission Reduction) การด�ำเนินโครงการลด ก๊าซเรือนกระจกท่ีสามารถตรวจสอบได้ รายงานได้และทวนสอบได้ (Measurement, Reporting and Verification: MRVs) และการด�ำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกท่ีเหมาะสม (Nationally Appropriate Mitigation Action: NAMAs) ในบริบทการพัฒนาทีย่ ังยืนของประเทศกำ� ลังพัฒนา เปน็ ต้น • ภาครฐั และหนว่ ยงานการศกึ ษาควรพฒั นาบคุ ลากรและสนบั สนนุ งานวจิ ยั ในรปู แบบสหสาขาวชิ าเพอื่ พฒั นาองคค์ วามรใู้ หม่ รวมท้งั สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื ทัง้ ในและตา่ งประเทศในการด�ำเนินงานด้านการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภยั พบิ ตั ิ เอกสารอ้างองิ คณะกรรมการนโยบายการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศแหง่ ชาติ ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม.2551. ยุทธศาสตร์ แหง่ ชาตวิ ่าดว้ ยการจดั การการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ พ.ศ. 2551-2555. [Online] Available from http://www.onep.go.th/index. php?option=com_content&view=article&id=2804:--2551-2555&catid=125:-climate-change&Itemid=249 ชยันต์ ตนั ตวิ สั ดาการ, ชโลทร แก่นสนั ติสขุ มงคล, นิรมล สุธรรมกิจ, บณั ฑูร เศรษฐศิโรตม,์ ศุภกร ชนิ วรรณโณ, สิริลกั ษณ์ เจยี รากร, และคณะ.2556. รบั มอื โลกรอ้ นกอ่ น 4 องศา : สงิ่ ทปี่ ระเทศไทยทำ� ได้. วิกฯิ : กรงุ เทพฯ. อดศิ ร์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา. 2557. เอกสารประกอบการประชมุ (ร่าง) แผนปฏบิ ตั ิการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การจดั การการเปล่ยี นแปลง สภาพภมู ิอากาศแหง่ ชาต.ิ วันท่ี 5 กันยายน 2557. กรงุ เทพฯ IPCC. 2007. Climate Change 2007: The Physical Science Basis, Summary for Policymakers. [Online] Available from http://www.ipcc.ch/ UNFCCC. 2014. Conference of the Parties (COP) . [Online] Available from https://unfccc.int/bodies/body/6383/php/view/reports.php Research No.29 january 2015
ก้าวหนา้ พัฒนา 23 การปฏิรปู การส่งเสรมิ การวิจยั และพัฒนา ภายใตก้ ระแสการปฏริ ปู ประเทศไทย จินดารตั น์ เรอื งโชติวทิ ย์ ภายใต้กระแสการปฏิรูปประเทศไทยในช่วงการบริหาร - เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบ ประเทศของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และ การเรียนการสอนท่ีเช่ือมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ พบว่ามีหลายองค์กร การผลิตก�ำลังคนที่ขาดแคลน รวมท้ังการเช่ือมโยงระหว่างการ ได้เสนอประเด็นเพ่ือการปฏิรูปประเทศไทยท่ีหลากหลาย เรียนรู้กับการท�ำงาน โดยให้บุคลากรด้านการวิจัยของภาครัฐ ซงึ่ โดยภาพรวมแลว้ สามารถแบง่ ได้ 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ ดา้ นการเมอื ง สามารถไปทำ� งานในภาคเอกชน การปกครอง และธรรมาภบิ าล ดา้ นสวสั ดกิ ารสงั คมและการศกึ ษา - ปฏิรูประบบการให้ส่ิงจูงใจ ระเบียบ และกฎหมาย และดา้ นเศรษฐกิจ ลดความเหลอื่ มล�้ำ มกี ารแข่งขนั ท่ีเป็นธรรม ท่ีเป็นอุปสรรคต่อการน�ำงานวิจัยและพัฒนาไปต่อยอดหรือใช้ ซึ่งปัจจุบันการปฏิรูปประเทศไทยอยู่ภายใต้การขับเคล่ือน ประโยชน์ รวมท้ังส่งเสริมการจัดท�ำแผนพัฒนาการวิจัยและ ของสภาปฏิรปู แห่งชาติ ทง้ั นีก้ ารปฏิรูปการส่งเสรมิ การวจิ ัยและ พฒั นาในระดบั ภาคหรอื กลมุ่ จงั หวดั เพอ่ื ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการ พฒั นาของประเทศไทย ภายใตก้ ระแสการปฏริ ปู ประเทศไทยนนั้ ของท้องถิ่น ผลักดันงานวิจัยและพัฒนาไปสู่การใช้ประโยชน์ ได้ปรากฏให้เห็นชัดเจนในค�ำแถลงนโยบายของรัฐบาล เชิงพาณิชย์ โดยส่งเสริมความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในด้านการพัฒนาและส่งเสริม หน่วยงานวิจยั ของรฐั และภาคเอกชน การใชป้ ระโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยกี ารวจิ ยั และพฒั นา - ส่งเสริมให้มีโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศ และนวัตกรรม โดยรัฐบาลได้แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ การใชป้ ระโยชนจ์ ากผลการศกึ ษาวจิ ยั ของไทยตามความเหมาะสม ว่ารัฐบาลจะให้ความส�ำคัญต่อการวิจัย การพัฒนาต่อยอด ส่งเสริมการใช้เครื่องมือ วัสดุ และสินค้าอ่ืนๆ ท่ีเป็นผลจาก และการสร้างนวัตกรรมเพื่อน�ำไปสู่การผลิตและการบริการ การวิจัยและพัฒนาภายในประเทศในวงกว้าง ในกรณีท่ีจ�ำเป็น ท่ที นั สมยั โดยมแี นวทางการขบั เคลอื่ นประกอบไปด้วย จะต้องจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีจากต่างประเทศจะ - การสนับสนุนการเพ่ิมค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา ให้มีเงื่อนไขการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพ่ือให้สามารถพ่ึงตนเอง ของประเทศเพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายให้ได้ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 1 ได้ในอนาคต ของรายได้ประชาชาติและมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30:70 - ปรับปรุงการจัดเตรียมให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้าน ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการวิจัยและพัฒนา และ Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
24 กา้ วหน้าพฒั นา ด้านนวัตกรรมเพ่ือการต่อยอดสู่การใช้เชิงพาณิชย์ เพ่ือให้มี วิจัย มิติในด้านหน่วยงาน และมิติด้านโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือ ความพรอ้ ม ทนั สมยั และกระจายในพนื้ ทต่ี า่ งๆ เชน่ การพฒั นา การวิจัยและพัฒนา รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เพื่อการวิจัย ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ การตง้ั ศนู ยว์ เิ คราะห์ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดยในแตล่ ะมิติไดใ้ ห้ความสำ� คญั ในประเด็นตอ่ ไปน้ี สถาบัน และศนู ย์วิจยั มิติของหมวดหมู่การใช้จ่ายงบประมาณ แบ่งได้เป็น รัฐบาลเองได้มีการด�ำเนินการเพื่อการส่งเสริมการวิจัย 5 หมวด ได้แก่ งบประมาณทุนสนบั สนุนการวจิ ยั /โครงการวิจยั และพัฒนาตามค�ำแถลงนโยบายบ้างแล้ว ที่เห็นอย่างชัดเจน งบประมาณเพ่ืออุปกรณ์ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั งบประมาณ คือ ได้มีค�ำสั่งส�ำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 217/2557 แต่งตั้งคณะ เพอื่ การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการวจิ ยั งบประมาณเพอ่ื การจดั การ กรรมการพิจารณาการจัดท�ำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ ความรู้จากการวิจัย และงบประมาณเพ่ือการบริหารจัดการ/ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จ�ำนวน 18 คณะ ซ่ึงคณะ พัฒนาระบบ กรรมการพิจารณาการจัดท�ำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ มิติของผลลัพธ์หรือเป้าหมายการวิจัย โดยพิจารณา เรื่อง การสง่ เสริมการวิจยั และพฒั นา เป็น 1 ใน 18 คณะท่ีได้ จากเปา้ หมายยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั ที่ วช. รว่ มกบั เครอื ขา่ ยองคก์ ร มีการแต่งต้ังตามค�ำส่ังดังกล่าว โดยมีส�ำนักงานคณะกรรมการ บรหิ ารงานวจิ ยั แหง่ ชาติ (คอบช) จดั ทำ� ขน้ึ รวมทง้ั ระเบยี บวาระ วิจัยแห่งชาติ (วช) เป็นเจ้าภาพหลัก รวมทั้งเป็นกรรมการและ แห่งชาติท่ีเสนอโดยครม. และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เลขานุการร่วม และมีส�ำนักงบประมาณ และส�ำนักงานคณะ (คสช) นอกจากน้ันพิจารณาจากข้อมลู ความต้องการของหนว่ ย กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นกรรมการ งานที่เกี่ยวข้องท่ีจะใช้ประโยชน์จากการบูรณาการงบประมาณ และเลขานุการร่วม โดยคณะกรรมการดังกล่าวมีอ�ำนาจหน้าที่ ซ่ึงประกอบไปด้วย ในการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน พิจารณากลั่นกรองและ 1. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของการพัฒนาและส่งเสริม จัดท�ำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ เพ่ือให้การบูรณาการ การใชป้ ระโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งเป็น และนวัตกรรม รัฐบาลให้ความส�ำคัญต่อการวิจัย การพัฒนา เครื่องมือในการก�ำกับการด�ำเนินนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล ตอ่ ยอด และการสรา้ งนวตั กรรมเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารผลติ และบรกิ าร ให้บรรลเุ ปา้ หมายแลว้ เสร็จตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนด ที่ทันสมัย รายละเอียดเป็นไปตามค�ำแถลงนโยบายของรัฐบาล วช. ในฐานะเจา้ ภาพหลกั ไดม้ กี ารกำ� หนดนโยบายในการ ที่แถลงตอ่ สภานติ ิบัญญัติแห่งชาติ จัดทำ� งบประมาณเพือ่ การวจิ ัยและพฒั นาในลักษณะบรู ณาการ 2. เปา้ หมายตามระเบยี บวาระแหง่ ชาติ (Nation Agenda) เปา้ ใน 5 มิติ ได้แก่ มิติของหมวดหมู่การใช้จ่ายงบประมาณ มิติ หมายการสนบั สนนุ การวจิ ยั ทจ่ี ำ� แนกตามระเบยี บวาระแหง่ ชาติ ของผลลพั ธห์ รอื เปา้ หมายการวจิ ยั มติ ใิ นดา้ นสาขาหรอื กลมุ่ การ เชน่ การเป็น Food Valley และเปน็ ครวั ของโลก นโยบายในการจัดท�ำงบประมาณ ปี 2559 เพอ่ื การวิจยั และพัฒนาในลักษณะบรู ณาการ มติ ิของหมวดหมงู่ บประมาณ ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั / เครอื่ งมือ/โครงสร้าง พฒั นาผลงานวิจยั การจัดการความรู้ พัฒนาระบบ/การบริหาร มิตขิ องเปา้ หมายผลลัพธ์ โครงการวิจยั พ้นื ฐาน จากงานวิจัย จดั การงานวจิ ัย มติ ดิ า้ นสาขาหรอื กลุม่ งานวจิ ัย ยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ สาขาวิชา พฒั นาชุมชน/สังคม เชงิ เศรษฐกิจ/พาณิชย์ เชิงนโยบาย ระเบยี บวาระแห่งชาติ แบง่ สาขาวชิ าตามหลกั แบง่ กลมุ่ การวจิ ยั มุ่งเป้า OECD/UNESCO Thesaurus มติ ิดา้ นหน่วยงาน หนว่ ยนโยบาย หน่วยบริหารจดั การงานวิจยั หนว่ ยวิจยั หน่วยจดั การความรจู้ ากงานวิจยั มิตโิ ครงสรา้ งพ้นื ฐาน เพ่อื การวจิ ยั และพฒั นา เพอื่ การวิเคราะห์โครงสร้าง/ เครือ่ งมอื ที่ เพ่ือการใชท้ รพั ยากรร่วมกัน จ�ำเปน็ ต่อการวจิ ัยในภาพรวมของประเทศ Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
กา้ วหนา้ พัฒนา 25 3. เป้าหมายด้านวิชาการ ท่ีมีผลเป็นผลงานตีพิมพ์ โครงสร้าง เคร่ืองมือที่จ�ำเป็นต่อการวิจัย หรือการใช้ทรัพยากร เผยแพร่ในวารสารหรือสื่ออื่นๆท่ีเป็นที่ยอมรับในการเผยแพร่ ร่วมกัน หรือการใช้ทรัพยากรของภาครัฐเพื่อให้บริการและ ความก้าวหน้าเชิงวิชาการ ซึ่งต้องสามารถจ�ำแนกสาขาวิชาการ สนบั สนนุ งานภาคเอกชนเพอื่ การพฒั นา ได้ เพ่ือที่จะใช้ตัดสินใจเชิงนโยบายได้ว่า ต้องการจะสนับสนุน ท้ังนี้ นโยบายและแนวทางในการจัดท�ำงบประมาณ สาขาใดเปน็ พเิ ศษ หรอื จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของสาขาวชิ าการได้ เพื่อการวิจัยและพัฒนาแบบบูรณาการ ของ วช. ได้วางรูป 4. เป้าหมายเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม ท่ีมีผลที่สามารถ แบบให้สามารถก�ำหนดสัดส่วนการจัดสรรงบประมาณด้านการ จะนำ� ไปถา่ ยทอด เพื่อแกไ้ ขปัญหาต่างๆ เพื่อหาหนทางพฒั นา วจิ ัยและพฒั นาไดต้ ามมติ ติ า่ งๆ และสามารถก�ำหนดเปา้ หมาย ให้ประชาชนได้รับการบริการท่ีดี มีสุขภาวะท่ีดี มีรายได้ ท่ีชัดเจน รวมถึงการก�ำหนดกรอบงบประมาณที่จะน�ำไปสู่ เหมาะสม พึ่งพาตนเองหรือภายในชุมชนได้ มีสภาพแวดล้อม เป้าหมาย นอกจากนั้นยังใช้เป็นเคร่ืองมือในการก�ำกับให้เกิด ความเปน็ อยู่ท่ดี ี ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานท่ีบูรณาการด�ำเนินการให้เป็น 5. เป้าหมายเพ่ือประโยชน์เชิงพาณิชย์ ท่ีมีผล ไปในทิศทางเดียวกันและหนนุ เสริมซ่ึงกนั และกนั รวมทัง้ ข้อมูล ที่สามารถน�ำไปต่อยอดในเชิงการผลิต D-E-M (Development ทไ่ี ดจ้ ากการจดั ทำ� งบประมาณวจิ ยั แบบบรู ณาการนน้ั หนว่ ยงาน Engineering Manufacturing) เพอ่ื ใหเ้ กิดผลิตภัณฑ์ใหม่ บริการ ทเี่ กยี่ วขอ้ งสามารถนำ� ไปใชเ้ พอ่ื การบรู ณาการในการดำ� เนนิ งาน ใหม่ หรือพัฒนากระบวนการผลิตท่ีดีกว่าเดิม หรือได้ผลผลิต ของหน่วยงานใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ไป ทีม่ ีประสิทธิภาพสงู ขนึ้ การประเมินผลการด�ำเนินงานด้านการส่งเสริมการ 6. เปา้ หมายเชิงนโยบาย ที่มีผลทสี่ ามารถน�ำไปก�ำหนด วิจัยและพัฒนาของรัฐบาลว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่นั้น เป็นนโยบายในการบริหารจัดการท่ีดีข้ึนในระดับต่างๆ รวมถึง ในเบอ้ื งตน้ อาจสามารถประเมนิ ไดจ้ ากกรอบวงเงนิ งบประมาณ ผลท่ีจะน�ำไปใช้ก�ำหนดเป็นมาตรฐานสินค้า และ/หรือ บริการ ด้านการวิจัยและพัฒนาในปีงบประมาณ 2559 ว่าสามารถ ท่ีผลิตขึน้ จากการวจิ ัยและพฒั นาภายในประเทศ สนับสนุนการเพ่ิมค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศ มิติในด้านสาขาหรือกลุ่มการวิจัย การจ�ำแนกสาขา ได้ไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 1 ของรายได้ประชาชาติและมีสัดส่วนรัฐ วชิ าการ ใชห้ ลกั ของ OECD หรอื UNESCO Thesaurus นอกจากนนั้ ตอ่ เอกชน 30:70 ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ จะแบ่งเป็นกลุ่มวิจัยมุ่งเป้า (การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรหลัก หรือไม่อย่างไร เมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2558 ซึ่ง เพ่ือการส่งออกและลดการน�ำเข้า การเสริมสร้างศักยภาพ งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศอยู่ท่ี อุตสาหกรรมอนาคต และอุตสาหกรรมฐานเดิม การพัฒนา ร้อยละ 0.15 ของรายได้ประชาชาติ ซึ่งสัดส่วนงบประมาณ ชุมชน สังคม และการเติบโตอย่างย่ังยืน การบริหารจัดการ จะมาจากภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ หากรัฐบาลสามารถผลักดัน น�้ำให้เป็นเอกภาพในทุกมิติ และการเติบโตอย่างเป็นมิตรกับ งบประมาณดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาใหไ้ ดต้ ามเปา้ หมายทวี่ างไว้ สง่ิ แวดล้อม) รวมทง้ั การแบ่งกลุ่มวชิ าการตามกลมุ่ อตุ สาหกรรม ก็คงเป็นก้าวแรกในการปฏิรูปการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา มติ ใิ นดา้ นหนว่ ยงาน ทำ� ใหส้ ามารถวเิ คราะหห์ นว่ ยงาน ของประเทศไทยเพื่อท่ีรัฐบาลจะสามารถด�ำเนินการตามเป้า ทดี่ ำ� เนนิ การในประเดน็ เดยี วกนั เพอื่ การบรู ณาการในการดำ� เนนิ งาน หมายอน่ื ๆ ตามทไี่ ดแ้ ถลงไวก้ บั สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตไิ ดอ้ ยา่ ง หรอื การใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั มีประสิทธภิ าพตอ่ ไป มติ ดิ า้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานเพอ่ื การวจิ ยั และพฒั นา รวมถงึ เครื่องมือ อุปกรณ์ เพื่อการวิจัย ท�ำให้สามารถวิเคราะห์ได้ถึง เอกสารอา้ งอิง ISSN:1686-1612 เอกสารประกอบการประชุม ชี้แจงแนวทางและหลักเกณฑ์ในการจัดท�ำงบประมาณการวิจัยในลักษณะบูรณาการ ปีงบประมาณ 2559 เมื่อวนั ท่ี 15 ธนั วาคม 2557 .โรงแรมมารวยการ์เดน้ กรุงเทพฯ Research No.29 january 2015
26 ก้าวหน้าพฒั นา การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) กับการแก้ไขปัญหาหมอกควัน ของพื้นทภี่ าคเหนอื ตอนบน จนิ ดารัตน์ เรอื งโชติวิทย์ ปัญหาและสาเหตุของปัญหาหมอกควันของพื้นที่ เพ่ือการเกษตร โดยในสว่ นแรกนน้ั เปน็ สถานการณท์ เี่ ราควบคมุ ภาคเหนือตอนบน ได้ยาก ทางเดียวในการแก้ปัญหา คือ การจัดท�ำแนวกัน ในระยะเกือบสิบปีท่ีผ่านมาปัญหาหมอกควันเป็น ไฟและเฝ้าระวังไม่ไห้เกิดไฟป่าลุกลาม แต่ปัจจัยที่เกิด ปัญหามลพิษทางอากาศท่ีส�ำคัญมากของประเทศไทย และ จากคนเผาป่าหรือไร่นาเพื่อการเกษตรถือว่าเป็นสิ่งท่ี เป็นปัญหามลพิษข้ามแดน (Trans-boundary Haze Pollution) เราควบคุมได้แต่ก็ไม่ง่ายนัก ซ่ึงสาเหตุการเกิดไฟป่าและ โดยเฉพาะเมื่อปี 2550 เกิดวิกฤตหมอกควันในภาคเหนือ หมอกควันที่เกิดจากคนประกอบด้วย 1) มลภาวะควัน ทจี่ งั หวดั เชยี งใหม่ เชยี งราย และ แมฮ่ อ่ งสอน ทำ� ใหเ้ กดิ ความตน่ื ตวั พิษในเขตเมืองและการเผาของครัวเรือน 2)การเผาใบไม้ ในการป้องกันปัญหาหมอกควันอย่างจริงจัง ซ่ึงพบว่าปัญหา กิ่งไม้/เศษวัสดุตามแนวถนนและเขตทาง 3)การปลูกพืชไร่และ หมอกควนั จะทวคี วามรนุ แรงในภาคเหนอื ชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน การเลี้ยงวัว-โคแบบปล่อยของชาวบ้าน ท่ีมักจะอาศัยการเผา ถึงเดือนเมษายนของทุกปี เน่ืองจากเป็นฤดูแล้ง ไม่มีฝนตก ในพ้ืนท่ีเปิดโล่ง เป็นวิธีการเพ่ือท�ำลายเศษซากวัสดุทางการ ประกอบด้วย ภูมิประเทศเป็นหุบเขาแอ่งกระทะ และหากปีใด เกษตร ซึ่งรวมถึงตอซังข้าวโพด ซังข้าว ซังต้นหอม-กระเทียม เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญท�ำให้อากาศแห้งแล้งกว่าปกติ เช่นปี เป็นต้น ในกรณีการเลี้ยงวัว-โคแบบปล่อยให้กินหญ้าเอง 2550 และปี 2553 ปญั หาหมอกควนั ก็จะรนุ แรงขนึ้ เป็นทวคี ูณ การเผาตอซังหญ้าและต้นไม้เล็กๆ ท่ีแห้งเหี่ยวยังช่วยเร่งให้ ส่งผลร้ายแรงต่อสุขภาพของประชาชนในภาคเหนือ ทั้งน้ีชนิด หญ้าสดใหม่อันมีคุณค่าแก่การเจริญเติบโตของวัว และโค และปริมาณสารมลพิษจากปัญหาการเผาในท่ีโล่งข้ึนอยู่กับ 4)การเผาสรา้ งแนวกนั ไฟ เปน็ วธิ กี ารทเ่ี กษตรกรบนทสี่ งู นยิ มทำ� องคป์ ระกอบทางเคมเี ชอื้ เพลงิ แตล่ ะประเภท (Fuel Composition) โดยมีลักษณะประนีประนอมยอมปล่อยให้มีการเผาพืชไร่ของ คา่ ความรอ้ นของเชอื้ เพลงิ (Fuel Heating Value) คา่ ความจคุ วาม ชุมชนโดยมีระบบการควบคุมทั้งทางกายภาพของพืชไร่ที่มีการ หนาแนน่ ของเช้ือเพลงิ (Bulk Density) และความถขี่ องการเผา เผาไม่ให้ลุกลามออกไปสู่เขตป่าและมีการตกลงทางสังคมร่วม รวมท้ังปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะของการเผาไหม้ โดยสารพิษจาก กนั ระหวา่ งกลุ่มเกษตรกร ชาวไรบ่ นท่สี งู กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์เุ ดยี วกนั การเผาในที่โล่งสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 2 ช่องทาง คือ ช่อง การเผาเช่นน้ี ถึงแม้จะมีการควบคุมทางสังคมระดับหน่ึง แต่ก็ ทางหายใจและชอ่ งทางการสมั ผสั กบั ผวิ หนงั หรอื ดวงตา สำ� หรบั ไมอ่ าจปฏเิ สธวา่ เปน็ สว่ นทส่ี ง่ ผลทำ� ใหเ้ กดิ หมอกควนั ในวงกวา้ ง ช่องทางสัมผัสบริเวณดวงตา เป็นช่องทางหน่ึงท่ีอันตรายท่ีสุด แก่ทั้งผู้อาศัยอยู่บนท่ีสูงและผู้อาศัยในเมือง 5)การหาของป่า เนื่องจากดวงตาเป็นสว่ นหนง่ึ ของรา่ งกายที่ละเอียดออ่ นมาก และเผาโดยไม่มีแนวกันไฟ เง่ือนไขการเกิดหมอกควันในข้อน้ี สาเหตุของปัญหาหมอกควันในพ้ืนท่ีภาคเหนือพบว่า เป็นเหตุผลที่คนจ�ำนวนมากกล่าวอ้างว่าท�ำให้เกิดปัญหาหมอก เกดิ ขนึ้ จากสองสว่ นใหญๆ่ คอื ควนั ไฟปา่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยธรรมชาติ ควันมากที่สุดทั้งจากผู้อาศัยในเขตเมืองและเกษตรกรบนที่สูง โดยเฉพาะในฤดูแล้ง ขณะที่อีกด้านเกิดจากการเผาป่าหรือไร่ ทง้ั ยงั เปน็ สาเหตกุ ารเผาทหี่ นว่ ยงานภาครฐั และแมก้ ระทง้ั ชมุ ชน Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
กา้ วหน้าพัฒนา 27 เองประสบปัญหาในการแก้ไข ไม่สามารถบริหารจัดการหรือ จากหน่วยงานราชการหรือองค์กรภายนอก โดยไม่ได้พิจารณา บรรเทาไม่ให้เกิดไฟและหมอกควันบนท่ีสูงได้ “การหาของป่า” ถึงศักยภาพ หรือต้นทุนเดิมของชุมชนที่มีอยู่แล้ว มองชุมชน เป็นวัฒนธรรมการด�ำรงชีพของชาวเขาและเกษตรกรผู้อาศัย แบบขาดการเชื่อมโยง เน้นการแก้ไขปัญหาเฉพาะเรื่องแยก อยู่ในเขตป่าสงวนหรือเขตท่ีท�ำกินของตนเองที่ติดต่อกับเขตป่า เป็นส่วนๆ โดยไม่มองปัจจัยแวดล้อมท่ีส่งผลเช่ือมโยงถึงกัน สงวนและปา่ อนรุ กั ษ์ ผหู้ าของปา่ ทำ� การเผาเพอื่ แผว้ ถางทางเขา้ เมื่อเข้าไปท�ำงานร่วมกับชุมชน จะมองเห็นแต่องค์กรและผู้น�ำ ออกจากป่า ก่อไฟท�ำให้เกิดควันเพ่ือเอารังมดแดง รังผ้ึงและ ที่เป็นทางการ ไม่ได้ให้ความสนใจกับองค์กรท่ีไม่เป็นทางการ ความเช่อื วา่ การเผาท�ำให้เหด็ ถอบและผกั หวานเจรญิ งอกงามดี ท�ำให้เราเห็นแต่ศักยภาพชุมชนอย่างจ�ำกัด และมีทัศนะที่มอง ชุมชนแบบเหมารวม ไม่แยกแยะ มองการท�ำงานที่ถือว่าหาก แผนงานโครงการหน่ึงท�ำส�ำเร็จในท่ีหน่ึงก็สามารถขยายผลไป ท�ำในท่ีอื่นๆได้ท่ัวประเทศ ดังน้ัน การแก้ไขปัญหาหมอกควัน ที่ผ่านมาขององค์กรที่เก่ียวข้องส่วนใหญ่ละเลยชุมชนว่าชุมชน มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาหมอกควันด้วยตัวชุมชนเอง เนื่องจากชุมชนเป็นรากฐานของชีวิตทางสังคมและความเป็น ส่วนร่วม วัฒนธรรมชุมชนมีผลอย่างส�ำคัญต่อความรู้สึกนึกคิด และวิธีปฏิบัติของคนในชุมชน และชุมชนที่มีการจัดตั้งและการ จัดการที่ดีนั้นมีศักยภาพอย่างยิ่งในการแก้ไขปัญหาและในการ สรา้ งสรรค์ชีวติ ความเปน็ อย่ทู ีด่ ี วิธีการท�ำงานร่วมกับชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาหมอกควัน ปรบั ทัศนคติส่กู ารเรยี นรู้ชมุ ชน ที่ผ่านมา การแก้ไขปัญหาหมอกควนั ท่ีมีสาเหตหุ ลกั มาจากวถิ ีการ มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากหมอก ด�ำเนินชีวิตของชุมชน จ�ำเป็นต้องมีวิธีการศึกษาท�ำความเข้าใจ ควันของภาครัฐท่ีผ่านมาไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าท่ีควร ชุมชนใหม่ท่ีสามารถเช่ือมโยงแง่มุมหรือมิติต่างๆ ของชุมชน เน่ืองจากไม่ได้แก้ไขที่ต้นตอของปัญหาโดยตรง ซึ่งได้แก่ ให้เป็นองค์รวม ในการที่จะท�ำเช่นน้ันได้ต้องใช้กระบวนการ วิถีชีวิตของชุมชน ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุจากการเผาใบไม้กิ่ง ศกึ ษาชมุ ชนผา่ นกระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ไม้/เศษวัสดุตามแนวถนนและเขตทาง การปลูกพืชไร่และ (Participatory Action Research : PAR) รวมทั้งต้องมีเคร่อื งมอื การเลี้ยงวัว-โคแบบปล่อย การเผาสร้างแนวกันไฟ และ ท่จี ะใช้ในการศึกษาและเข้าใจชมุ ชนท่งี ่าย และได้ผลดว้ ย การหาของป่าและเผาโดยไม่มีแนวกันไฟ การแก้ไขปัญหา การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม หมายถงึ การเรยี น หมอกควันท่ีท�ำร่วมกับชุมชนที่ผ่านมาพบว่า หน่วยงานเห็น รู้และแสวงหาความรู้จากประสบการณ์โดยอาศัยการมีส่วนร่วม เฉพาะปัญหา ไม่เห็นศักยภาพของชุมชน เห็นแต่ตัวเลข ของผู้มีส่วนร่วมในงานวจิ ยั คือ ระหวา่ งชาวบา้ นผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี ข้อมูล ไม่เห็นชีวิตคน และการเก็บข้อมูลมักจะแยกเป็นส่วนๆ นกั ปกครองและนกั วจิ ยั โดยอาจจะเรม่ิ ตน้ ตงั้ แตร่ ว่ มคดิ รว่ มกนั รจู้ กั ปญั หาชมุ ชนในมติ เิ ดยี วโดยไมเ่ ชอ่ื มโยงกบั มติ ดิ า้ นอนื่ ๆ และ วางแผน ร่วมตัดสนิ ใจ ร่วมดำ� เนินการ ร่วมประเมนิ ผลและร่วม กระบวนการแกไ้ ขปญั หาเนน้ ผลลพั ธม์ ากกวา่ กระบวนการเรยี นรู้ รับผลที่เกิดจากการด�ำเนินงาน รวมทั้งมีการสรุปบทเรียนร่วม ดังนั้นรูปแบบการแก้ไขปัญหาหมอกควันในพ้ืนท่ีภาคเหนือ กัน ตลอดจนร่วมหาวิธีแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนาต่อไป การ ตอนบนที่ผ่านมาจึงมีข้อจ�ำกัดท่ีท�ำให้การท�ำงานแก้ไขปัญหา วิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม เป็นวิธีการวิจัยที่สร้างสรรค์ กบั ชมุ ชนไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ เรอ่ื งยาก แตย่ งั เปน็ เรอื่ งทไ่ี มค่ อ่ ยไดผ้ ล การเปลี่ยนสังคมในเชิงบวกด้วยการอาศัยจุดเด่นของแรงขับ แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ไขปัญหาหมอก เคลอื่ นเปน็ หลกั สำ� คญั การวจิ ยั วธิ นี เ้ี จรญิ เตบิ โตมาจากงานวจิ ยั ควันจะเน้นกระบวนการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไข ทางสังคมศาสตร์และทางการศึกษา โดยงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ ปัญหา แต่ในความเป็นจริงแล้ว การท�ำงานขององค์กรต่างๆ อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม จะเนน้ การยอมรบั หรอื เหน็ พอ้ งกบั ชาวบา้ นและ ทั้งภาครฐั และเอกชนกม็ ักจะไมไ่ ดใ้ ช้ชุมชนเป็นตวั ตงั้ แต่กลับใช้ ชมุ ชนเปน็ ส�ำคญั ดงั น้ัน การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารอยา่ งมีส่วนร่วม องคก์ ร แผนงาน หรอื ไมก่ ใ็ ชว้ ชิ าการเปน็ ตวั ตง้ั เสยี เปน็ สว่ นใหญ่ จึงนับว่าเป็นกระบวนการประชาธิปไตยจากการที่ประชาชนได้ มองชมุ ชนเปรยี บเสมอื นภาชนะวา่ งเปลา่ รอรบั ความชว่ ยเหลอื เรยี นรกู้ ระบวนการวจิ ยั ดว้ ยตนเองและใชค้ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
28 ก้าวหน้าพัฒนา การพัฒนาท่ียัง่ ยนื (Sustainable Development) ความสำ� คญั อกี ประการหนง่ึ คอื การทจี่ ะกระตนุ้ จติ สำ� นกึ ประชาชนทอ้ งถน่ิ ใหต้ ระหนกั ถงึ ความเปน็ สมาชกิ ของชมุ ชนและ เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการแก้ปัญหาและพัฒนาในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม และการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ ตลอดจนการช่วยกระตุ้นการมีส่วนร่วมบุคคลอ่ืนๆ ในชุมชน ให้เกิดการมีส่วนร่วมในทุกมิติในฐานะท่ีประชาชนเป็นสมาชิก ของชุมชนจึงควรท่ีจะมีหน้าที่ในการรับผลประโยชน์ด้วยความ เท่าเทียมกันอย่างเป็นธรรม ในการวิจัยด้วยการวิจัยเชิง ปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมจึงเน้นความส�ำคัญของการศึกษา ชุมชนโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับชาวบ้าน มีการ ประเมนิ ปญั หาและความตอ้ งการของชมุ ชน (Need Assessment) รวมท้งั ช่วยวิเคราะหส์ ถานการณ์ (Situation Analysis) ในชุมชน ว่ามีข้อบกพร่องหรือปัญหาอะไรบ้างและมีความต้องการแก้ไข หรือพัฒนาในเรื่องใด อีกท้ังมีการส�ำรวจทรัพยากรในชุมชน น้ันไปใช้เพ่ือเปล่ียนสภาพสังคมของตน โดยผ่านกระบวนการ (Resource Assessment) ซ่ึงจะรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ 3 อย่าง คือ การส�ำรวจและศึกษาสังคม (Social Education) ทรัพยากรมนุษย์ บริการและหน่วยงานต่างๆ ในพ้ืนที่ท้ังภาค และมีการปฏิบัติทางสังคม (Social Action) เพื่อให้สามารถน�ำ รัฐและเอกชนเพื่อร่วมกันก�ำหนดกิจกรรม หรือโครงการแก้ไข ความรู้ไปจัดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social change) เพ่ือ ปญั หาใหเ้ หมาะสม ปรับปรุงสภาวะชีวิตความเป็นอยู่ตลอดจนสภาพโครงสร้าง (social structure) และความสมั พันธข์ ้นั พ้ืนฐาน (Fundamental เปา้ หมายหลกั ของการวิจัยเชิงปฏบิ ัติอย่างมีส่วนร่วม Relationship) ในสงั คมของตน (1) มีการค้นหาความรพู้ นื้ บ้านท่ีเป็นทย่ี อมรบั และใช้กัน อย่างแพร่หลาย หลกั การและกระบวนการส�ำคญั ของการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (2) มีการสง่ เสริมความเข้าใจอนั ดีระหวา่ งวฒั นธรรม อย่างมสี ่วนร่วม (3) มีการสร้างดุลภาพระหว่างวิทยาศาสตร์ ความรู้ทาง การท�ำวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเป็นการผสาน วชิ าการ กบั ความร้พู ้นื บ้าน ความร่วมมือกันระหว่างนักวิจัยจากภายนอกกับกลุ่มเป้าหมาย (4) ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องในการวิจัยเชิงปฏิบัติการยอมรับ ท่ีเป็นชาวบ้านหรือสมาชิกขององค์กรชุมชนที่ตัดสินใจร่วมท�ำ วิจัย กล่าวคือเป็นความต้องการของชาวบ้านท่ีเล็งเห็นปัญหา ในความไม่เท่าเทียมกันของภาวะเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม ท่ีต้องการแก้ไขในชุมชนของตนเอง ดังน้ัน ชาวบ้านหรือ และวัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย สมาชิกองค์กรชุมชนจะต้องมีบทบาทหลักในการเป็นนักวิจัย ภายในชุมชนโดยมีนักวิจัยท่ีเป็นนักวิชาการจากภายนอกมา (5) ศึกษาแนวทางแก้ปัญหาและการพัฒนาท่ีเป็น ร่วมสนับสนุน แนะน�ำวิธีการออกแบบวิจัย การเก็บรวบรวม ประโยชน์ต่อชุมชน ด้วยการคิดเอง ตัดสินใจเอง และลงมือ ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการส่งเสริมและกระตุ้นจาก กระทำ� เองอยา่ งเปน็ รปู ธรรม นักวิจัยที่เป็นนักวิชาการภายนอก ซึ่งเป็นแนวคิดท่ียึดหลัก ชาวบ้านเป็นศูนย์กลาง (People Centered Development) (6) สนับสนุนการสร้างศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็ง และแนวคิดการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน สามารถพึ่งตนเองได้ด้วยการน�ำภูมิปัญญาท้องถ่ินมาสร้างเป็น (Problem Based Learning) เป็นหลักการส�ำคัญอันน�ำไปสู่ องค์ความรู้ที่เป็นท้องถ่ินเอง ซ่ึงจะเป็นแนวทางที่สามารถก้าว ทันยุคโลกาภิวัตน์ อีกท้ังสามารถน�ำตนเองสู่การพัฒนาอย่าง ย่งั ยืนที่แทจ้ รงิ Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
กา้ วหน้าพฒั นา 29 ข้ันเตรียมการ (Preparation) การประเมณิ ผล ข้นั วางแผน (Evaluation) (Planning) ข้ันลงมอื ปฏบิ ัติ 2 ขัน้ ลงมอื ปฏิบัติ (Do) (Do) ขั้นสะท้องผล (Do) กรอบแนวคิด กระบวนการวิจยั เชิงปฏบัตกิ ารอยา่ งมีส่วนรว่ ม (Participatory Action Research) เทคนคิ และเครอื่ งมอื การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ปจั จยั ความส�ำเรจ็ ของการท�ำงานรว่ มกับชุมชน เมื่อพิจารณาถึงเทคนิคและเครื่องมือของการวิจัยเชิง ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลใหก้ ารทำ� งานรว่ มกบั ชมุ ชนเพอ่ื แกไ้ ขปญั หา ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมสี ว่ นรว่ มจะเหน็ วา่ เปน็ วธิ กี ารวจิ ยั ทนี่ ำ� การวจิ ยั หมอกควนั ดำ� เนินไปได้อย่างมปี ระสิทธิภาพน้ัน ได้แก่ เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) มาประยกุ ตร์ ว่ มกบั การวจิ ยั • ทศั นคตเิ ชงิ บวกและการเคารพในศักยภาพของชุมชน เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Research or Operation Research) โดยมี กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม จะช่วยให้เห็น รายละเอียดเทคนิค และเครื่องมอื ท่ีใช้ในกระบวนการวิจัย ดงั น้ี ภาพชุมชนชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทง้ั ศักยภาพเชงิ พ้ืนท่ี ศักยภาพคน • ขน้ั ตอนคน้ หาปญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ ไดแ้ ก่ การทำ� แผนทเี่ ดนิ ศกั ยภาพความสมั พนั ธท์ ส่ี ามารถระดมเพอ่ื ขบั เคลอื่ นการท�ำงาน ดนิ โครงสรา้ งองคก์ รชุมชน ผงั เครือญาติ ปฏทิ นิ ชมุ ชน ระบบ ทีย่ ากได้ สุขภาพชุมชน และการสนทนากลุ่ม หรือการใช้แบบสอบถาม • ความสมั พนั ธใ์ นการทำ� งานทด่ี กี บั ชมุ ชน เพราะวา่ อาจ เพ่ิมเติม มีโครงใหม่ๆ ที่ดีย่ิงขึ้นกว่าเดิมสามารถพัฒนาข้ึนได้บนความ • ขนั้ ตอนการสะทอ้ นผลการศกึ ษาสกู่ ลมุ่ เพอ่ื สรา้ งความ สมั พนั ธท์ ดี่ กี บั ชมุ ชนนน่ั เอง กระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ ง เข้าใจในปญั หาร่วมกัน ได้แก่ การจดั เวทชี ุมชน การประชุมกลมุ่ มสี ว่ นรว่ ม จะชว่ ยใหร้ จู้ กั คน และเขา้ ใจความสมั พนั ธต์ า่ งๆ รวมทง้ั • ขน้ั ตอนการจดั ท�ำแผนเพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนา ได้แก่ ช่วยให้เข้าใจเร่ืองท่ีมีความอ่อนไหวและเปราะบางของชุมชน การใช้เทคนิค SWOT เทคนิคการท�ำแผนแบบมีส่วนร่วมด้วย ซง่ึ จะชว่ ยเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนได้เปน็ อย่างดี วิธี AIC • การเรียนรู้จากการปฏิบัติ เนื่องจากชุมชนมีลักษณะ • ขั้นตอนการปฏิบัติตามแผน ได้แก่ การสังเกต การ เฉพาะตัว ไม่มีชุมชนใดเหมือนกัน ไม่สามารถลอกเลียนแบบ สัมภาษณ์ การตั้งค�ำถามเพ่ือค้นหาผลจากการปฏิบัติ การจัด อย่างจากชุมชนหนึ่งไปใช้กับอีกชุมชนหนึ่งโดยไม่มีการปรับ ประชุมกลุ่มเพ่ือสะทอ้ นปญั หา ประยุกต์ได้ ดังน้ันต้องเรียนรู้อย่างท่ีชุมชนนั้นเป็น และต้อง • ข้ันตอนการประเมนิ ผล ไดแ้ ก่ เทคนิคการประเมนิ ผล เปน็ การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ริ ว่ มกบั ชมุ ชน ไมใ่ ชเ่ รยี นรแู้ ยกขาด การประชมุ กลมุ่ การระดมสมอง เพอ่ื ใชต้ รวจสอบผลจากการปฏบิ ตั ิ ออกจากวถิ ีชวี ติ จริงของชุมชน เอกสารอา้ งองิ ISSN:1686-1612 วรรณดี สุทธินรากร. (2556). การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ: การวจิ ัยเพอ่ื เสรีภาพและการสรรค์สร้าง. กรงุ เทพฯ : สยามปรทิ ัศน์. วรรณดี สุทธนิ รากร. (2557). การวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มและกระบวนการทางสำ� นึก. กรุงเทพฯ : สยามปรทิ ัศน.์ โกมาตร จงึ เสถียรทรัพย์ และคณะ (2556). วิถีชมุ ชน เครื่องมอื 7 ช้ิน ท่ที �ำให้งานชุมชนงา่ ย ได้ผล และสนกุ . พมิ พ์ครง้ั ที่ 11.นนทบรุ :ี สขุ ศาลา Research No.29 january 2015
30 พึง่ พาธรรมชาติ การศกึ ษาประสทิ ธิภาพ ในการบำ� บดั นำ�้ เสียของผกั ตบชวาในคลองโรงเจ ปัญจา ใยถาวร จิตตมิ า จารเุ ดชา สเุ ทยี บ ศรลี าชัย ชญานนิ น�้ำเย้ือง ชวลา เสยี งลำ้� อนพุ งษ์ ปณุ โณทก กรณิการ์ ย่ิงยวด และ สุไพลนิ ศรีกงพาน 1. เหตุผลความจ�ำเป็น เพื่อบรรเทาปัญหาความเน่าเสียของน้�ำในคลองโรงเจตาม คลองโรงเจเป็นคลองท่ีเชื่อมต่อระหว่างคลองปฎิรูป แนวทางพระราชด�ำริในการใชพ้ ชื น้ำ� มาชว่ ยในการบำ� บัดนำ�้ เสีย และแม่น�้ำท่าจีน โดยมีความยาวประมาณ 3.45 กิโลเมตร ต้ัง จากชมุ ชน อยู่ในเขตพื้นทีข่ องตำ� บลลานตากฟ้า อำ� เภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม ซง่ึ อยภู่ ายใตโ้ ครงการ “ตำ� บลความเตรยี มพรอ้ ม” เพอ่ื การป้องกันอุทกภัยในพื้นท่ีฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้คลองโรงเจเป็นคลองหนึ่งซ่ึงอยู่ภายใต้แผนงานเพื่อฟื้นฟู คณุ ภาพนำ�้ ในคลอง เนอ่ื งจากปจั จบุ นั คณุ ภาพนำ�้ ในคลองโรงเจ มีสภาพเส่ือมโทรมลงมาก น�้ำเน่าเสีย มีสีด�ำ และมีกลิ่นเหม็น สาเหตจุ ากคลองโรงเจมวี ัชพชื นำ้� ขึ้นอย่างหนาแน่น (รปู ที่ 1, 2) และได้มีการสร้างประตูกั้นน�้ำในคลองโรงเจ จึงท�ำให้น�้ำใน คลองโรเจไม่สามารถไหลเวียนถ่ายเทได้อย่างสะดวก รวมถึง รูปท่ี 1 สภาพคลองโรงเจที่มพี ชื น�้ำ รูปท่ี 2 สภาพนำ้� ในคลองโรงเจมีสดี �ำ มีการระบายน้�ำทิ้งชุมชนที่ไม่ได้ผ่านการบ�ำบัดจากหมู่บ้าน ขึน้ หนาแน่น และกลิ่นเหมน็ โดยรอบลงสู่คลองโรงเจโดยตรง เนื่องจากระบบบ�ำบัดน้�ำเสีย 2. วัตถปุ ระสงค์ ชมุ ชนของหมบู่ า้ นชำ� รดุ และไมไ่ ดท้ ำ� การซอ่ มแซมเพอ่ื ใหใ้ ชง้ าน เพ่ือศึกษารูปแบบการใช้ผักตบชวาท่ีเหมาะสม และ ไดต้ ามปกติ จงึ ทำ� ใหช้ มุ ชนทอ่ี าศยั อยใู่ นบรเิ วณรอบๆ คลองโรงเจ ประสิทธิภาพในการบำ� บัดนำ�้ เสยี ในคลองโรงเจ ได้รับผลกระทบเป็นจำ� นวนมาก 3. ขอบเขตของการศกึ ษา กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและ ศึกษาปริมาณและระยะเวลาของผักตบชวาท่ีปลูกในแพ ฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม จึงได้ด�ำเนินโครงการศึกษาการใช้ ขนาด 1 ตารางเมตร ท่ีจะให้ประสิทธิภาพในการบ�ำบัดน�้ำเสีย ผักตบชวา เพื่อช่วยบ�ำบัดและฟื้นฟูคุณภาพน้�ำในคลองโรงเจ ในคลองโรงเจสูงสุด โดยการตรวจวัดคุณภาพน้�ำและประเมิน Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
พ่งึ พาธรรมชาติ 31 ประสทิ ธภิ าพในการบ�ำบดั จาก 4 พารามเิ ตอร์ คอื คา่ ออกซเิ จน 5.3 ก�ำหนดพ้ืนท่ีท่ีจะติดตั้งแพผักตบชวาในคลองโรงเจ ละลายน�้ำ (DO) ค่าความสกปรกของน้�ำในรูปบีโอดี (BOD) โดยได้เลือกพื้นท่ีบริเวณต้ังแต่ประตูระบายน�้ำด้าน อบต. ปรมิ าณไนโตรเจน (TKN) และฟอสฟอรัส (TP) มหาสวัสดิ์ มาจนถงึ บริเวณสะพานปนู ข้ามคลอง รวมระยะทาง ประมาณ 180 เมตร 4. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั 5.4 จดั ทำ� แพผกั ตบชวาขนาด 1 ตารางเมตร ซงึ่ แพผกั ตบ 4.1 รูปแบบการใช้ผักตบชวาท่ีเหมาะสม และมี ชวาจะทำ� ดว้ ยวสั ดทุ อ่ พวี ซี ี (PVC) ทมี่ ขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 4 นว้ิ ประสิทธิภาพในการบำ� บดั น้ำ� เสยี สำ� หรบั ฟืน้ ฟู คุณภาพน้ำ� ใน โดยมีขนาดกวา้ ง 1 เมตร และยาว 1 เมตร คลองโรงเจ 5.5 ระดมชุมชนลอกคลองก�ำจัดพืชน�้ำที่ข้ึนอย่างหนา 4.2 คุณภาพน�้ำในคลองโรงเจมีคุณภาพดขี นึ้ แนน่ ในคลองโรงเจออกไป 4.3 มีการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ� ในคลองโรงเจ เพอื่ ใหส้ ามารถน�ำไปใช้ประโยชนไ์ ดม้ ากข้นึ 5.6 ติดตั้งแพผักตบชวาในพ้ืนที่คลองโรงเจท่ีได้ก�ำหนด ไว้ โดยวางแพสลับฟันปลา ระยะห่างระหว่างแพประมาณ 10 5. วธิ ีด�ำเนนิ การวจิ ยั เมตร จ�ำนวน 15 แพ โดยในแต่ละแพจะใสผ่ กั ตบชวาน้ำ� หนกั 4 การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพในการบำ� บดั นำ้� เสยี ของผกั ตบชวา กโิ ลกรัม (นำ�้ หนักเปยี ก) (รูปท่ี 3, 4 และ 5) ในคลองโรงเจ ได้มีการด�ำเนินการซึ่งประกอบด้วยข้ันตอน 5.7 ตรวจวดั คณุ ภาพนำ้� ทกุ 15 วนั เพอื่ ประเมนิ คณุ ภาพ น�้ำในคลองโรงเจ ดงั ต่อไปนี้ 5.8 วิเคราะห์และประมวลผลประสิทธิภาพของแพ 5.1 ส�ำรวจพ้ืนที่และเก็บรวบรวมข้อมูลสภาพ บรเิ วณคลองโรงเจ ผกั ตบชวาทีเ่ หมาะสมในการบ�ำบดั นำ�้ เสยี ในคลองโรงเจ 5.2 สำ� รวจและตรวจวัดคณุ ภาพน�้ำบรเิ วณคลองโรงเจ รูปที่ 3 ตำ� แหนง่ การติดตั้งแพผกั ตบชวาในคลองโรงเจ รูปที่ 4 ลกั ษณะการติดต้งั แพผกั ตบชวา ISSN:1686-1612 รปู ที่ 5 การตดิ ตั้งแพผักตบชวาในคลองโรงเจ Research No.29 january 2015
32 พ่งึ พาธรรมชาติ 6. ผลการทดลอง 6.1 ขอ้ มลู การวเิ คราะหค์ ุณภาพนำ�้ ผลการวเิ คราะห์คณุ ภาพน้�ำในคลองโรงเจ ระหวา่ งเดือนมกราคม 2557 – มถิ ุนายน 2557 แสดงในตารางที่ 1 โดยแสดง เป็นค่าเฉล่ียของพารามิเตอร์ 4 พารามิเตอร์ คือ ค่าออกซิเจนท่ีละลายน�้ำ (DO) ค่าปริมาณสารอินทรีย์ในรูปบีโอดี (BOD) ค่าปรมิ าณไนโตรเจนในรปู TKN และค่าปริมาณฟอสฟอรสั ทง้ั หมด (TP) ตารางที่ 1 คา่ เฉลีย่ พารามเิ ตอร์ทว่ี เิ คราะห์ (มลิ ลกิ รัมต่อลติ ร) ระหวา่ งเดือนมกราคม 2557 – มิถุนายน 2557 วนั ทเ่ี ก็บ ระยะเวลา DO BOD TKN TP หมายเหตุ ตวั อยา่ ง (วนั ) 24 ม.ค.57 1 0.2 15 7 0.7 เริม่ ใส่แพผักตบชวา 5 ก.พ.57 13 0.8 13 7 0.6 20 ก.พ.57 28 0.9 8 4 0.4 5 มี.ค.57 41 1.0 6 3 0.3 17 มี.ค.57 53 0.9 7 4 0.3 เปล่ียนผกั ตบชวาในแพ 3 เม.ย.57 69 1.1 3 2 0.2 23 เม.ย.57 89 0.9 3 5 0.2 8 พ.ค.57 104 1.2 7 2 0.4 22 พ.ค.57 118 0.5 11 11 0.9 3 ม.ิ ย. 57 130 0.4 12 14 1.2 จากคา่ ในตารางท่ี 1 พบวา่ เมอ่ื เวลาผา่ นไป การเพม่ิ ขนึ้ กราฟท่ี 1 แสดงค่าปรมิ าณออกซิเจนละลายนำ้� ในคลองโรงเจ ของค่า DO และการลดลงของค่า BOD, TKN และ TP หลังจากติดตั้งแพผักตบชวา เมื่อเวลาผ่านไป 53 วัน ค่าของพารามิเตอร์ที่ตรวจวัดได้เริ่มเปล่ียนไปในทาง ตรงกันข้าม โดยค่าของ DO เริ่มลดลง ส่วนค่าของ BOD, TKN, และ TP เร่ิมสูงขึ้น จึงได้ท�ำการตัดหรือ รื้อถอนผักตบชวาในแพออก เพื่อให้มีผักตบชวาในแพ เหลอื ประมาณ 4 กโิ ลกรมั ตอ่ แพเทา่ เดมิ และทำ� การตรวจ วดั คณุ ภาพนำ�้ ตอ่ ไปอกี และพบวา่ การเพมิ่ ขนึ้ ของคา่ DO และการลดลงของคา่ BOD, TKN และ TP หลงั การเปลยี่ น ผกั ตบชวาแลว้ จะใชเ้ วลาประมาณ 16 วนั กเ็ รมิ่ มแี นวโนม้ ท่ีค่าท่ีวัดได้จะเปลี่ยนไปในทางตรงกันข้ามเช่นเดียวกับ การตรวจวัดในครั้งแรก และก็เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึง ประมาณ 130 วนั ซงึ่ ไดแ้ สดงผลการตรวจวดั คา่ ออกซเิ จน ที่ละลายน้�ำ (DO) ค่าปริมาณสารอินทรีย์ในรูปบีโอดี (BOD) ค่าปริมาณไนโตรเจนในรูป TKN และค่าปริมาณ ฟอสฟอรสั ทง้ั หมด (TP) ในรปู กราฟท่ี 1, 2, 3 และ 4 Research No.29 january 2015ISSN:1686-1612
พ่งึ พาธรรมชาติ 33 ค่าปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำในคลองโรงเจก่อนติดต้ัง แล้วจะเริ่มเพิ่มขึ้นเป็น 4 mg/l และเมื่อได้มีการเปลี่ยน แพผักตบชวามีค่าประมาณ 0.2 mg/l และเมื่อมีการติดต้ังแพ ผักตบชวาในแพ ค่า TKN กจ็ ะเร่ิมลดลงเหลอื ประมาณ 2 mg/l ผักตบชวา ค่าปริมาณออกซิเจนละลายน้�ำจะคอ่ ยๆ เพ่มิ สงู ขน้ึ ในระยะเวลา 16 วัน (วันที่ 53-69) แล้วหลังจากน้ันค่า TKN ถงึ 1 mg/l ในระยะเวลา 40 วนั แลว้ จะลดลงเหลอื 0.9 mg/l ก็จะเริ่มเพม่ิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนถงึ 14 mg/l และเมื่อไดม้ ีการเปล่ยี นผกั ตบชวา ค่าปรมิ าณออกซเิ จนละลาย น�้ำก็เพ่มิ สงู ขึ้นเปน็ 1.1 mg/l ในระยะเวลา 16 วัน (วันที่ 53-69) แล้วหลังจากนั้นค่าปริมาณออกซิเจนละลายน้�ำก็จะเริ่มลดลง เรอ่ื ย ๆ จนเหลอื 0.4 mg/l กราฟท่ี 4 แสดงค่า TP ในคลองโรงเจ ค่า TP ในคลองโรงเจก่อนติดตั้งแพผักตบชวามีค่า ประมาณ 0.7 mg/l และเมอ่ื มกี ารตดิ ตงั้ แพผกั ตบชวา คา่ TP จะ ค่อยๆ ลดลงจนเหลือประมาณ 0.3 mg/l ในระยะเวลา 40 วนั และเมื่อได้มีการเปล่ียนผักตบชวาในแพ ค่า TP ก็จะเริ่มลด กราฟที่ 2 แสดงค่า BOD ในคลองโรงเจ ลงเหลือประมาณ 0.2 mg/l ในระยะเวลา 16 วัน (วนั ท่ี 53-69) แล้วหลงั จากน้ันคา่ TP ก็จะเริม่ เพม่ิ ขึ้นเร่ือยๆ จนถึง 1.2 mg/l ค่า BOD ในคลองโรงเจก่อนติดต้ังแพผักตบชวามีค่า ประมาณ 15 mg/l และเมอื่ มกี ารตดิ ตงั้ แพผกั ตบชวา ค่า BOD จะค่อยๆ ลดลงจนเหลอื ประมาณ 6 mg/l ในระยะเวลา 40 วนั 6.2 ประสทิ ธภิ าพของแพผกั ตบชวาในการบ�ำบดั น้ำ� เสยี แลว้ จะเรมิ่ เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 7 mg/l และเมอื่ ไดม้ กี ารเปลย่ี นผกั ตบชวา ประสิทธิภาพของแพผักตบชวาในการบ�ำบัดน้�ำเสีย ในแพ คา่ BOD กจ็ ะเรม่ิ ลดลงเหลอื ประมาณ 3 mg/l ในระยะเวลา ในคลองโรงเจพบว่า จะสามารถลดปริมาณค่า BOD ลงได้ 16 วนั (วนั ที่ 53-69) แล้วหลังจากนั้นค่า BOD ก็จะเร่ิมเพ่ิมขน้ึ ร้อยละ 58.5 ปริมาณ TKN ลงได้ ร้อยละ 53.5 และปริมาณ เรื่อยๆ จนถงึ 12 mg/l TP ลงได้ ร้อยละ 45 ดังแสดงในตารางที่ 2 โดยปริมาณ ความหนาแน่นของผักตบชวาจะมีผลต่อระยะเวลาในการ ใช้บ�ำบัดน�้ำเสีย โดยถ้าปริมาณความหนาแน่นของผักตบชวา เป็น 4 kg ผักตบชวา/kg BOD จะใช้ได้ในช่วงเวลา 40 วัน สว่ นปรมิ าณความหนาแนน่ ของผกั ตบชวาท่ี 8.5 kg ผกั ตบชวา/kg BOD จะใช้ได้ในช่วงเวลาเพียง 16 วัน ซ่ึงหลังจากระยะเวลา ดงั กลา่ วแลว้ ประสทิ ธภิ าพในการบำ� บดั นำ�้ เสยี ของแพผกั ตบชวา จะลดลง ทั้งนี้เน่ืองจากปริมาณผักตบชวาที่เจริญเติบโต หนาแน่นมาก และอยู่ในพ้ืนท่ีจ�ำกัด จึงท�ำให้ไม่สามารถเจริญ เติบโตขยายพันธุ์โดยการแตกหน่อ และแตกไหลเป็นต้นใหม่ ไดด้ นี กั รวมทง้ั ปรมิ าณธาตอุ าหารทม่ี อี ยใู่ นนำ�้ กอ็ าจมไี มเ่ พยี งพอ ต่อการเจริญเติบโตของผักตบชวา จึงท�ำให้ผักตบชวาเร่ิมตาย กราฟที่ 3 แสดงค่า TKN ในคลองโรงเจ ลง และทำ� ใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการบำ� บดั นำ�้ เสยี ของแพผกั ตบชวา ค่า TKN ในคลองโรงเจก่อนติดตั้งแพผักตบชวามีค่า ลดลง นอกจากน้ันผักตบชวาที่เร่ิมตายลงก็อาจจะเป็นการเพ่ิม ประมาณ 7 mg/l และเมื่อมีการติดต้ังแพผักตบชวา ค่า TKN ปรมิ าณ BOD ให้กบั แหลง่ น้ำ� ดว้ ย จงึ ท�ำให้ปรมิ าณ BOD ในน้�ำ จะค่อยๆ ลดลงจนเหลือประมาณ 3 mg/l ในระยะเวลา 40 วนั สงู ขึ้นเรือ่ ยๆ ดงั แสดงในกราฟท่ี 2 Research No.29 january 2015 ISSN:1686-1612
34 พง่ึ พาธรรมชาติ ตารางที่ 2 แสดงประสทิ ธภิ าพในการบ�ำบัดนำ�้ เสยี ระยะ ความหนาแน่นของผกั ตบชวา ประสทิ ธภิ าพในการบ�ำบัด ร้อยละ เวลา BOD TKN TP ครงั้ ที่ 1 40 วัน 4 kg ผักตบชวา/kg BOD รอ้ ยละ 60 ร้อยละ 57 รอ้ ยละ 57 (วันที่ 1-41) 16 วนั 8.5 kg ผกั ตบชวา/kg BOD ร้อยละ 57 รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 33 ครัง้ ท่ี 2 เฉลี่ย ร้อยละ 58.5 ร้อยละ 53.5 ร้อยละ 45 (วันท่ี 53-69) 7. สรปุ ผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะ จากการศกึ ษาวิจยั ในครง้ั นีส้ รุปผลได้ว่า 1. การใชพ้ ชื น้ำ� ในการปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ ในคลองโรงเจ 1. แพผักตบชวาจะสามารถช่วยเพ่ิมปริมาณออกซิเจน เป็นการช่วยลดความสกปรก และความเน่าเสียของน�้ำลงได้ ละลายน�้ำได้ โดยปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำที่เพ่ิมขึ้น ในระดับหน่ึงเท่านั้น การแก้ปัญหาคุณภาพน้�ำในคลองโรงเจ จะสมั พนั ธก์ ับปริมาณ BOD ในน�้ำที่ลดลง ที่จะได้ผลดี จ�ำเป็นท่ีจะต้องมีการสร้างระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 2. ประสิทธิภาพในการบ�ำบัดน�้ำเสียของแพผักตบชวา ทถ่ี ูกต้องตามหลักวชิ าการตอ่ ไป พบว่า สามารถลดปริมาณสารอินทรีย์ในรูป BOD, ไนโตรเจน 2. การใชแ้ พผกั ตบชวาในการบำ� บดั นำ�้ เสยี เพอื่ การฟน้ื ฟู (TKN), และฟอสฟอรัส (TP) ได้เท่ากับรอ้ ยละ 58.5, 53.5 และ คุณภาพน้�ำในแหล่งน้�ำจะต้องค�ำนึงถึง คุณภาพความเน่าเสีย 45 ตามลำ� ดับ ของน้�ำในแหล่งน้�ำ ปริมาณความหนาแน่นของผักตบชวา 3. อัตราความหนาแน่นของผักตบชวาต่อพ้ืนที่ท่ีใช้เป็น ที่จะใช้ และระยะเวลาในการเก็บเก่ียวผักตบชวาออกจากแพ 4 kg ผกั ตบชวา/ตารางเมตร/แพ จงึ จะทำ� ให้ได้ผลดี 4. การใช้แพผักตบชวาในการบ�ำบัดน�้ำเสีย จะต้อง 3. การใช้พืชน้�ำในการปรับปรุงคุณภาพน้�ำ จ�ำเป็นที่จะ พิจารณาถึงระยะเวลาท่ีสามารถใช้ในการบ�ำบัดน้�ำเสียได้ ต้องมีการดูแล และการจัดการพืชน้�ำที่ใช้ รวมถึงวัชพืชต่างๆ โดยพบวา่ ถา้ ใชอ้ ตั ราความหนาแนน่ ของผกั ตบชวาที่ 4 kg/kg BOD ทเี่ กดิ ขน้ึ ในคลอง เพอื่ ไมใ่ หม้ มี ากจนเกนิ ไปดว้ ย มฉิ ะนนั้ อาจกอ่ ระยะเวลาทจี่ ะสามารถใชใ้ นการบำ� บดั นำ�้ เสยี ไดป้ ระมาณ 40 วนั ใหเ้ กดิ การเนา่ เสยี ของน้ำ� มากขนึ้ อีก แตถ่ ้าใชอ้ ัตราความหนาแนน่ ของผกั ตบชวาที่ 8.5 kg/kg BOD 4. สามารถคัดเลือกพืชน้�ำชนิดอื่นท่ีเหมาะสมในแต่ละ ระยะเวลาท่ีจะสามารถใช้ในการบ�ำบัดน�้ำเสียได้จะประมาณ พื้นที่มาใช้ในการบ�ำบัดและฟื้นฟูคุณภาพน�้ำในแหล่งน�้ำได้ 16 วัน ซึ่งหลังจากระยะเวลาที่สามารถใช้ในการบ�ำบัดน�้ำเสีย แต่จะต้องมีการศึกษาวธิ กี ารจัดการท่ีเหมาะสมดว้ ย ได้แล้ว ประสิทธิภาพในการบ�ำบัดน้�ำเสียของแพผักตบชวา จะลดลง จงึ ตอ้ งมกี ารจดั การเกบ็ เกยี่ ว หรอื ลดปรมิ าณผกั ตบชวา ในแพออกไป เอกสารอ้างอิง ISSN:1686-1612 สริ ิสดุ า หนูทิมทอง, สมพจน์ กรรณนชุ , ววิ ัฒน์ ศลั ยก�ำธร, ธวชั ชัย ศุภดษิ ฐ.์ ประสทิ ธภิ าพการบ�ำบดั น้ำ� เสียดว้ ยวิธธี รรมชาติบำ� บดั กรณีศกึ ษา ศูนย์ ศึกษาธรรมชาติมาบเอ้อื ง. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม กรกฎาคม-ธันวาคม 2552; ปีท่ี 5; เลม่ ท่ี 2: 74-88. อวกิ า นมุ่ นวล. การใชผ้ กั ตบชวาบำ� บดั สใี นนำ้� เสยี ภายหลงั การตกตะกอน. ภาควชิ าวทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ; 2555; 1-76. ธัญลักษณ์ พรมสพุ จน์. การใชผ้ กั ตบชวาบำ� บดั สีในน�ำ้ เสียภายหลงั การบ�ำบัดดว้ ยระบบถังเติมอากาศ. ภาควชิ าวิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 2555; 1-72. Research No.29 january 2015
ISSN:1686-1612 ERTC Update 35 โครงการส่งเสริมฉลากสิ่งแวดล้อมประเภทที่ 2 แบบรับรองตนเอง (self declare ) สำ�หรับผลิตภัณฑ์ชุมชน รัฐ เรืองโชตวิ ทิ ย์ เน่ืองด้วยผู้ประกอบการสินค้าที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ท่ีได้ผ่านการประกาศรับรองตนเอง ตามมาตรฐาน ฉลากส่ิงแวดล้อมประเภทท่ี 2 แบบรับรองตนเอง (self declare) ตามมาตรฐาน ISO 14021 ตามโครงการส่งเสริมฉลาก สิ่งแวดล้อมประเภทที่ 2 แบบรับรองตนเอง (self declare ) ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้จัดต้ังชมรม Eco green one โดยการสนับสนุนของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้จัดกิจกรรมน�ำเสนอสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการให้ความรู้ ในประเด็นส่ิงแวดลอ้ มในงาน Otop city 2014 จัดข้นึ ระหว่างวนั ที่ 16-24 ธันวาคม 2557 ณ ศนู ยป์ ระชุมอมิ แพค เมอื งทองธานี จ.นนทบรุ ี จดั โดยกรมการพฒั นาชมุ ชน โดยมผี ูป้ ระกอบการเข้ารว่ มกวา่ 20 ราย ในกลุ่มตา่ งๆ ผา้ ทอ สมุนไพร เครือ่ งสำ� อางค์ น้�ำยาซักล้าง เครื่องประดับ อุปกรณ์ไล่ยุง เป็นต้น โดยผู้ประกอบการจัดแสดงสินค้า โดยในงานดังกล่าวได้จัดแสดงสินค้า ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมมีกิจกรรมร่วมกับผู้เข้าเยี่ยมชม มีการแจกต้นไม้ให้กับผู้เข้าชมงานด้วย และศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มไดจ้ ดั แสดงวดี ที ศั นแ์ นะนำ� ฉลากสง่ิ แวดลอ้ ม แจกหนงั สอื และนทิ รรศการแสดงความรู้ ฉลากสิ่งแวดล้อมประเภทที่ 2 แบบรับรองตนเองโดยได้รับความสนใจจากประชาชนและหน่วยงานต่างๆ เข้าเยี่ยมชม และรว่ มทำ� กจิ กรรมกว่า 100,000 คน ตลอดท้ังงาน Research No.29 january 2015
36 ERTC Update ประชุมวิชาการนานาชาติภายใต้หัวข้อ “The 3rd International Conference of Asian Environmental Chemistry” กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและ ฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม ร่วมเป็นเจ้าภาพกับกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคม เคมสี ง่ิ แวดลอ้ ม ประเทศญปี่ นุ่ และมหาวทิ ยาลยั United Nations University ประเทศญ่ีปุ่น ในการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “The 3rd International Conference of Asian Environmental Chemistry” ระหวา่ งวนั ที่ 24-26 พฤศจกิ ายน 2557 ณ สถาบันวจิ ยั จุฬาภรณ์ หลักส่ี กรงุ เทพมหานคร โดยมี นายชวชั อรรถยุกติ รองประธานสถาบนั วิจัยจุฬาภรณ์ ฝา่ ยวิเทศสัมพันธ์ เปน็ ผแู้ ทนพระองคใ์ นพธิ เี ปดิ การประชมุ ดงั กลา่ ว ซงึ่ ภายในงานมพี ธิ มี อบโลข่ อบคณุ ใหแ้ กห่ นว่ ยงานทร่ี ว่ มเปน็ เจา้ ภาพและวทิ ยากร พรอ้ มทง้ั มกี ารจดั แสดงนทิ รรศการผลงานของนกั วจิ ยั จากสถาบนั ตา่ งๆ ทง้ั ภายในประเทศและภายนอกประเทศ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยและนักวิชาการส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย จากภาครัฐ เอกชนและสถาบันการศึกษาต่างๆ สามารถ เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการตลอดจนมโี อกาสแลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณง์ านวจิ ยั และงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งทาง ด้านสิ่งแวดล้อม กับนักวิจัยและนักวิชาการสิ่งแวดล้อมจากประเทศสมาชิกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบ เอเชีย-แปซฟิ กิ ได้ ซึง่ จะเป็นการยกระดบั งานวจิ ยั ท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ ประเทศไทยและเป็นการสร้างเครือขา่ ยงานวิจยั ในอนาคต โครงการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ด้านสิ่งแวดล้อม ได้จัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การ เขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ในระหว่างวันที่ 14 – 17 มกราคม 2558 ณ ศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม และบา้ นสวนรจนา รสี อรท์ จงั หวดั สระบุรี เพ่ือพัฒนาศักยภาพและความสามารถของนักวิจัยรุ่นใหม่ ตลอด จนพัฒนาองค์ความรู้ด้านการจัดการส่ิงแวดล้อมผ่านกระบวนการการเขียน ข้อเสนอโครงการวิจัย (แบบ ว1ด) พัฒนาเทคนิคและวิธีการเขียนข้อเสนอ โครงการวิจัยที่ถูกต้องและมีคุณภาพ ตรงตามหลักเกณฑ์การประเมินของ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือแหล่งทุนอ่ืนๆ โดยมี นายโสฬส ขันธ์เครือ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มประสานความร่วมมือนักวิจัยด้านส่ิงแวดล้อม กล่าวเปิดการฝึกอบรมดังกล่าว ส�ำหรับการจัดฝึกอบรมครั้งน้ี ได้รับเกียรติ จาก นางสนุ ันทา สมพงษ์ ผู้อ�ำนวยการกองบริหารแผนและงบประมาณการ วิจัย และรักษาการที่ปรึกษาด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ จากส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ และนายเวชยันต์ เฮงสวุ นชิ ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นการประเมินขอ้ เสนอโครงการวจิ ัย ใหเ้ กียรตเิ ป็นวทิ ยากร Research ISSN:1686-1612 ปที ่ี 12 ฉบับท่ี 29 มกราคม 2558 ศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เทคโนธานี ต�ำบลคลองห้า อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 02-557-4182-9 โทรสาร 02-557-1138 www.deqp.go.th/website/20/
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: