Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไทย

ไทย

Published by ม.ปลาย, 2019-08-04 21:11:55

Description: เื้อหาต้องรู้ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

45 การนําคําจากภาษาอื่นมาแปลงเสียง เชน เสยี ง - สาํ เนยี ง อวย - อาํ นวย ชุม - ชอุม วธิ ี - พิธี - วหิ าร - พิหาร การประสมคาํ เชน ตูเยน็ พดั ลม แมนํา้ การบญั ญัตคิ ําขึ้นใหม เชน โทรทัศน วดิ ีทัศน โลกกาภวิ ัฒน วิสยั ทศั น 10. ภาษาไทยมคี าํ สรอ ยหรือเสรมิ บทเพอื่ ใหไ พเราะนาฟง เชน กินขาวกนิ ปลา ไปลามาไหว เออออหอ หมก เร่อื งที่ 2 ถอยคาํ สาํ นวน คาํ พังเพย สุภาษติ ถอยคําสาํ นวน หมายถงึ ถอ ยคาํ ที่นํามาเรยี บเรยี งใหมเ กดิ ความหมายใหมขึ้นทไ่ี มใช ความหมายโดยตรงแตผ ูฟ ง จะเขาใจไดท ันที เชน ปากหวาน ใจใหญ ใจกวาง แมพระ พอพระ สาํ นวนไทย หมายถงึ ถอ ยคําทเ่ี รยี บเรยี งและใชกันอยา งแพรหลาย เขาใจความหมายได ทนั ที เชน ปากหวาน ใจออ น ใจแข็ง ใจงา ย มอื เบา ลกั ษณะของสาํ นวนไทย มี 5 ลักษณะคอื 1. สํานวนไทยมคี วามหมายโดยนยั เชน กินดิบ - ชนะโดยงายดาย กนิ โตะ - รุมทาํ รา ย กินหญา - โงไมม คี วามคดิ 2. สาํ นวนไทยมีความหมายใหตีความอยใู นตัว เชน เกลอื เปนหนอน กนิ ปูนรอนทอ ง ในนาํ้ มีปลาในนามีขาว ไกลปนเท่ียง 3. สาํ นวนไทยมีความหมายในเชงิ เปรียบเทยี บหรือคาํ อปุ มา เชน แข็งเหมือนเพชร ชาย ขา วเปลือกหญิงขาวสาร ใจดําเหมอื นอีกา 4. สาํ นวนไทยมลี กั ษณะคาํ คมหรือคาํ กลา ว เชน ซ่ือกินไมหมดคดกนิ ไมน าน หาเชากินคํ่า รักยาวใหบ ่นั รกั สั้นใหต อ 5. สํานวนไทยทม่ี ีเสียงสมั ผสั คลองจองกนั เชน ขา วแดงแกงรอน ประจบประแจง เกบ็ หอมรอมริบ สาํ นวน หมายถึง กลุม คําหรือวลีทีน่ ํามาใชใ นความหมายทีแ่ ตกตา งไปจากความหมายของคําเดิม เชน เร่ืองกลว ย ๆ ไมไดหมายความถงึ เร่ืองของผลไม แตห มายความวา เปนเร่อื งงาย ๆ ปากหวาน หมายความวา พูดเพราะ ลูกหมอ หมายถงึ คนเกา คนแกข ององคกรใดองคก รหนง่ึ เฒา หัวงู หมายถึง ชายสูงอายุที่มีนสิ ยั เจา ชู คาํ พงั เพย มคี วามหมายลึกซึ้งกวา สาํ นวนเปนคําท่ีกลา วขึ้นลอย ๆ และเปนกลาง ๆ มีความหมาย ในการติชมหรือแสดงความคิดเห็นอยูในตัวเอง เชน เห็นกงจักรเปนดอกบัว หมายถึง เห็นสิ่งผิด

46 เปนสงิ่ ทดี่ งี าม หรอื เหน็ ผิดเปนชอบ รําไมดีโทษปโทษกลอง หมายถึง คนที่ทําผิดแตไมโทษตัวเอง กลับไปโทษคนอื่นแทน สุภาษิต หมายถึง คําที่กลาวไวดี คําพูดที่ยึดถือเปนคติส่ังสอนใหทําความดี ซ่ึงคําสุภาษิต สวนใหญจ ะเกดิ จากหลกั ธรรมคาํ สอนทางศาสนา เหตุการณหรือบุคคลสําคัญท่ีเปนท่ีเคารพนับถือ ของประชาชนสวนใหญ เชน ทําดีไดดี ทําช่ัวไดชั่ว ความพยายามอยูท่ีไหนความสําเร็จอยูท่ีนั่น ใจเปนนายกายเปน บาว ทีใ่ ดมรี ักทน่ี ่นั มที กุ ข เรอ่ื งท่ี 3 ลักษณะของประโยคในภาษาไทย ลกั ษณะของภาษาไทยหนว ยที่เล็กทีส่ ดุ คอื พยางค คํา วลี และประโยค พยางค หมายถึง หนวยทเ่ี ลก็ ท่ีสุดในภาษาไทยทอ่ี อกเสยี งออกมาครั้งหนงึ่ จะมคี วามหมายหรอื ไม กไ็ ด เชน กิ ฉนั ปา เออ คํา หมายถึง หนวยในภาษาไทยท่มี ีความหมายในตัวจะมีกพ่ี ยางคก ็ได เชน มะละกอ 1 คาํ มี 3 พยางค หมายถงึ ผลไมช นิดหน่ึง มลู คา 1 คาํ มี 3 พยางค หมายถงึ ราคา สมยั 1 คาํ มี 2 พยางค หมายถงึ ชวงระยะเวลาหน่งึ วลี หมายถงึ กลมุ คําทม่ี คี ําตง้ั แต 2 คําขึน้ ไปมารวมกนั ท่ีมคี วามหมายแตย ังไมเ ปนประโยค เชน ดอกมะลิ เปน 1 วลี มี 2 คาํ คือ ดอกและมะลิ มี 3พยางค ชายหาดแมรําพึง เปน 1 วลี มี 4 คํา คือ ชาย หาด แม ราํ พึง และมี 5 พยางค ประโยค หมายถึง กลุม คําทนี่ าํ มาเรยี งแลวมีความหมายวา ใครทําอะไร โดยประโยคจะมี 2 สวน คือ ภาคประธานและภาคกริยา เชน ฉันทํางาน ฉันเปนภาคประธาน ทํางาน เปน ภาคกรยิ า ลักษณะของประโยคทแ่ี บงตามเจตนาของการสอ่ื สารได 4 ประเภท คอื 1. ประโยคบอกเลา มเี นอ้ื หาในเชงิ บอกกลาววาใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เชน คุณพอ ไปกรดี ยาง 2. ประโยคปฎิเสธ มีเนื้อหาใจความในทางปฎเิ สธโดยจะมคี ําวา ไม มิใช มไิ ด ไมไ ด ใชว า เชน คนรวยใชวาจะเปน คนดเี สมอไป 3. ประโยคคาํ ถาม มีเน้ือหาของประโยคในเชิงคาํ ถามโดยจะมีคําที่แสดงคาํ ถามวา อะไร ทําไม อยางไร ท่ีไหน ไหม เชน เธอจะไปเที่ยวกบั เราไหม เราจะแกไ ขปญ หานี้อยางไร 4. ประโยคขอรอ งและคาํ สงั่ เปน ประโยคท่ีมีเนือ้ หาบอกใหท ําหรือใหป ฎิบัติตามตา งกนั ท่ี

47 ประโยคขอรองจะมีคาํ ท่อี อ นโยน สภุ าพมากกวา ประโยคคาํ สง่ั ดังนี้ ประโยคขอรอง เชน โปรดเออ้ื เฟอ แกเ ดก็ สตรแี ละคนชรา ประโยคคาํ ส่ัง เชน ปด ประตูหนาตางใหเ รยี บรอยนะ ลักษณะของประโยคที่แบง ตามโครงสรา งของประโยคได 4 ชนิด คอื 1. ประโยคความเดียว หรือเอกรรถประโยค คอื ประโยคที่มใี จความสําคัญเพยี งใจความ เดยี ว เชน เขาเปน คนมีระเบยี บวนิ ัย คณุ ยายชอบทาํ บญุ 2. ประโยคความรวม แบง เปนลกั ษณะยอ ย ๆ ได 4 ชนิด คือ 2.1 ประโยคคลอ ยตามกนั มักจะมีคาํ สันธาน กับ คร้ัน แลว จึง เช่ือมประโยค เชน พี่กบั นองไปเท่ียวกัน เขาเปน เดก็ ดจี งึ มแี ตคนรกั 2.2 ประโยคขัดแยงกัน มักจะมคี าํ สันธาน แต กวา แตทวา เชอื่ ม เชน ถึงเขาจะรวยแตก็รูจกั ใชจ าย กวาถ่ัวจะสุกงาก็ไหม 2.3 ประโยคใหเ ลือกอยางใดอยา งหนึ่งมกั จะมคี ําสนั ธาน หรือ มิฉะนั้น ไมเชน นน้ั เช่ือม เชน เธอจะซกั ผาหรือถบู า น ตอ งทํางานมิฉะน้ันจะไมม เี งนิ 2.4 ประโยคเปนเหตุเปนผลกัน มีคาํ สันธาน จงึ เพราะ ดงั นน้ั มิฉะน้ัน เชอ่ื ม เชน คนจนเพราะไมข ยันทํากนิ เพราะฝนตกเขาจึงมาสาย 3. ประโยคความซอ น เปน ประโยคท่ีมีความสําคญั เพียงใจความเดียว เรยี กวา มุขยประโยค ประโยคท่ีมีใจความรอง เรียกวา อนปุ ระโยค ซง่ึ มีหนาท่ีขยายสว นใดสวนหน่ึงของประโยคหลัก อนปุ ระโยคมี 3 ชนิด คือ 3.1 นามานปุ ระโยค คือ อนปุ ระโยคที่ทําหนา ท่คี ลา ยคํานาม เชน แมตีลกู พูดคาํ หยาบ แมตลี ูกเปนมุขประโยค ลกู พดู คําหยาบเปน อนปุ ระโยค ครูสอนเด็กทาํ การบา น ครูสอนเด็ก เปน มขุ ประโยค เดก็ ทําการบานเปนอนุประโยค 3.2 คุณานปุ ระโยค อนุประโยค ทําหนาที่ประกอบคาํ นาม หรือคําสรรพนาม เชน ลูกหมาสีดาํ ตายแลว ลกู หมาตายแลว เปน มขุ ประโยค ลูกหมาสดี ี เปน อนุประโยค นอ งคนเล็ก เรยี นจบแลว นอ งเรียนจบแลว เปนมุขประโยค นองคนเล็กเปน อนุประโยค 3.3 วิเศษณานปุ ระโยค อนปุ ระโยคทาํ หนา ทีป่ ระกอบคาํ กรยิ าหรอื คาํ วเิ ศษณ เชน เขากลบั บานเมอ่ื ทกุ คนหลบั แลว (วิเศษณบ อกเวลา) นอ งชายเดินเหมือนพอมาก (แสดงความเปรียบเทียบ) 4. ประโยคระคน เปนการนาํ ประโยคท้ัง 3 ลกั ษณะขางตน มาเขียนตอ เนื่องกนั เปน ขอความยาว ๆ หรอื เปนเรือ่ ง กจ็ ะเปนลักษณะของประโยคระคนเสมอ เชน ครอบครัวของเรามี

48 สมาชกิ จาํ นวน 5 คน ตอนเชา พอ กับแมไปทํางานในขณะทีล่ ูก ๆ ไปโรงเรยี น ตอนเย็นพวกเรา จึงจะไดอยูพรอมหนาพรอมตาและรบั ประทานอาหารเย็นรว มกัน เรอื่ งที่ 4 คาํ สุภาพและคําราชาศพั ท ภาษาไทยเปนภาษาทมี่ ีระดบั ในการใชใหเหมาะสมกับบุคคล สถานการณ เวลา สถานท่ี ในสองลักษณะคอื คําสภุ าพ และคาํ ราชาศัพท คาํ สุภาพ เปน ภาษาระดบั กลางทใ่ี ชไ ดกบั บคุ คลทัว่ ไป ในลักษณะตา ง ๆ ดังน้ี 1. ใชภ าษาหนังสอื ในการพูด แทนบุคคลใกลช ิดในครอบครวั เชน บิดา มารดา ใหแทนคําวา พอ แม สามี - ภรรยา แทน ผัว - เมยี บุตร แทน ลกู 2. ใชคําสุภาพท่เี ก่ยี วของกบั การดําเนนิ ชวี ติ ทว่ั ๆ ไป เชน กิน เปน รับประทานแทน ใชช วี ิต เปนดาํ เนินชวี ิต 3. ใชคาํ สุภาพใหต ดิ ปากในการสนทนาท่ัว ๆ ไป เชน หวั เปน ศีรษะ ตีน เปน เทา 4. ใชคําลงทายประโยคดว ยคาํ ตอบรับ คําทกั ทาย คะ ครับ สวสั ดคี ะ สวัสดคี รบั คําขอโทษ คาํ ขอบคุณ ตามความเหมาะสมกับโอกาสและสถานการณอ ยเู สมอ 5. หลีกเล่ียงการใชภ าษาทจ่ี ะทาํ ใหผ ฟู งไมส บายใจ การใชภ าษาแสลง คําพดู สองแงส องงา ม คํากระทบกระเทยี บเปรียบเปรย 6. ใชคําสภุ าพทงั้ ในภาษาพดู และภาษาเขียนใหถ กู ตอง เพราะในภาษาพดู และภาษาเขียน บางครั้งใชไ มเหมือนกัน เชน ภาษาพดู ภาษาเขียน หมู สุกร หมา สนุ ัข นํ้าทว ม อทุ กภยั ไฟไหม เพลิงไหม , อัคคีภยั คําสุภาพทคี่ วรรูจกั มคี ําบางคาํ ท่คี นสวนใหญใชเ รียกจนเปน ปกติ ซง่ึ ภาษาไทยมคี าํ สภุ าพท่ี ใชเรยี กดวย แตคนสว นใหญไมคอ ยรจู กั คําสภุ าพนั้น เชน ขนมขี้หนู คําสภุ าพ ขนมทราย ผกั ตบ คําสุภาพ ผกั สามหาว ปลาสลิด คาํ สภุ าพ ปลาใบไม ผักบงุ คําสภุ าพ ผกั ทอดยอด สากกะเบือ คาํ สุภาพ ไมตพี รกิ ผกั กระเฉด คําสภุ าพ ผักรนู อน ววั คําสภุ าพ โค ควาย คําสภุ าพ กระบือ

49 คําราชาศพั ท หมายถงึ คําศัพททใ่ี ชสําหรบั บคุ คลที่ควรเคารพนับถือตงั้ แต พระราชา พระราชนิ ี พระบรมวงศานวุ งศ พระภิกษุ ตลอดจนคนสามัญธรรมดา ทม่ี ยี ศมีตําแหนง ในทาง ราชการดวย เน่ืองจากคําราชาศัพทมีทมี่ าจากการปกครองบานเมืองท่ีเปล่ียนแปลงจากแบบ พอ ปกครองลกู เปน พระเจา แผน ดินกบั พลเมือง จงึ เปนการสรา งคาํ ขึ้นใหม ใน 2 ลกั ษณะ คอื 1. ยมื คาํ จากภาษาอน่ื มาใชเ ปนคาํ ราชาศัพท ไดแ ก 1.1 ยืมคําจากภาษาบาลี สันสกฤต เน่ืองจากภาษาบาลี - สันสกฤตเปนภาษาท่ีใชกัน ในศาสนาพุทธและพราหมณ เมื่อยืมคํามาใชในภาษาไทยเปนคําราชาศัพทจะตองเติม พระ หรือ พระราช ขางหนา เชน พระเนตร พระพักตร พระกรรณ พระราชโอรส พระราชธิดา 1.2 ยืมคําจากภาษาเขมร เนื่องจากประเทศไทยกับประเทศกัมพูชามีพื้นท่ีชายแดนที่ ติดตอกัน ทําใหมีการติดตอส่ือสารกันมาชานานทางดานภาษาจึงมีคําไทย ท้ังที่เปนภาษาสามัญ และคาํ ราชาศพั ทท่เี รามกี ารยืมคาํ ภาษาเขมรมาใชเปนจํานวนมาก คําราชาศัพทท่ียืมมาจากภาษา เขมรมีทั้งท่ีเติมคําวา พระ พระราช และไมเติม เชน พระเพลา พระเขนย พระราชดําเนิน พระราชดาํ ริ เสด็จ บรรทม โปรด 1.3 ยมื คําจากภาษามาลายู เนื่องมาจากมีพื้นที่ชายแดนที่ติดตอกันทางภาคใตของไทย คําที่เปนที่รูจักกันดีและนํามาใชในคําราชาศัพท คือ พระศรี จาก sireh แปลวา ใบพลู ในภาษา มาลายู 2. นาํ คําจากภาษาอน่ื มาสรา งเปน คาํ ใหมในลกั ษณะคําประสมของไทย ไดแ ก 2.1 เปน คําไทยทน่ี าํ มาเติมคําวา พระขา งหนา เชน พระพ่นี าง พระอู พระที่ 2.2 เปนคาํ ไทยท่นี ําคําวา ทรง มาเติมขา งหนา เชน ทรงชา ง ทรงมา ทรงเลน 2.3 เปนคําไทยที่นํามาผสมกันใหเปนคําราชาศัพท เชน รับส่ัง เพ่ือนตน หองเครื่อง (ครัว) ชางตน 2.4 นําคําไทยประสมกับคําตางประเทศท่ีใชเปนคําราชาศัพทอยูแลวใหเปนคําราชา ศัพทคําใหม เชน มูล + พระชิวหา เปนมูลพระชิวหา (ล้ินไก) บัน + พระองค เปน บันพระองค (เอว) พาน + พระศรี เปน พานพระศรี (พานหมากพลู) นํ้า + พระทัย เปน น้ําพระทัย เอา + พระทยั + ใส เปน เอาพระทยั ใส การใชคําราชาศัพท การใชคําราชาศัพทท่ีสําคัญคือ จะตองใชใหตรงกับฐานันดรศักด์ิชั้นของ บุคคล ยศตาํ แหนง ใหถกู ตอ งเหมาะสมตามประเพณนี ิยมในท่นี ้จี ะขอกลาวถึงหมวดที่สําคัญและมี ความจําเปน ทจ่ี ะตอ งรู 2 กลุม คอื กลมุ คาํ สรพพนาม และกลุมคํากริยา

50 กลมุ คาํ สรรพนาม จะแบงออกเปน 3 กลมุ ยอ ย คือ 1. คาํ สรรพนามบุรุษที่ 1 (ใชแทนตวั ผพู ูด) บคุ คลทว่ั ไป ใช ขาพระพทุ ธเจา สําหรบั พระราชาหรือเจา นายช้ันสูง เจา นายผูนอย ใช เกลา กระหมอ ม สาํ หรบั เจา นายผูใ หญ เจา นายผูใหญ ใช กระหมอมฉัน สําหรบั เจา นายทีเ่ สมอกัน เจานาย (ชาย) ใช กระหมอ ม สาํ หรับ เจานายเสมอกันหรอื ต่าํ กวา เจา นาย (หญงิ ) ใช หมอมฉัน สาํ หรับ เจา นายเสมอกนั หรอื ตาํ่ กวา บคุ คลทัว่ ไป เกลากระหมอ ม พระภิกษสุ ามเณร ใช เกลา ผม สําหรับ ขา ราชการชัน้ ผูใหญห รอื พระภกิ ษผุ ูใหญท ีน่ บั ถอื มาก เกลาฯ พระภกิ ษสุ ามเณร ใช อาตมาภาพ สาํ หรบั ผูใหญหรือพระภกิ ษสุ งฆท ีน่ บั ถือผนู อย บุคคลทว่ั ไป ใช กระผม ผูใหญ ใช ผม สาํ หรับผูใ หญหรือพระภิกษสุ งฆท ีน่ ับถือผนู อ ย ผูนอย ใช ดิฉนั (หญงิ ) บคุ คลทว่ั ไป ผใู หญ ใช ฉัน สําหรบั บุคคลทวั่ ไป ผูนอ ย ผนู อ ย (ท้ังคฤหสั ถแ ละพระสงฆ) 2. คาํ สรรพนามบุรุษที่ 2 (ใชเรียกผูทส่ี นทนาดวย) เจา นายหรอื บคุ คลท่วั ไป ใช ใตฝา ละอองธลุ พี ระบาท สําหรบั พระเจาอยูหวั หรอื พระราชนิ ี เจานายหรอื บคุ คลทวั่ ไป ใช ใตฝา ละอองธุลพี ระบาท สาํ หรบั พระบรมโอรสาธิราชฯ สมเด็จ พระเทพฯ เจา นายหรือบุคคลทั่วไป ใช ใตฝ า พระบาท สาํ หรบั เจา นายชนั้ สงู เจานายเสมอกันหรือบุคคลทัว่ ไป ใช ฝาพระบาท สาํ หรบั เจา นายชน้ั รองลงมา บุคคลทว่ั ไป ใช พระคณุ เจา สําหรับ พระภิกษทุ ่นี บั ถือ บุคคลทวั่ ไป ใช พระเดชพระคุณ สําหรบั เจานายหรอื พระภิกษุท่ีนบั ถอื พระภกิ ษุสามเณร ใช สมเดจ็ บรมบพิตร สาํ หรบั พระราชา (ยกยองนบั ถอื มาก) พระภิกษุสามเณร ใช มหาบพติ ร สําหรบั พระราชา พระภิกษสุ ามเณร ใช บพิตร สําหรับ เจานายหรอื ขุนนางขัน้ สูง บคุ คลทั่วไป ใช ทาน สําหรับ บุคคลท่ัวไป (ยกยองใหเกยี รต)ิ บคุ คลทว่ั ไป ใช คุณ สําหรบั บคุ คลทั่วไป

51 ผูใหญ ใช เธอ สําหรับ ผนู อย บคุ คลทวั่ ไป ใช เธอ สําหรบั บคุ คลท่ัวไป (สนทิ กัน) 3. คําสรรพนามบุรุษท่ี 3 (ใชเ รียกบคุ คลท่กี ลาวถงึ ) บุคคลทั่วไปหรือเจา นาย ใช พระองค สาํ หรับ พระพทุ ธเจา เทพผเู ปน ใหญ พระราชา และเจา นาย ช้นั สูง บุคคลทั่วไป ใช ทาน สําหรบั เจานาย พระภกิ ษุ ขา ราชการช้นั ผใู หญ และผใู หญทีใ่ หความนับถอื กลมุ คํากรยิ า การใชค ําราชาศัพททเี่ ปนกริยาคําท่ัว ๆ ไป ทีใ่ ชในชวี ติ ประจําวันจะแตกตางกัน อยา งชัดเจน คือ คาํ ราชาศพั ท สาํ หรับ พระมหากษตั ริย และพระภกิ ษสุ งฆ เชน เกิด ใช พระราชสมภพ สาํ หรบั พระราชา พระราชนิ ี ประสูติ สาํ หรบั เจานายช้ันสูง ปวย ใช ทรงพระประชวร สําหรับ พระราชา พระราชินี ใช ประชวร สาํ หรบั เจานายช้นั สงู ใช อาพาธ สาํ หรบั พระราชา พระภิกษุสงฆ ตาย ใช สิ้นพระชนม สาํ หรบั เจา นายช้นั สงู และพระองคเ จา สิน้ ชีพิตักษัย สาํ หรับ หมอมเจา ถึงชพี ติ ักษัย สาํ หรับ หมอมเจา อนิจกรรม สาํ หรบั ขา ราชการช้นั ผูใ หญ มรณภาพ สาํ หรับ พระภกิ ษสุ งฆ ถงึ แกกรรม สําหรับ บคุ คลท่ัวไป ลม สําหรับ สตั วใหญท ีเ่ ปนพาหนะ เชน ชาง , มา ฟง ธรรม ใช ทรงธรรม สาํ หรับ พระราชา , พระราชินี ตักบาตร ใช ทรงบาตร สําหรบั พระราชา , พระราชินี รบั ศลี ใช ทรงศีล สําหรับ พระราชา , พระราชนิ ี เชญิ ใช นิมนต สาํ หรับ พระภิกษสุ งฆ นอน ใช เขา ที่พระบรรทม สําหรบั พระราชา , พระราชนิ ี บรรทม สําหรบั เจานาย จําวัด สําหรบั พระภิกษสุ งฆ บอก ใช กราบบังคมทลู พระกรณุ า สําหรับ พระราชา กราบบงั คมทูล สําหรับ ราชินี ยพุ ราช เจานายชั้นสงู กราบทูล สาํ หรบั เจานาย

52 รู ใช ทลู สําหรับ เจา นายทีเ่ สมอกันหรือตํ่ากวา กราบเรียน สาํ หรับ ขา ราชการชน้ั ผใู หญ เรยี น สําหรับ บุคคลทัว่ ไปทย่ี กยอ ง ถวายพระพร สาํ หรับพระภิกษุกบั พระราชา หรอื เจานายชัน้ สูง เจริญพร สาํ หรบั พระภกิ ษุสงฆกับบุคคลท่ัวไป ทราบฝา ละอองธลุ พี ระบาท สําหรบั พระราชา ทราบฝา ละอองพระบาท สําหรบั ราชนิ ี ยุพราช ทราบฝา พระบาท สาํ หรับ เจานายชน้ั สูง ทรงทราบ สําหรับ เจานาย พระสงั ฆราช เร่อื งที่ 5 เคร่ืองหมายวรรคตอน เครือ่ งหมายวรรคตอน หมายถงึ เคร่อื งหมายสัญลักษณตาง ๆ ท่ใี ชในการเขียนหนังสือเพ่อื สอ่ื ความหมายใหเขา ใจตรงกันกับผูท่ีอา นงานเขยี นนั้น ๆ ซึ่งในทน่ี ้ีจะขอนําเสนอเฉพาะ เครื่องหมายที่ใชใ นปจจบุ นั เทานัน้ ดังนี้ ฯ เรียกวา ไปยาลนอ ย ใชเ ขยี นไวขางหลงั คาํ ท่ีรูก ันโดยทวั่ ไปแทนคําเต็ม เชน กรุงเทพฯ คาํ เตม็ คอื กรุงเทพมหานคร จฬุ าฯ คําเตม็ คือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฯลฯ เรยี กวา ไปยาลใหญ ใชเ ขียนไวข า งหลังคําในกลุม เดยี วกนั พวกเดยี วกนั ทนี่ ํามาเพียง ตัวอยา งเทานน้ั หมายความวายงั มีอีกมาก เชน พชื ผักสวนครวั มมี ากมาย เชน พรกิ มะเขอื ตําลึง ฯลฯ ; เรยี กวา อัฒภาค หรือ จดุ ครงึ่ ใชค่ันคําหรอื ประโยคเล็ก ๆ ทีข่ นานกันในภาษาไทยไม นยิ มใชม ีท่ีใชอยใู นพจนานุกรมดังน้ี (ป.วตต; ส.วตร) แปลวา บาลี ใชว ตั ต สนั สกฤต ใช วัตร . เรียกวา มหพั ภาค หรือจดุ ใชเขียนไวขา งหลังตัวอักษร หรือตวั เลข เชน 05.00 น. พ.ศ. ม.ค. ม.ร.ว. คบ. สส. : เรียกวา จดุ คู ใชหลังขอ ความที่จะมตี วั อยา งหรอื คาํ ชี้แจงเพม่ิ เติม เชน พันธุ : พวงมาลยั วงควาน เผา พนั ธุ พนั ธุพืช ? เรียกวา ปรัศนี หรือเคร่ืองหมายคาํ ถามใชเ ขียนไวขางหลงั ประโยคคาํ ถาม เชน คุณจะ ไปไหน? ทําไมไมไ ปโรงเรยี น?

53 ! เรียกวา อัศเจรยี  หรือเคร่อื งหมายตกใจ ใชเขียนไวขางหลงั คาํ อทุ านหรอื ขอความท่ีแสดง เหตุการณท ีน่ าตกใจ เชน อยุ ! ตายแลว ! ไฟไหม! อนจิ จงั อนิจจา! ( ) เรียกวา นขลิขิต หรือวงเลบ็ ใชสําหรับโจทยคณติ ศาสตรใ หท ําในวงเลบ็ กอน ถาใชสําหรับ ภาษาไทยจะเปน การขยายความเพิ่มเติม เชน โรงเรียนบานมะขาม (สาครมะขามราษฎร) { } เรียกวา วงเล็บปกกา ใชส ําหรบั จดั หมวดหมูข องคําหรอื ประโยค โดยจะใชท ้ังขา งหนาหรือ ขา งหลงั หรือใชเพียงขา งเดยี วกไ็ ด ดังน้ี ไมด อก พชื ไมผล ผัก มะลิ กหุ ลาบ พกิ ลุ ดอกไม ดอกไม ดอกแกว ในวรรณคดี มณฑา _____ เรียกวา สญั ประกาศ หรือขดี เสน ใต เพื่อใชเนนขอความใหผูอานไดส งั เกตไดช ัดเจน มากกวา ขอความปกติอืน่ ๆ เชน ในขอสอบท่ีเปนคําถามปฏเิ สธ ดงั นี้ ขอ ใดไมเขาพวก “ ” เรยี กวา อญั ประกาศ หรอื เครอื่ งหมายคาํ พดู ใชเพอ่ื กาํ กับขอ ความท่ีตองการเนน เปน ความคิดหรอื คาํ พดู ในการสนทนา เชน คําวา “สมาธ”ิ สาํ คญั มากซึ่งจะตอ งใชค กู ับคําวา “สต”ิ อยเู สมอ ” เรียกวา บพุ สญั ญาใชเขยี นคําที่อยขู างบนท่ีเหมอื นกัน โดยไมตองเขยี นคําน้นั ซา้ํ บอย ๆ เชน สมราคากโิ ลกรมั ละ 50 บาท ฝรัง่ ” 40 บาท องนุ ” 100 บาท - เรียกวา ยตภิ ังค หรือยัติภงั ค หรือขีดสัน้ ใชเขียนระหวางคําท่ีทา ยบรรทดั หรอื เขยี นแยกคาํ อา น เชน สมมตุ ิ อานวา สม - มดุ = เรยี กวา เสมอภาค หรอื สมพล หรอื เครื่องหมายเทา กับ ใชเขยี นระหวา งคําหรอื ขอความ หรือตัวเลขวาขา งหนาและขางหลังเครอื่ งหมายมีความเทา กนั เชน 3 + 4 = 7 สตรี = เพศหญงิ

54 ๆ เรียกวา ไมยมก ใชเขียนไวขางหลังคําหรือขอความเพื่อใหอานออกเสียงซํ้าคําหรือขอความน้ัน เชน อะไร ๆ ท่ดี ไี ปหมด ทําอะไรระวัง ๆ หนอ ยนะ กจิ กรรมทายบทท่ี 5 กิจกรรมที่ 1 แบง กลมุ ผเู รียนทาํ รายงานเร่อื งการใชสํานวน สภุ าษิต คาํ พังเพย คาํ สุภาพ และคําราชาศพั ท พรอมบอกความหมายที่ถกู ตอง อยางละ 10 คาํ เปนงานกลมุ และสง ครผู สู อน (5 คะแนน) กจิ กรรมที่ 2 ใหผ ูเรียนเขยี นรายชอ่ื วรรณคดี วรรณกรรมปจจุบัน และวรรณกรรมทองถิน่ และ ขอ ใดท่ีไดรับจากการอานดงั กลา วตามแบบรายการดงั น้ี (3 คะแนน) 1. รายชอื่ วรรณคดที เ่ี คยอาน ขอ คดิ ท่ไี ดรบั …………………………………………... ……………………………………………... …………………………………………... ……………………………………………... 2. รายชอ่ื วรรณกรรมท่เี คยอา น ขอ คดิ ทีไ่ ดรบั ……………………………………………... …………………………………………... ……………………………………………... …………………………………………... 3. รายชอ่ื วรรณกรรมทอ งถน่ิ ที่เคยอา น ขอ คดิ ท่ีไดร บั …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... กิจกรรมท่ี 3 แบงกลุมผเู รยี นอภปิ รายสรุปเรอื่ งการใชภ าษาไทยในการพูดและการเขียน เพ่อื การประกอบอาชีพ เปน งานกลมุ และสงผสู อน (5 คะแนน)

55 บทที่ 6 วรรณคดี วรรณกรรม เรอ่ื งท่ี 1 วรรณคดี วรรณกรรม วรรณคดี วรรณคดี หมายถงึ วรรณกรรมหรอื หนังสือทีไ่ ดร บั การยกยองวาแตงดมี ีวรรณกรรม ศิลป กลาวคือ มีลักษณะเดนในเชิงประพันธ การใชถอยคําภาษา มีคุณคาสูงในดานความคิด อารมณและความเพลิดเพลินทําใหผูอานเห็นความงาม ความไพเราะ เกิดความซาบซึ้งกินใจ วรรณคดจี ึงมคี วามงดงามดา นวรรณศลิ ป ชว ยยกระดบั จิตใจความรสู กึ และภมู ปิ ญ ญาของผูอานให สูงขึ้น วรรณกรรม วรรณกรรม หมายถึง คาํ ประพันธท ุกชนิดทั้งที่เปนรอ ยแกวและรอยกรอง เปนงาน เขียนท่ัว ๆ ไป ส่ิงซึ่งเขียนขึ้นท้ังหมด ไมวาจะเปนในรูปใด หรือเพื่อความมุงหมายใด กินความ ครอบคลุมงานหนังสือทุกชนิดหรือสิ่งพิมพทุกประเภท ท้ังหนังสือท่ัวไป หนังสือตํารา หนังสือ อางอิง วารสาร นติ ยสาร และเอกสารตา ง ๆ เปนตน และถา วรรณกรรมน้ันไดร บั การยกยอง จากวรรณคดีสโมสรวาเปน วรรณกรรมท่แี ตงดจี ึงจะเรียกวรรณกรรมนน้ั วา “วรรณคด”ี วรรณกรรมปจ จบุ ัน วรรณกรรมไทยปจจุบัน น้ันหมายถึง วรรณกรรมในรูปแบบใดก็ตามไมวาจะเปน รอยแกว หรือรอยกรอง ซึ่งขอบเขตของวรรณกรรมปจจุบันน้ันเริ่มตั้งแตสมัยเริ่มแรกของ วรรณกรรมรอ ยแกว คอื ต้ังแตสมยั รชั กาลที่ 5 พ.ศ. 2442 จนถึงปจจุบัน วรรณกรรมประเภทรอยแกวในปจจุบันจะอยูในรูปของบันเทิงคดี เชน เรื่องสั้น นวนิยาย นทิ าน บทละคร สารคดี เชน บทความ หนังสือวชิ าการ งานวิจยั ฯลฯ วรรณกรรมประเภทรอยกรองในปจจุบันเปนวรรณกรรมที่แตกตางจากเดิม คือ เปน วรรณกรรมท่ีไมเนนวรรณศิลปทางภาษามากนัก ไมเนนในเรื่องของการใชภาษาแตเนนไปใน เรอื่ งของการสื่อแนวคิด ส่ือขอคิดแกผูอานมากกวา เชน ใบไมท่ีหายไป ของ จิรนันท พิตรปรีชา เปนตน

56 เร่อื งที่ 2 วรรณกรรมทอ งถิ่น ภาษาถน่ิ ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาท่ีใชส่ือความหมายตามทองถิ่นตาง ๆ ใชพูดกันแตละทองถ่ิน โดยขึ้นอยูก ับบริบททางสังคมและสภาพแวดลอ ม ซ่ึงมเี อกลักษณเปนของตนเอง ซ่ึงจะแตกตางกัน ในถอยคํา สําเนียงแตก็สามารถจะติดตอสื่อสารกันได และถือวาเปนภาษาเดียวกัน เพียงแต แตกตางกันตามทอ งถ่นิ เทาน้ัน ภาษาถ่นิ บางท่ีมักจะเรียกกันวา ภาษาพื้นเมือง ทั้งน้ี เพราะไมไดใชเปนภาษามาตรฐาน หรอื ภาษากลางของประเทศ ภาษาถิน่ หรือ สาํ เนยี ง คือ ภาษาเฉพาะของทอ งถ่นิ ใดทองถน่ิ หนึ่งทม่ี รี ูปลกั ษณะเฉพาะตัว ทงั้ ถอ ยคําและสาํ เนยี งเปน ตน ภาษาถ่ินของไทยจะแบงตามภมู ิศาสตรหรือทองถิ่นที่ผูพูดภาษาน้ัน อาศัยอยูในภาค ตาง ๆ แบงไดเปน 4 ถิ่นใหญ ๆ คือ ภาษาถ่ินกลาง ภาษาถ่ินเหนือ ภาษาถิ่น อีสานและภาษาถิน่ ใต คุณคาและความสําคัญของภาษาถิ่น คือ เปนภาษาประจําถ่ินของกลุมชนที่บรรพบุรุษได สรางสรรคและสืบทอดตอเนื่องมายังลูกหลาน โดยผานวัฒนธรรมทางภาษาท่ีเปนรากฐานทาง ประวัติศาสตรและเปนบอ เกดิ ตนกําเนิดของวรรณกรรมทองถ่ิน และเปนสวนหนึ่งของภาษาไทย และวรรณคดไี ทย การศกึ ษาภาษาถนิ่ จะชวยใหก ารสอ่ื สารและการศึกษาวรรณคดีได เขาใจลึกซึ้ง ยง่ิ ข้ึน วรรณกรรมทอ งถน่ิ วรรณกรรมทองถิ่น หมายถงึ เรื่องราวของชาวบานท่ีเลาสืบตอกันมาหลายช่ัวอายุ คนหรือผลงานท่เี กดิ ขึ้นจากการใชภ าษาโดยการพูดและการเขียนของกลมุ ชนในแตละทองถิ่นในรูป ของ คติ ความเชื่อ และประเพณี เชน วรรณกรรมพื้นบานภาคเหนือ วรรณกรรมพ้ืนบานภาค อีสาน วรรณกรรมพ้ืนบา นภาคใต เปนตน ซงึ่ ในแตล ะทองถิ่นก็จะใชภาษาพ้ืนบานในการถายทอด เปน เอกลกั ษณ ใชถ อ ยคาํ สาํ นวนทอ งถิ่นทเ่ี รยี บงาย เปนวรรณกรรมทส่ี อื่ เร่อื งราวดานตาง ๆ ของ ทองถน่ิ ใดทองถนิ่ หนง่ึ โดยเฉพาะ เชน จารีตประเพณี ชวี ิตความเปนอยู สภาพเศรษฐกิจและสังคม ทัศนคติ คานิยม ตลอดจนความเชื่อตาง ๆ ของบรรพบุรุษ อันเปนพื้นฐานของความคิดและ พฤติกรรมของคนในปจจุบัน เชน นิทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน และคาํ กลาวในพธิ กี รรมตาง ๆ

57 วรรณกรรมทอ งถิน่ แบง ไดเ ปน 2 ประเภท คือ 1.ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมท่ีไมไดเขียนเปนลายลักษณ เปนวรรณกรรม ปากเปลาจะถายทอดโดยการบอก หรือการเลาหรือการรอง ไดแก บทกลอมเด็ก นิทานพื้นบาน เพลงพ้นื บาน ปริศนาคาํ ทาย ภาษิต สํานวนโวหาร คํากลาวในพิธกี รรมตา ง ๆ 2.ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตร ในทอ งถิ่นและตําราความรูตา ง ๆ ภาษาถิ่นทีป่ รากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบนั วรรณกรรมทอ งถนิ่ การศกึ ษาภาษาถ่นิ ยอ มจะศึกษาทองถิ่นในดานท่ีอยูอาศัย ความเปนอยู ความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เพราะภาษาเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม ภาษาถิ่นจะ รักษาคําเดิมไดด ีกวาภาษามาตรฐาน เพราะจะมกี ารเปล่ยี นแปลงทางภาษาและวฒั นธรรมนอยกวา และมีประโยชนใ นการศึกษาดานวรรณคดีอีกดวย เพราะวรรณคดีเกา ๆ นั้น ใชภาษาโบราณ ซึ่ง เปนภาษาถิ่นจํานวนมาก เชน วรรณคดีสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ถา เราไมเ ขา ใจภาษาถน่ิ ทใ่ี ช ก็จะตีความไมออกและยากตอการศึกษาวรรณคดีนั้น ๆ ได ฉะน้ันจึง ควรอยา งยิ่งท่ีจะตองศึกษาภาษาถ่ินทุกถ่นิ จึงจะมีความรูก วา งขวาง แปลวา แพ ตวั อยา ง หลกั ศิลาจารึกพอ ขนุ รามคาํ แหงหลกั ท่ี 1 “เมื่อกูข้ึนใหญไ ดส ิบเกา เขา ” คําวา “เขา” แปลวา ป สบิ เกาเขา คอื อายุเตม็ 18 ยา ง 19 “ตนกูพุง ชางขนุ สามชนตวั ชอ่ื มาสเมอื งแพข ุนสามขนพา ยหน”ี คําวา “แพ” ในทน่ี เี้ ปนภาษาถ่ินเหนือ แปลวา ชนะ คําวา “พาย” จงึ ไตรภูมพิ ระรว ง “เขาน้นั บม ิต่าํ บมิสูง บมิพี บมผิ อม” “พ”ี ภาษาถิ่นใต หมายถงึ อว น ไทยมกั ใชคกู ันวา “อวนพี” ลลิ ิตพระลอ “ตรงึ นายแกว ยะยนั ตอ งนายขวัญทาวทบ” “ทาว” ภาษาถน่ิ เหนอื และอีสาน หมายถงึ หกลม ลม

58 การเรียนรูภาษาถิ่นนอกจากจะทําใหสามารถเรียนรูวรรณกรรมทองถิ่นไดแลว ยังทําใหผูเรียน สามารถติดตอสื่อสารกบั คนในทอ งถ่นิ ไดอยา งสะดวกและพูดภาษาถิน่ ไดถ กู ตอ งอกี ดวย สาํ นวน สภุ าษติ ที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปจ จุบัน วรรณกรรมทองถิน่ ความหมายของสุภาษิตสาํ นวนไทย สาํ นวน ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง คํากลาว ท่มี คี วาม คมคาย กะทดั รดั งดงาม ฟงดูไพเราะจบั ใจ เปนคําท่ีรวมเน้อื หายาว ๆ ใหส น้ั ลง เปนคําท่ี ถอยคาํ สั้นแตมคี วามหมายลกึ ซ้งึ สภุ าษติ ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง คํากลาว ท่ีดีงาม มักเปนคําสั่งสอน แนะนําใหประพฤติดี ปฏิบัติชอบ หรือละเวนจากการทําความชั่ว เปนตน ดังนั้น สุภาษิตสํานวนไทย สรุปคือ คําที่มุงส่ังสอนให ประพฤติดี โดยเปน คําส้ัน ๆ มคี วามคมคาย ไพเราะ นา ฟง สุภาษิตสํานวนไทย เปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีคุณคา สะทอนใหเห็นความคิด ความเชื่อ คา นิยมของสงั คมไทยทส่ี ง่ั สมสบื ทอดกนั มาในอดตี มีมาตงั้ แตก อ นสมัยพอขุนรามคําแหง เปนถอยคําหรือขอความท่ีกลาวสืบตอกันมาชานานแลว มีความหมายไมตรงตามตัวหรือมี ความหมายอ่ืนแฝงอยู สันนิษฐานวา สํานวนนั้นมีอยูในภาษาพูดกอนท่ีจะมีภาษาเขียนเกิดขึ้นใน สมัยสุโขทัย โดยเมื่อพิจารณาจากขอความในศิลาจารึก พอขุนรามคําแหงแลว ก็พบวามีสํานวน ไทยปรากฏเปน หลักฐานอยู เชน ไพรฟาหนา ใส หมายถงึ ประชาชนอยูเ ยน็ เปน สุข สํานวนไทยหลายสํานวนมีปรากฏอยูในวรรณคดีไทยหรือมีท่ีมาจากวรรณคดีไทย หลายเรื่อง หนงั สือกฎมณเฑยี รบาลของเกา ก็มีสํานวนไทยปรากฏอยู นอกจากน้ีในวรรณคดีไทย ตาง ๆ ตั้งแตสมัยอยุธยาเปนตนมาก็มีสํานวนไทยปรากฏอยูมากมาย เชน ขุนชางขุนแผน ลิลิต- ยวนพาย ลิลิตพระลอ ราชาธิราช หนังสือสุภาษิตพระรวงก็มีเน้ือหาเปนสํานวนไทยท่ียังใชอยูใน ปจจุบันมากมาย เชน เมือ่ นอยใหเ รยี นวิชา ใหห าสนิ เมือ่ ใหญ เปนตน ตัวอยาง สํานวน สภุ าษิตทม่ี ปี รากฏอยใู นวรรณคดีไทยหรือมที ม่ี าจากวรรณคดีไทย ฤๅษีแปลงสาร มาจากวรรณคดีไทยเร่อื ง นางสบิ สอง พระรถเสนกําลงั เดินทางเอาสารไปใหนางเมรลี กู นางยักษ แลว เจอฤๅษกี ลางทาง สารฉบบั นั้นบอกวา ถงึ กลางวันกินกลางวนั ถงึ กลางคืนกนิ กลางคืน ฤๅษใี ชเ วทมนตแปลงขอความ เปน ถงึ กลางวนั แตงกลางวนั ถงึ กลางคืนแตง กลางคืน

59 รอ นอาสน รอนอาสน ในหนังสือสํานวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลาไววา ปกติแลว อาสน หรือแทนประทับของพระอินทรน้ีจะออนนุม ถาเกิดแข็งกระดางหรือรอนเปนไฟข้ึนมาจะ บอกเหตวุ ามีเรอ่ื งเดอื ดรอนขนึ้ ในโลก พระอินทรตองรบี ลงไปแกไข ตามคติความเชื่อวาพระอินทร เปนเทพผูมีหนาท่ีดับความทุกขรอนของมนุษย สํานวน รอนอาสน จึงมีความหมายวา มีเร่ือง เดอื ดรอนตองรบี แกไ ข เรอ่ื งที่ 3 วเิ คราะห ประเมนิ คา วรรณคดี วรรณกรรม ทอ งถ่นิ หลักการพนิ ิจและวจิ ารณว รรณคดีและวรรณกรรม การพนิ จิ คอื การพจิ ารณาตรวจตรา พรอ มทั้งวิเคราะหแ ยกแยะและประเมินคาไดท้งั น้ี นอกจากจะไดป ระโยชนตอ ตนเองแลว ยงั มจี ุดประสงคเพื่อนาํ ไปแสดงความคิดเห็น และ ขอเท็จจรงิ ใหผ ูอ ื่นไดท ราบดว ย เชน การพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพือ่ แนะนาํ ใหบุคคลทวั่ ไปที่เปนผูอานไดรูจักและไดทราบรายละเอยี ดทีเ่ ปน ประโยชนใน ดานตาง ๆ เชน ใครเปนผแู ตง เปน เร่ืองเกีย่ วกบั อะไร มีประโยชนตอ ใครบาง ทางดา นใด ผพู ินิจมี ความเห็นวาอยางไร คณุ คา ในแตละดา นสามารถนาํ ไปประยกุ ตใหเ กิดประโยชนอ ยา งไรใน ชีวิตประจาํ วนั การวจิ ารณ หมายถึง การพิจารณาเพื่อเปน แนวในการตดั สินวา ส่งิ ใดดหี รอื ส่งิ ใดไมดี การวจิ ารณวรรณคดจี ะตอ งพจิ ารณาทกุ ข้ันตอน ทุกองคประกอบของงานเขียนมีการแยกแยะต้ัง แตการใชถอยคํา สํานวน ภาษา รูปประโยค เน้ือเรื่อง แนวคิด การนําเสนอเน้ือหา และคุณคา ทง้ั ดา นวรรณศลิ ปแ ละคุณคา ทางดา นสังคม แนวทางในการพนิ ิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม การพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรมมแี นวใหป ฏิบตั อิ ยา งกวาง ๆ เพอื่ ใหครอบคลุมงานเขียน ทกุ ชนิด ซึ่งผูพ นิ จิ จะตองดวู า จะพินิจหนังสอื ชนิดใด มีลกั ษณะเฉพาะอยา งไร ซง่ึ จะมีแนวในการ พินิจท่ีจะตอ งประยุกตหรือปรับใชใ หเ หมาะสมกับงานเขยี นน้ัน ๆ หลักเกณฑกวา ง ๆ ในการพินจิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มดี งั นี้ 1. ความเปน มาหรอื ประวัติของหนงั สอื และผแู ตง เพ่อื ชว ยใหวิเคราะหในสว นอ่ืน ๆ ไดดีขน้ึ 2. ลักษณะคาํ ประพันธ 3. เรอ่ื งยอ

60 4. เน้อื เรอื่ ง ใหวเิ คราะหเ รื่องตามหัวขอตอไปนี้ตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมี ก็ไดตามความจําเปน เชน โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง การใช ถอยคําสํานวนในเร่ือง ทวงทํานองการแตง วิธีคิดท่ีสรางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขียน เปน ตน 5. แนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่ฝากไวในเร่ือง หรือบางทีก็แฝงเอาไวในเรื่อง ซึง่ จะตองวิเคราะหออกมา 6. คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งโดยปกติแลวจะแบงออกเปน 4 ดานใหญ ๆ เพือ่ ความครอบคลมุ ในทกุ ประเดน็ ซ่ึงผพู ินจิ จะตอ งไปแยกแยะหวั ขอ ยอ ยใหสอดคลองกับลักษณะ หนงั สือที่จะพินิจนั้น ๆ ตามความเหมาะสมตอ ไป การพินิจคณุ คา ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม มี 4 ประเด็นดังน้ี 1. คุณคา ดานวรรณศลิ ป คือ ความไพเราะของบทประพันธ ซ่ึงอาจจะเกิดจากรสของคํา ที่ผแู ตงเลอื กใช และรสความทใี่ หความหมายกระทบใจผอู าน 2. คณุ คาดา นเนื้อหา คอื การใหความรดู านตา ง ๆ ใหคณุ คาทางปญญาและความคิดแกผ อู า น 3. คุณคาดา นสงั คม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีตและ วรรณกรรมทดี่ ีสามารถจรรโลงสงั คมไดอ กี ดวย 4. การนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจําวัน เพ่ือใหผูอานไดประจักษในคุณคาของชีวิต ได ความคิดและประสบการณจากเรื่องที่อาน และนําไปใชในการดําเนินชีวิต นําไปเปนแนวปฏิบัติ หรอื แกป ญหารอบ ๆ ตวั รสวรรณคดีไทย รสวรรณคดีไทย มีอยู 4 ชนดิ คือ เสาวรจนี นารปี ราโมทย พโิ รธวาทงั สัลลาปง คพไิ สย 1) เสาวรจนี (บทชมโฉม) คือ การเลาชมความงามของตัวละครในเร่ือง ซึ่งอาจเปนตัว ละครท่ีเปนมนุษย อมนุษย หรือสัตวซึ่งการชมน้ีอาจจะเปนการชมความเกงกลาของกษัตริย ความงามของปราสาทราชวังหรอื ความเจริญรงุ เรอื งของบา นเมอื ง 2) นารีปราโมทย (บทเกีย้ ว โอโลม) คอื การกลา วขอความแสดงความรัก ทั้งที่เปนการพบ กนั ในระยะแรก ๆ และในโอโลมปฏิโลมกอ นจะถึงบทสงั วาสนัน้ ดว ย 3) พิโรธวาทัง (บทตัดพอ) คือ การกลาวขอความแสดงอารมณไมพอใจ ต้ังแตนอยไปจน มาก จึงเร่ิมตั้งแต ไมพอใจ โกรธ ตัดพอ ประชดประชัน กระทบกระเทียบเปรียบเปรย เสียดสี และดาวาอยางรุนแรง 4) สัลลาปงคพิไสย (บทโศก) คือ การกลาวขอความแสดงอารมณโศกเศรา อาลัยรัก การครวญครา่ํ ราํ พันราํ พงึ การโอดคราํ่ ครวญ หรอื บทโศกอนั วา ดว ยการจากพรากส่งิ อันเปน ทรี่ กั

61 บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชพี เร่อื งท่ี 1 คณุ คาของภาษาไทย ความหมายของภาษา คําวา “ภาษา” เปนคําภาษาสันสฤต แปลตามรูปศัพทหมายถึงคําพูดหรือถอยคํา ภาษา เปน เครื่องมอื ของมนุษยท ่ใี ชใ นการส่อื ความหมายใหสามารถสื่อสารติดตอทําความเขาใจกันโดยมี ระเบียบของคําและเสียงเปนเครื่องกําหนด ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ใหค วามหมายของคาํ วา ภาษา คือ เสียงหรือกิริยาอาการท่ีทําความเขาใจกันได คําพูดถอยคําท่ีใช พูดจากนั ภาษา แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ภาษาทเ่ี ปนถอยคาํ เรียกวา “ วจั นภาษา” เปน ภาษาที่ใชคําพูดโดยใชเสียงที่เปนถอยคํา สรางความเขาใจกนั นอกจากนนั้ ยังมตี วั หนงั สือที่ใชแ ทนคาํ พูดตามหลักภาษาอีกดวย ภาษาทไ่ี มเ ปนถอ ยคํา เรยี กวา “ อวัจนภาษา” เปนภาษาที่ใชสิ่งอ่ืนนอกเหนือจากคําพูด และตัวหนงั สือในการสอื่ สาร เชน การพยกั หนา การโคงคาํ นบั การสบตา การแสดงออกบนใบหนา ท่ีแสดงออกถึงความเต็มใจและไมเต็มใจ อวัจนภาษาจึงมีความสําคัญเพื่อใหวัจนภาษามีความ ชดั เจนส่ือสารไดรวดเรว็ ย่ิงขึน้ นอกจากทาทางแลวยังมีสัญลักษณตาง ๆ ที่มนุษยสรางข้ึนมาใชใน การสือ่ สารสรางความเขา ใจ อกี ดวย คณุ คาของภาษาไทย ภาษาไทยเปนภาษาที่บงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทยมาชานาน มากกวา 700 ป สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงประดิษฐอักษรไทยขึ้นราวป พ.ศ. 1826 สมัยกรุงสุโขทัย ชาติไทยจึงจัดเปนชาติที่มีภาษาเปนของตนเองมาเปนระยะเวลายาวนาน และมีวิวัฒนาการ ทางภาษาเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ภาษาไทยเปนภาษาที่สุภาพ ไพเราะ ออนหวาน และสิ่งท่ี สําคัญคือเปนภาษาที่ใชในการสื่อสารของมนุษยในชีวิตประจําวัน หากมีการพูดภาษาไทยให ถูกตอ งเหมาะสมตามกาลเทศะแลว จะแสดงถึงกิรยิ ามารยาทท่ีเรียบรอย นอบนอมมีสัมมาคารวะ จะทําใหค นอื่นมคี วามรกั ใครในตวั เรา นอกจากนี้ ภาษาไทยยังมีคุณคาในการดํารงชวี ิตดานตาง ๆ ทั้งดา นการติดตอ สอื่ สารในการ ดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ การสรางสมั พันธข องคนในสังคม ดานวัฒนธรรมประเพณี ดา นสังคม

62 ดานศิลปะ และดา นการศกึ ษา นับวาภาษาไทยมีคุณคา ในการเปน เครื่องมอื ของการศกึ ษาหาความรู ในสาขาวิชาตา ง ๆ ใหเ ยาวชนและประชาชนในชาติทุกคนไดเสาะแสวงหาความรไู ดตามความตอ งการ อยา งไมมีทส่ี นิ้ สดุ ฉะนั้น เพ่ือใหผูเรียนเกิดทักษะอยางถูกตองและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่นอยางมี ประสิทธิภาพ รูจักแสวงหาความรูและประสบการณ รักการอาน การเขียน การพูด การบันทึก ความรูและขอมูลขาวสารที่ไดรับ เกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของภาษา และเห็นคุณคา ของบรรพบุรุษที่ไดสรางสรรคผลงานไว ผูเรียนควรท่ีจะรูซ้ึงถึงคุณคา ตลอดจนรักษและหวงแหน ภาษาไทย เพื่อใหค งอยูคูก บั คนไทยตลอดไป เรือ่ งที่ 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี ภาษาเปนเคร่ืองมือในการสื่อสารระหวางผูสงสาร (ผูพูด ผูเขียน) กับผูรับสาร (ผูฟง ผูดู ผอู าน) ท่ีมนุษยใชในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วัน โดยเร่ิมตั้งแตวัยเด็กท่ีเริ่มหัดพูด จนตลอดชีพ เพื่อสื่อสารกับคนในสังคม ระดับการใชภาษายากงาย ภาษาท่ีมีระบบระเบียบ มีหลักเกณฑการใช ภาษาท่สี ลับซบั ซอ น ตามระดับการศกึ ษา ภาษาไทยมีความสําคัญในการส่ือสารและการดํารงชีวิตของคนไทยมาก ภาษาไทยยังมี ความสําคัญตอการประกอบอาชีพดวยอยางย่ิงโดยสามารถจําแนกกลุมอาชีพไดวากลุมอาชีพจะใช ทักษะภาษาไทยดานการฟง กลุมอาชีพใดจะใชทักษะภาษาไทยดานการพูด กลุมอาชีพใดจะตองใช ทักษะภาษาไทยดานการอาน หรือกลุมอาชีพใดท่ีจะตองใชทักษะภาษาไทยดานการเขียน การที่ จะใชท ักษะทางภาษาดานใดมากนอยเพียงใดน้ันจะข้ึนอยูกับลักษณะของแตละอาชีพ ในท่ีน่ีกลุมอาชีพ ตา ง ๆ ทีใ่ ชทกั ษะภาษาไทยทัง้ 4 ทักษะดังน้ี กลมุ อาชีพท่ใี ชท ักษะการฟง และทกั ษะการพดู - อาชีพพนักงานขายของ - อาชพี พนกั งานรับโทรศพั ท / ใหข อ มูลตดิ ตอ สอบถาม - อาชพี ลา ม เปนตน กลมุ อาชพี ทใ่ี ชทักษะการพูด - อาชีพพิธกี ร / ผูประกาศ - อาชพี นกั จดั รายการวทิ ยุ - โทรทัศน เปนตน

63 กลุมอาชีพทีใ่ ชทกั ษะการอา นและทกั ษะการพดู - อาชีพนกั พากษ - อาชีพนักอานขาว - วจิ ารณขาว เปนตน กลมุ อาชพี ทใี่ ชท ักษะการเขยี น - อาชพี นักเขยี น - อาชพี นักเขียนบทวทิ ยุ - โทรทศั น เปนตน เรือ่ งท่ี 3 การเพ่ิมพูนความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย เพอื่ การประกอบอาชพี จากการนําเสนอแนวทางของการนาํ ความรภู าษาไทยไปเปน ชองทางในการประกอบอาชีพ ประเภทตาง ๆ เชน การพูด การเปนพิธีกร ผูประกาศ นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน ครูสอน ภาษาไทยกบั ประชาชนอาเซียน การเขยี น นักเขียนขาว เขียนบทละคร เขียนนิทาน เขียนสารคดี แลวนั้น เปนเพียงจุดประกายใหผูเรียนไดเรียนรูวาการเรียนวิชา ภาษาไทยมิใชเรียนแลวนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันเทาน้ัน แตการเรียนรูวิชา ภาษาไทยยังสามารถนําความรู ประสบการณทางดานภาษาไทยไปประกอบอาชีพ สรางรายได ใหกับตนเองไดดวย แตการที่ผูเรียนจะเปนนักเขียนหรือนักพูดที่มีชื่อเสียง เปนที่ยอมรับของ สังคม ผูเรียนจะตองแสวงหาความรู ทักษะ ประสบการณเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษา ทัง้ ภาครฐั และเอกชน ทเี่ ปนหลักสตู รเฉพาะเรือ่ ง หรือหากผูเรยี นตอ งการศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น ก็จะมีสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เชน คณะนิเทศศาสตร คณะวารสารศาสตร ฯลฯ ไดอีกทางเลือกหน่ึง หรือในขณะท่ีผูเรียนกําลังศึกษาอยูในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย และตองการที่จะเรียนรูวิชาภาษาไทย เพื่อตอยอดไปสูชองทางการ ประกอบอาชีพไดจ ริง ผูเรยี นสามารถเลอื กเรียนวชิ าเลือกตามหลักสูตรในระดับเดียวกันท่ีมีเน้ือหา เฉพาะเรือ่ งทส่ี นใจไดอ กี ทางเลือกหนง่ึ ดว ย นอกจากทผ่ี เู รียนจะเลอื กวิธีการศกึ ษา หาความรูเพ่ิมเติม โดยวิธีศึกษาเปนหลักสูตรส้ัน ๆ เฉพาะเรื่อง หรือจะศึกษาตอเฉพาะสาขาวิชาในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นก็ตาม แตส่ิงสําคัญท่ี ผูเรียน ควรปฏิบัติอยางตอเนื่อง คือการฝกฝนทักษะ ประสบการณในการเขียน หรือการพูด อยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูก บั กลมุ คนที่มีความสนใจในอาชีพเดยี วกันดวย

64 เฉลยกิจกรรมทายบท บทท่1ี กจิ กรรมที่ 1 ใหแบง กลมุ ผูเรียนสรุปหลกั การเลือกส่ือในการฟง และการดู กลุมนาํ เสนอ จากนัน้ ผูสอนสรปุ เพิ่มเตมิ และผแู ทนผเู รยี นจดบนั ทกึ (รวม 3 คะแนน) แนวคาํ ตอบ หลกั การเลือกส่ือในการฟง และดู 1. ฟงและดอู ยา งมจี ุดมงุ หมายในแตล ะคร้งั 2. ฟงและดอู ยางมวี จิ ารณญาณ โดยใชเ หตแุ ละผล 3. สรุปสาระสาํ คัญในการฟงและดไู ดท กุ คร้ัง 4. นําความรจู ากการฟง และดูไปปฏิบัติไดอยา งเหมาะสม เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบถูกตอ ง 4 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถูกตอง 2-3 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 1 ขอ ได 1 คะแนน กิจกรรมท่ี 2 แบง กลุมผูเ รียนฟงเรอื่ ง “เสนอรฐั ออกกฎหมายหา มดืม่ สุราที่สาธารณะ” จากการฟง ของผูเรยี นคนฟงและทาํ กจิ กรรมกลมุ ดงั น้ี (รวม7 คะแนน) 1. วจิ ารณความสมเหตสุ มผล และความเปนไปไดข องเร่อื งน้ี (3 คะแนน) 2. วิเคราะหความคดิ เห็นและขอเทจ็ จรงิ ของเรื่องโดยครูผูสอนถามแตล ะกลุม และ ครผู ูส อนสรุปสาระสาํ คัญในขอ 1 และ 2 (4 คะแนน) แนวคาํ ตอบ ความสมเหตสุ มผลและความเปนไปได การแสดงบความคดิ เห็นที่จะออกกฎหมายหา มดืม่ สุราท่ีสาธารณะควรทาํ ไดเ พราะวยั รุน ไทยดืม่ สรุ าและทํารา ยนักทองเทยี่ วอังกฤษและผอู ืน่ เพือ่ เปน การปอ งกนั ไมใหเ หตกุ ารณน เ้ี กิดข้นึ อีก ประกอบกับในหลายๆ ประเทศไดออกกฎหมายนเี้ ชน กนั ขอ เท็จจรงิ ความคิดเห็น 1. วัยรุนไทยด่ืมสรุ าและกอเหตทุ ํารา ย การออกกฎหมายหา มด่ืมสุราทีส่ าธารณะจะ นักทองเทยี่ ว เปน ทางเลือกทภ่ี าครฐั สรางความเช่ือมั่น 2. หลายๆ ประเทศไดออกกฎหมายหา มดื่ม ดานความปลอดภยั ใหน กั ทอ งเท่ียว สรุ าทีส่ าธารณะ

65 เกณฑก ารใหค ะแนน (รวม 3 คะแนน) - เขยี นวิจารณความสมเหตุสมผลและความเปน ไปไดข องเรื่องไดตามแนวตอบได 3 คะแนน - เขียนวเิ คราะหเฉพาะขอ เทจ็ จรงิ ไดต ามแนวตอบได 2 คะแนน - เขยี นวิเคราะหเฉพาะความคิดเหน็ ไดต ามแนวตอบได 2 คะแนน - เขยี นไมถูกตอ งตามแนวตอบแตใกลเ คยี งใหอยใู นดลุ พินิจของผูสอนในการใหคะแนน 1 คะแนน 3. เหตกุ ารณนสี้ ง ผลตอ ภาพลักษณของประเทศไทย เสนอรัฐออก กฎหมายหามดม่ื สุราที่สาธารณะ ดร.นพ.อุดมศักดิ์ แซโงว อาจารยประจําสํานักวิชาแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ และ นกั วิจยั ศนู ยว ิจัยปญหาสุรา (ศวส.) กลาวถึงกรณีวัยรุนไทยดื่มสุรากอเหตุทํารายนักทองเท่ียวชาวอังกฤษ ท่ีหวั หนิ ในเทศกาลสงกรานตท ผี่ า นมา ซงึ่ สง ผลกระทบตอภาพลักษณของประเทศไทย วาการดื่มสุราของ วัยรุนกลุมนี้เปนการตั้งวงดื่มในพื้นท่ีสาธารณะ ภาครัฐควรจัดการแกไขปญหาโดยการออกกฎหมาย “การหามด่ืมสุราในพ้ืนที่สาธารณะ” เพ่ือปองกันเหตุการณการทํารายนักทองเที่ยวไมใหเกิดขึ้นอีก การด่ืมในลักษณะนี้เปนเรื่องผิดกฎหมายในหลายประเทศโดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดา อังกฤษ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ท้ังน้ีการออกกฎหมายหามด่ืมสุราในพ้ืนท่ี สาธารณะพรอ มกบั การบงั คับใหก ฎหมายทม่ี ีอยูแลว อยางจริงจังเปนทางเลือกหนึ่งที่ภาครัฐสามารถทําได เพ่ือสรา งความเช่ือมนั่ ดา นสวสั ดิภาพความปลอดภยั แกน ักทองเที่ยวรวมไปถงึ ประชาชนไทยเอง กิจกรรมท่ี 3 ใหผ เู รียนเขยี น “การปฏิบตั ิตน เปนผมู มี ารยาทในการฟงและดู” เปน งาน รายบคุ คลและสง ครูผูสอน (3 คะแนน) แนวคาํ ตอบ การปฏิบัตติ นเปนผมู ีมารยาทในการฟง และดู 1. ฟงและดอู ยา งตง้ั ใจ 2. ไมสงเสียงรบกวนผอู ่นื เวลาท่ีฟงและดู 3. ไมสมควรสง เสยี งดงั เกินไปเม่ือชอบใจเรือ่ งทฟี่ ง และดเู ปนพิเศษ

66 4. การแตง กายสภุ าพเรียบรอ ยในการฟง และดูอยา งถูกกาลเทศะ 5. หากมีขอ สงสยั ไมเขา ใจในเรอ่ื งทฟ่ี ง และดคู วรคามเมอ่ื ผพู ูดพดู จบแลงถึงถามหรอื ผพู ูด ใหถามได 6. ไมทดสอบภมู คิ วามรูผูพดู เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม 3 คะแนน ตอบถูกตอง 5 – 6 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 3 – 4 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถกู ตอง 1 – 2 ขอ ได 1 คะแนน เฉลยกจิ กรรมทายบทที่ 2 กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นใชศลิ ปะการพูดไดอยางเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล โดยสมมุตกิ ารพดู ในโอกาสตาง ๆ เอง (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ อยใู นดุลยพินิจของครูผตู รวจ เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 5 คะแนน 1 คะแนน 1. มกี ารเตรยี มตัวกอ นพูด 1 คะแนน 2. เน้ือเรอื่ งเหมาะสมกบั เรือ่ งทพี่ ดู 1 คะแนน 3. การใชก รยิ าทา ทางประกอบการพดู 1 คะแนน 4. การใชนํา้ เสยี งเหมาะสมกับเรอื่ งท่ีพดู 1 คะแนน 5. การใชภาษาถูกตอง

67 กจิ กรรมที่ 2 ใหแบงกลมุ ผูเรยี นวิเคราะหและประเมนิ คา การใชการพูดในการเขียนจากการอาน เร่อื งนี้ อยดู ๆี ก็หาของท่ีเรามักจะใชป ระจําแตไ มเ จอเหมอื นวามนั พรอ มจะหาย เมื่อเราจะหาเปน ซะอยาง บางทปี ากกากห็ าไมเ จอ แตม ารตู วั อกี ทกี ็เหนบ็ ไวทีข่ างหู มือถือไมรูว า หายไปจากกระเปากางเกงตอนไหน ท้งั ๆ ทต่ี อนนก้ี ก็ ําลงั ใชม อื ถือโทรคุยอยู เอะ เปนอะไรกันละนี่ อยางนีจ้ ะเรียกวาหลงลืมหรอื ขลี้ มื ดนี อ หลงลมื กบั ขล้ี มื น่ตี างกนั นะครับ เพราะถาเราไมไดใ สใจในเรอ่ื งบางเรอื่ ง โดยทไ่ี มเ อาสมาธไิ ปมุง กบั เรื่องนั้น เรากจ็ ะจําไมไดเ รียกวา ขี้ลมื วธิ นี แ้ี กไดโดยเอาสมาธิไปใสในกับเรอ่ื งทเ่ี ราทาํ เชน จดบันทึก หรือ ถายภาพมือถือไว วาจอดรถทชี่ ้ันไหน หรอื เบอรโทรศพั ทท ่ีตดิ ประกาศไวเบอรอ ะไร ตางกบั หลงลืม จะจํา ไมไ ดเ ลยดวยซา้ํ วา ขบั รถมา หรือวางของผิดท่ี อยา งเอากุญแจไปวางในแกวน้าํ เอาเตารดี ไปแชตเู ย็น เปนตน ถาไมอ ยากขี้ลืม ผมมเี คลด็ ลบั งา ยๆ มาชวยพฒั นาสมองพวกเรากบั ครบั โดยวิเคราะหและประเมินจากหวั ขอ ดงั น้ี 1. เรอื่ งนี้นาจะมชี ่อื เร่อื งอะไร 2. เหตกุ ารณในเรอื่ งจะเกิดฟงบุคคลวัยใด 3. หลงลมื และขล้ี มื ตางกันอยา งไร 4. วิธีการแกไ ขการขลี้ มื ทําอยางไร 5. ยกตัวอยา งการใชก ารพดู ในการเขียน 2 ตวั อยา งและใหผ ูเรยี นสง ผลการวิเคราะหแ ละ ประเมินคา การใชก ารพูด เปนงานรายบุคคล และสงครูผูส อน (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ 1. หลงลืมและขีล้ ืม 2. บุคคลสงู วยั 3. หลงลมื คอื ทาํ อะไรจะจาํ ไมได ข้ีลืม คอื ไมสนใจ ไมใ ชสมาธใิ นเรื่องน้นั ๆ 4. ตองพฒั นาสมอง 5. เอะ เปนอะไรกันละนี่ ขีล้ มื ดีนอ

68 เกณฑก ารใหค ะแนน ได 5 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 5 ขอ ได 5 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 4 ขอ ได 4 คะแนน ตอบถูกตอ ง 3 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถกู ตอง 2 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 1 ขอ ได 1 คะแนน กิจกรรมที่ 3 ใหผเู รียนเขียน “การปฏิบตั ติ นเปนผูมมี ารยาทในการพดู ” เปนงานรายบคุ คลและ สงครูผูสอน (3 คะแนน) แนวคําตอบ การปฏบิ ตั ติ นเปนผูมีมารยาทในการพดู 1. ใชคําพูดสภุ าพที่เหมาะสมกับ เวลา สถานท่ี โอกาสและบุคคล 2. ไมพดู เยาะเยย ถากถาง ดหู ม่นิ เสียดสี ขอบกพรอง และไมขดั คอผอู ืน่ 3. หากจะพดู ใหเกิดอารมณขนั ควรเปน เร่ืองตลกขบขันและใชคําสุภาพ 4. ควรพดู ดว ยสาํ เนยี งชวนฟง และมคี าํ ลงทายเสริมการพดู ใหไ พเราะนา ฟง ยง่ิ ข้ึน 5. ควรพดู ในสงิ่ ท่เี ปนความจรงิ 6. ไมควรพดู ทกุ อยางท่รี ู เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 3 คะแนน ตอบถูกตอ ง 5 – 6 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถูกตอ ง 3 – 4 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 1 – 2 ขอ ได 1 คะแนน

69 เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 3 กิจกรรมที่ 4 ใหผเู รียนอา นเรื่อง ซ่งิ บ๊กิ ไบค อปุ กรณปอ งกนั กช็ วยไมไ ด และวิเคราะหเรือ่ ง ท่ีอานแลว ตอบคาํ ถามตอไปน้ี (5 คะแนน) ซ่ิงบกิ๊ ไบค อุปกรณปอ งกันกช็ ว ยไมไ ด บิ๊กไบคกับความปลอดภัยในสังคมไทย โดยคุณหมอมนูญ ลีเชวงวงศ ประธานทุนงวงอยาขับใน พระอปุ ถมั ภส มเดจ็ พระเจาพี่นางเธอ เจาฟา กัลปย าณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร มลู นิธริ ามาธิบดี ปจจบุ ันบ๊ิกไบคไ มไ ดจ าํ กดั เฉพาะคนรวยเทา น้ัน คนท่วั ไปเขาถงึ ได และใชสําหรับเดนิ ทาง ในชีวติ ประจาํ วัน ขบั ข่ีในเขตเมือง เนอื่ งจากสภาพถนนของเมืองใหญของไทยไมดีเหมอื นในประเทศที่เจริญแลว สภาพผวิ ถนนไมเรยี บ สูง ๆ ตาํ่ ๆ บางถนนมรี อยแยก มีเศษหินบนถนน ทําใหม โี อกาสสะดุดลม เองได บางครั้งมี สนุ ขั วิ่งตดั หนา ปริมาณถนนบานเราก็นอย การจราจรกต็ ดิ ขดั ถนนคอ นขางแคบไมกวางเหมือนประเทศทพ่ี ัฒนา แลวไมม ีเลนจกั รยานยนต คนขบี่ ก๊ิ ไบคสว นใหญไมขีช่ ดิ ซา ย จะข่ีครอมเสนแบงชองจราจรระหวางรถยนต แลว แซงซายแซงขวาเพ่อื ขขี่ ้ึนไปขา งหนา ถนนบางสายชองจราจรแคบมากบิ๊กไบคไมสามารถแทรกผานได ตองเดิน ลากบิก๊ ไบคซิ่งหนกั มาก บริเวณแยกทมี่ ีสญั ญาณไฟจราจร เวลาเปลยี่ นเปนไฟเขียวจะสังเกตเหน็ บกิ๊ ไบคออกตวั เปน คันแรก เพราะคนขส่ี ามารถเรง เครอื่ งไดเ รว็ กวา รถจกั รยานยนตท ั่วไป ถงึ แมระบบเบรกของบิก๊ ไบคด ีกวารถจกั รยานยนต ธรรมดามี ABS แตก ไ็ มส ามารถหยดุ ไดทนั ที ตองใชระยะทางในการหยดุ รถ ย่งิ ทเ่ี ร็วย่ิงตอ งใชระยะทางเพิ่มข้นึ บ๊กิ ไบคขด่ี วยความเรว็ 100 กโิ ลเมตรตอ ช่ัวโมง ตองใชระยะทาง 46 เมตร ถาข่เี รว็ 160 กโิ ลเมตรตอ ชั่วโมง ตองใชร ะยะทางเพม่ิ ขนึ้ เปน 100 เมตร ในการหยุดบกิ๊ ไบค ดงั นน้ั บอ ยคร้งั ที่คนขบ่ี ๊ิกไบคหลงั เรงเคร่ืองเต็มที่หากรถยนตคันหนา เล้ียวหรือหยุดกะทันหัน บิ๊กไบควิ่ง ไปชนเพราะเบรกไมหยุด เพราะฉะนัน้ คนขบั รถยนตท กุ คนถาจะเปล่ียนเลนหรอื เลยี้ วรถตองมองกระจกหลงั และ ใหสัญญาณไฟเล้ยี วแตเนนิ่ ๆ และเวลาจอดรถยนตข างทางคนขับรถยนตต องระมัดระวงั กอ นเปดประตูลงจากรถ

70 1. เพราะเหตใุ ดบิ๊กไบคยงั ไมเหมาะสมกบั การขับขใ่ี นเขตเมือง 2. เพราะเหตุใดบก๊ิ ไบคจึงมีอุบตั เิ หตชุ นกบั รถยนตค ันหนาท่ีเล้ยี วหรือออกกะทันหนั 3. หากทานขีบ่ ๊กิ ไบคจ ะปองกนั การเกิดอุบัติเหตุอยางไร 4. หากทา นจะสนบั สนุนการข่ีบกิ๊ ไบคควรพจิ ารณาอะไรบาง 5. ขอดีและขอ เสียของการขับข่ีบิ๊กไบค ใหเ ขยี นเปนรายงานรายบคุ คลและสงครผู สู อน แนวคําตอบ 1. เพราะสภาพถนนยังไมเหมาะสม ผิวถนนไมเรยี บ การจราจรติดขดั ไมม เี ลน จักรยานยนต และคนขีบ่ ๊กิ ไบคสว นใหญไมขีช่ ิดซาย 2. เพราะบก๊ิ ไบค หยุดกะทันหันไมไ ด 3. ขี่ดวยความระมัดระวังและรักษากฏจราจร 4. พฒั นาถนนใหผวิ ถนนเรยี บและมเี ลนจกั รยานยนต 5. ขอ ดี เดินทางสะดวกและรวดเร็ว ขอเสีย ถนนในเขตเมืองยังเหมาะสมท่จี ะขี่ เกณฑก ารใหค ะแนน ได 5 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 5 ขอ ได 5 คะแนน ตอบถูกตอง 4 ขอ ได 4 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 3 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถกู ตอง 2 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 1 ขอ ได 1 คะแนน กจิ กรรมที่ 5 แบงกลมุ ผเู รียนคนควา จากแหลง ความรูในเรือ่ งตางๆ ดังน้ี 1. ความหมายของภาษาถ่ิน สํานวน สุภาษิตท่ปี รากฎในวรรคดี วรรณกรรมปจ จุบนั และวรรณกรรมทองถนิ่ 2. คณุ คาของวรรณคดี วรรณกรรมปจ จุบัน วรรณกรรมทองถน่ิ ในดานแสดงถึงวิถชี ีวิต ดานสังคม และการนาํ คณุ คาเหลา น้ีไปใช โดยจดั ทําเปนรายงานกลุม และสง ครูผูสอน (10 คะแนน) แนวคาํ ตอบ อยูใ นดลุ ยพนิ ิจของครูผูตรวจ

71 เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1.ความหมายของการเขยี น สํานวน สุภาษติ ทป่ี รากฎในวรรคดี วรรณกรรมปจ จุบัน และ วรรณกรรมทองถิ่นครบทุกหัวขอและถูกตอ งชดั เจน คะแนนเต็ม 5 คะแนน 2. คุณคา ของวรรณคดี วรรณกรรมปจ จบุ ัน วรรณกรรมทอ งถิ่น ในดา นแสดงถงึ วิถีชวี ิต ดา นสงั คม และการนําคุณคาเหลา นี้ไปใช ใหครบถว น ชดั เจน คะแนนเต็ม 5 คะแนน กิจกรรมที่ 6 ใหผเู รยี นเขยี น “การมีมารยาทในการอานและการมีวนิ ยั รกั การอา น” เปนงาน รายบุคคลและสงครูผสู อน (3 คะแนน) แนวคาํ ตอบ การมมี ารยาทในการอานและการมีวนิ ัยรกั การอา น 1. ไมอ า นหนังสือของผูอืน่ โดยไมไดร ับอนุญาต 2. ไมทาํ ลาย ขดี ฆา และทําเครอื่ งหมายในหนงั สอื ที่เปนของสวนรวม 3. อานหนังสือพิมพ หนังสืออื่น ๆ ทุกครั้งทม่ี โี อกาส เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเต็ม 3 คะแนน ตอบถกู ตอ ง 3 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถูกตอง 2 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถูกตอง 1 ขอ ได 1 คะแนน

72 เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 4 กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรยี นยอ ความโดยสรปุ ใจความสาํ คญั จากเร่อื ง “โทรศพั ทมือถือทําตาหวัง หลังโกง” เปนงานรายบุคคลและสงครูผสู อน ( 5 คะแนน) “โทรศัพทม อื ถือทาํ ตาหวังหลังโกง” เคยมแี ตปรารภกนั ถงึ โทษของโทรศพั ทม อื ถอื เล็กๆ นอ ยๆ กนั บอ ยๆ แตบดั น้ีไดมกี ารคน พบ อนั ตรายใหญของมนั โดยเฉพาะไดท าํ ลายทา ทางทรงตวั ของเราลง ไมเ พียงแตท ําใหค อแขง็ นกั กายภาพบําบัดผูมีชอื่ เสียงของนวิ ซแี ลนดไ ดก ลาววา เทคโนโลยีไดก ดตวั เราใหห ลังงอ อยางทเี่ ขา เรยี กวาหลงั โกง ปกตศิ ีรษะของแตล ะคนจะหนกั ประมาณ 10- 12 ปอนด แตวาเวลาเรากําลงั ใชโ ทรศพั ทอยู น้นั เราตอ งกม คอเราเปน มุม 60 องศา กลายเปน ภาระหนกั ของคอ นอกจากทต่ี อ งรบั นํา้ หนักเดมิ อยูแลว ทา หลงั โกง ดังกลาวนน้ั ใหผ ลรายกับรา งกายของเราหลายอยา ง ต้ังแตมนั ทําใหเ ราอรมณต กหมด ความภคภูมิใจในตนเองและยงั อาจจะกระทบกบั ความจําของเราดวย เขาอธบิ ายตอ ไปวา ขนาดของ โทรศัพทท ี่มขี นาดเล็กนั้น ทําใหเ ราตอ งกม ตวั ของเราลง และย่ิงถูกยอใหม ีขนาดเลก็ ลงเทา ไร กท็ ําใหเ รา จะตองกมตัวลงไปมากเทานั้นมนั เหมือนกบั ทําใหเ ราตกอยใู นทาทีทอ่ี ยูในภาวะจํายอม เขาไดสรปุ ตอนทาย วา มนั กน็ าแปลกเหมอื นกนั ทเี่ ครอื่ งมอื ทค่ี ดิ ประดษิ ฐข้นึ เพื่อจะใหเ พิม่ สมรรถภาพและประสทิ ธภิ าพในการ ทาํ งานของเรามากขน้ึ กลับมาลดภาระแสดงออกและบอนทาํ ลายความสามารถในการทํางานใหนอ ยลงไป แนวคาํ ตอบ ทํากายภาพบาํ บดั นิวซแี ลนดกลา ววาการใชโทรศัพทมือถอื จะทาํ ใหผ ูใชห ลงั โกง เพราะตอ งกมคอไปทโี่ ทรศัพทยิ่งขนาดเล็กเทาใดจะตองกมตัวลงไปมากเทานัน้ ซ่ึงจะมีผลรา ยตอ รางกายหลายอยา ง

73 เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน สรุปใจความสําคญั ไดค รบถว นตามแนวคําตอบ ได 4-5 คะแนน สรปุ ใจความสําคัญไดบาง ตรงตามแนวคําตอบ แตไมครบถว น ได 3 คะแนน สรุปใจความสําคญั ไดบางเลก็ นอย แตตรงตามแนวคําตอบ ได 2 คะแนน สรุปใจความสําคัญไมไดตามแนวคําตอบ ได 1 คะแนน สรุปใจความสําคญั ไมไ ดตามแนวคําตอบเลย ไมไดค ะแนน กจิ กรรมที่ 2 แบง กลมุ ผเู รยี นตอ คาํ ประพนั ธ ประเภทกลอนสภุ าพ ใหม ีความยาว 2 บท หรอื 8 วรรค ในหัวขอ “ธรรมชาติยามเชาอากาศด”ี (5 คะแนน) เปนงานกลุม และสงผสู อน ธรรมชาติยามเชา อากาศดี ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ แนวคําตอบ 2 คะแนน อยูในดลุ ยพนิ ิจของครผู ูตรวจ 2 คะแนน 1 คะแนน เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน 1. แตง ถูกตองตามแผงผงั การแตง กลอนสภุ าพ 2. มีความไพเราะและตรงกบั ธรรมชาติยามเชา 3. มีสัมผสั ในเพ่มิ เติมจากสมั ผสั นอก

74 กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รียนเขียน “การปฏบิ ตั ิตนเปนผูมมี ารยาทในการเขียนและมกี ารจดบันทกึ อยางสมํ่าเสมอ\" เปนงานรายบุคคลและสง ครูผูสอน (3 คะแนน) แนวคาํ ตอบ การปฏบิ ัตติ นเปนผูมมี ารยาทในการเขยี นและมีการจดบนั ทึกอยางสมาํ่ เสมอ 1. เขยี นขอความถูกทีเ่ ปนความจรงิ 2. ไมเ ขียนขอ ความ รปู ภาพ ในพน้ื ที่สาธารณะ 3. ไมเขยี นขอ ความ เครือ่ งหมาย ในหนงั สอื ของสวนรวม 4. ใหเ ขียนคํา ขอความ ทกุ คร้งั ดวยคําสภุ าพ 5. จดบนั ทึกประจาํ วนั อยา งสมาํ่ เสมอ 6. เขยี นแผนทาํ งานทจ่ี ะตอ งทําเพอื่ ฝกการเขียน เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 3 คะแนน ตอบถูกตอ ง 5 – 6 ขอ ได 3 คะแนน ตอบถูกตอ ง 3 – 4 ขอ ได 2 คะแนน ตอบถูกตอ ง 1 – 2 ขอ ได 1 คะแนน เฉลยกจิ กรรมทา ยบทที่ 5 กิจกรรมที่ 1 แบงกลุมผูเรียนทํารายงานเร่ืองการใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย คําสุภาพ และคําราชาศัพท พรอ มบอกความหมายทถ่ี ูกตอ ง อยา งละ 10 คาํ เปนงานกลุมและสง ครูผสู อน (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ อยใู นดุลยพินจิ ของครูผตู รวจ เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 5 คะแนน ได 5 คะแนน 1. หาไดครบทง้ั 5 อยา ง ๆ ละ 10 คาํ ได 4 คะแนน 2. หาไดครบทัง้ 5 อยา ง ๆ ละ 7-9 คํา ได 3 คะแนน 3. หาได 4 อยาง ๆ ละ 7-9 คํา ได 2 คะแนน 4. หาได 3 อยา ง ๆ ละ 7-9 คาํ ได 1 คะแนน 5. หาได 1-2 อยา ง ๆ ละ 5 คาํ

75 กิจกรรมที่ 2 ใหผูเรียนเขยี นรายชอ่ื วรรณคดี วรรณกรรมปจ จบุ ัน และวรรณกรรมทองถิ่น และ ขอใดทไ่ี ดรับจากการอา นดงั กลาวตามแบบรายการดังนี้ (3 คะแนน) 1. รายชอื่ วรรณคดที ีเ่ คยอาน ขอ คิดที่ไดร บั …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... 2. รายชื่อวรรณกรรมทีเ่ คยอา น ขอ คิดท่ีไดร บั …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... 3. รายชอื่ วรรณกรรมทองถิน่ ทีเ่ คยอา น ขอ คดิ ที่ไดร ับ …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... …………………………………………………... แนวคาํ ตอบ อยูใ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูตรวจ กิจกรรมท่ี 3 แบงกลมุ ผเู รยี นอภปิ รายสรุปเรอื่ งการใชภ าษาไทยในการพดู และการเขียน เพื่อการประกอบอาชีพ เปนงานกลุมและสง ผสู อน (5 คะแนน) แนวตอบ การใชภ าษาไทยในการพูดเพือ่ ประกอบอาชีพ 1. อาชีพพธิ กี ร 2. อาชพี โฆษณา 3. อาชีพพนักงานขายตรง 4. อาชพี ขายประกันชวี ติ 5. อาชีพครู 6. อาชีพนกั จดั รายการวทิ ยุ การใชภาษาไทยในการเรยี นเขยี นเพอื่ การประกอบอาชพี 1. นักประพนั ธ 2. ผูเขยี นบทละครโทรทัศน 3. เลขานุการ

76 เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 5 คะแทน 1. การใชภ าษาไทยในการพูดเพ่ือประกอบอาชพี คะแนนเต็ม 3 คะแนน 2. การใชภ าษาไทยในการเขยี นเพือ่ ประกอบอาชพี คะแนนเต็ม 2 คะแนน

77 บรรณานุกรม http://www.dek-d.com/board/view/2683016/ http://imkate-imkate.blogspot.com/2011/12/blog-post.html อิสรยิ า เลาหตีรานนทh ttp://www.dailynews.co.th/Content/Article บริษทั เดลนิ ิวส เวบ็ จาํ กัด https://sites.google.com/site/samnounthaiz/khwam-pen-ma-khxng-sanwn-thiy http://forum.02dual.com/index.php?topic=165.0 http://www.siam1.net/article-8682.html ผังการออกขอ สอบ http://www.classstart.org/classes/4131 http://www.kroobannok.com/1830 http://www.baanjomyut.com/library/010.html รัตนาภรณ แหวนเงนิ http://www.gotoknow.org/posts/495738 ผังการออกขอสอบ

78 คณะผูจัดทํา ท่ปี รกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสรฐิ ทับสุพรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายชาญวทิ ย จาํ จด รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นายสุรพงษ จนั ทรโ อกลุ ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพัฒนาสอ่ื การเรียนการสอน 4. นางวัทนี สวุ รรณพิทักษ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษา 5. นางกนกพรรณ งามเขตต ผูอาํ นวยการกลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 6. นางศุทธินี ผูเ รียบเรยี งและบรรณาธกิ าร 1. นายอรัญ จิตตโ ลหะ ขาราชการบาํ นาญ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดนนทบุรี ศึกษานิเทศก สํานักงาน กศน.จงั หวัดจันทบรุ ี 2. นางอาํ นวย คณุ สุข กศน.อําเภอศรีนคร จังหวดั สโุ ขทยั 3. นางสาวกนกวรรณ บรสิ ทุ ธิ์ คณะทาํ งาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย ผพู ิมพต น ฉบับ เพ็ชรสวา ง กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นางสาวสุลาง อนิ ทระสันต กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นางจุฑากมล ผูอ อกแบบปก ศรีรัตนศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายศุภโชค

79 คณะผูจัดทํากิจกรรมทายบทเอกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี อ งรู ระหวา งวนั ท่ี 1- 3 มิถุนายน 2559 ณ หอ งประชุมบรรจง ชสู กุลชาติ ชัน้ 6 สาํ นกั งาน กศน. ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. 1. นายสุรพงษ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายกติ ติศกั ด์ิ รตั นฉายา ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางพรรณทิพา ชินชัชวาล ผเู ขียน/ผูเ รยี บเรียง และบรรณาธิการ สํานักงาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี 1. นายเริง กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดลพบรุ ี 2. นางสาวนติ ยา มุขลาย กศน.อําเภอเมือง จังหวดั ชลบรุ ี 3. นางสาวเอมอร แกว กล่าํ ศรี กศน.เขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร 4. นางสาวอริญชยั อนิ ทรนัฏ คณะทาํ งาน กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 1. นางเกณิกา ซกิ วารทซอน กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 2. นายธานี เครืออยู กลุม พัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางสาวจรุ รี ัตน หวังสิริรตั น กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ 4. นางสาวอุษา คงศรี กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพิพฒั น กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 6. นายภาวติ นธิ โิ สภา กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 7. นางสาวหทัยมาดา ดิฐประวรรตน

80


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook