วเิ คราะหผ์ ู้เรยี นรายบคุ คล --------------- อยู่ระหวา่ งการดาเนนิ การ ---------------
รายงานการวเิ คราะห์ผู้เรยี นรายบุคคล รายวชิ าคณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2564 โดย นางสาวแพรวร่งุ ศรปี ระภา ตำแหนง่ ครู โรงเรียนวดั พชื นิมติ (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต(คำสวัสด์ิราษฎรบ์ ำรงุ ) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี ที่ วนั ที่ 17 กันยายน 2564 เรือ่ ง รายงานการวิเคราะห์ผูเ้ รียนรายบคุ คล รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6/2 ปกี ารศึกษา 2564 เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดิร์ าษฎร์บำรงุ ) ด้วยข้าพเจ้า นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา ตำแหน่ง ครู ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่สอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ประจำปีการศกึ ษา 2564 ในการวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพและช่วยเหลือผู้เรียนนั้นครูผู้สอนต้องจัดทำ การวิเคราะห์ผ้เู รียนเพื่อให้ทราบสภาพปจั จุบัน ปัญหาอุปสรรคและความสามารถของผู้เรียน ดังน้ัน ข้าพเจ้าจึง รายงานผลการวิเคราะห์ผเู้ รียนรายบคุ ล ดังเอกสารท่ีแนบมาพรอ้ มนี้ จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ ลงชอื่ ............................................... ผรู้ ายงาน (นางสาวแพรวร่งุ ศรปี ระภา) ตำแหน่ง ครู ความเหน็ ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั พืชนิมิต(คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรุง) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… (นางสาวกนั ยาภัทร ภทั รโสตถิ ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดพชื นิมิต(คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรงุ ) …17…/…ก.ย../…2564….
คำนำ การวเิ คราะหผ์ ู้เรียน เพ่ือศกึ ษาผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล มีความสำคัญและจำเปน็ จะช่วยให้ครผู สู้ อน ได้รจู้ กั ผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล หรอื รายกลมุ่ โดยการกำหนดความตอ้ งการทจ่ี ะใชข้ ้อมูลเก่ียวกับตัวผเู้ รยี น เปน็ ข้อมูลสารสนเทศพนื้ ฐานนำไปสกู่ ารวางแผนการเรยี นรู้ หรือจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่มี ีจุดมุ่งหมายเฉพาะใน เรือ่ งความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลหลากหลาย เพ่อื ให้ ได้ข้อมูลเก่ียวกับตวั ผู้เรียน เชน่ การสอบถาม การให้ทำแบบทดสอบ การรวบรวมข้อมลู พืน้ ฐานการเรยี นรู้ แลว้ นำมาวิเคราะห์เป็นรายบุคคล โดยจำแนกใหเ้ หน็ องค์รวมของผ้เู รยี นในแตล่ ะด้าน กำหนดเกณฑก์ ารจำแนก คณุ ภาพผู้เรยี น และสรปุ จดั กลุ่มผู้เรียน ซึ่งข้อมูลดงั กลา่ วสามารถนำไปใช้ประโยชนเ์ พื่อนำไปชว่ ยเหลอื แก้ไข ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นมกี ารพัฒนาได้อยา่ งเหมาะสม เตม็ ศักยภาพของแต่ละบุคคลและมีความสขุ พัฒนาผเู้ รยี นให้ผเู้ รยี นบรรลตุ ามจุดเนน้ การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น ตามกรอบการปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษท่ี สอง เรมิ่ ต้นค้นวเิ คราะห์ ที่ครแู ละผ้เู กย่ี วข้องสามารถนำไปวางแผนในการพฒั นาผ้เู รยี นด้านตา่ ง ๆ ไดต้ ่อไป และชว่ ยให้ครผู สู้ อนในการจัดการเรยี นรู้ใหผ้ เู้ รียนรจู้ ักแสวงหาความรู้ พฒั นาตนเอง คดิ เอง ปฏบิ ัตเิ อง เพ่ือ นำไปสกู่ ารสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง แพรวรุง่ ศรีประภา
บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเปน็ มา พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีระบุไวว้ ่า “ มาตรา 22 การจดั การศึกษาตอ้ งยึดหลัก ว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญมากที่สุด กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ” การวิเคราะหผ์ ู้เรยี น เพ่ือศึกษาผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล จึงมีความสำคญั และจำเป็นมาก ประโยชน์ของการวิเคราะห์ผู้เรียน คือ การนำข้อมูลไปช่วยเหลือ แก้ไข ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้เรยี นมีการ พัฒนาไดอ้ ย่างเหมาะสม เต็มศกั ยภาพของแต่ละบุคคลและมีความสขุ ครผู สู้ อนจงึ เป็นผมู้ ีบทบาทสำคัญเกีย่ วกบั การจดั การเรยี นรู้ให้ผู้เรียนรู้จกั แสวงหาความรู้ พฒั นาตนเอง คิดเอง ปฏิบตั ิเอง เพ่ือนำไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง ผู้สอนได้รับมอบหมายใหส้ อน รายวิชาภาษาองั กฤษ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 24 คน ผูส้ อน จึงได้ ดำเนินการการวเิ คราะห์ผู้เรียนท่ีรับผิดชอบเพ่ือใหท้ ราบข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน เพื่อนำไปวางแผนใน การจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นและจัดกระบวนการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ สมศ. ได้กำหนดมาตรฐานคุณภาพครูในดา้ นการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั อย่างมี ประสิทธิภาพไวว้ ่า ครจู ะต้องทำกจิ กรรม 7 กจิ กรรม คือ 1. การวิเคราะหห์ ลกั สูตร 2. การวิเคราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบุคคล 3. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่หลากหลาย 4. การใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นแหล่งและสือ่ การเรียนรูข้ องตนเองและนักเรยี น 5. การวัดผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ อย่างรอบด้านเน้นองคร์ วมและเนน้ พฒั นาการ 6. การใช้ผลการประเมนิ เพ่ือแกไ้ ข ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเ้ รยี นให้ เตม็ ศกั ยภาพ 7. การใชก้ ารวิจยั ปฏิบัติการในการพฒั นานวตั กรรมเพ่ือพฒั นาการเรยี นรขู้ องนักเรยี นและการสอน ของตนเอง จากมาตรฐานดงั กลา่ ว ครจู ึงต้องวเิ คราะห์ผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล เพ่ือที่จะวางแผนการจัดการเรียน การสอนใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี นแตล่ ะกลุ่มอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. คำถามวจิ ัย 1) นกั เรยี นแตล่ ะคนมลี ักษณะสำคญั อย่างไร 2) นักเรยี นแต่ละคนมจี ุดเดน่ จดุ ดอ้ ยที่ควรได้รบั การพัฒนาและปรบั ปรุงในเร่ืองอะไรบ้าง 3) ครูควรออกแบบจัดการเรยี นรู้อย่างไรใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพของแตล่ ะคนและทุกคนในภาคเรียนน้ี
3. วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอ่ื วเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐานด้านต่าง ๆ ของนักเรียนที่เรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษา ปีที่ 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต(คำสวัสดิร์ าษฎรบ์ ำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี ปกี ารศึกษา 2564 2. เพ่ือศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ท่ีควรได้รับการพัฒนาและปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนในชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต(คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ปี การศกึ ษา 2564 3. เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ ละคนและทุกคนในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต(คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี ปกี ารศกึ ษา 2564 4. ขอบเขตของการวิจยั 4.1 ประชากร คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต(คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 25 คน 4.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6/2 โรงเรยี นวดั พืชนิมติ (คำสวัสดิ์ราษฎรบ์ ำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 25 คน 5. ประโยชนข์ องการวิจัย 5.1 ครรู จู้ ักผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล และจัดทำข้อมูลสารสนเทศของนกั เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ 5.2 ครูนำผลทีไ่ ดจ้ ากการวิเคราะห์วจิ ยั นไ้ี ปวางแผนการจดั การเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาผู้เรยี นต่อไป 5.3 ครูและผ้เู ก่ยี วข้องมแี นวทางในการพฒั นาผเู้ รยี นตามจุดเน้นคณุ ภาพผู้เรียน
บทที่ 2 แนวคดิ หลกั การ รายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรยี น รายวิชาภาษาอังกฤษ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ปีการศึกษา 2564 ได้ทำการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้องเม่อื ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการดำเนินงาน การศึกษาและรายงานผลการ ดำเนนิ งาน ดงั นี้ 1. แนวคิดในการวเิ คราะห์ผู้เรียน 2. วตั ถุประสงคข์ องการวิเคราะห์ผู้เรียน 3. ขอบเขตของการวเิ คราะห์ผู้เรยี น 4. การวิเคราะห์ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล 5. ด้านของข้อมูลทีจ่ ัดเกบ็ 6. วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู 1. แนวคดิ ในการวเิ คราะห์ผูเ้ รียน 1) การจดั การเรียนร้ใู ห้ประสบความสำเรจ็ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรูส้ งู ผเู้ รียนควรมีความ พรอ้ มทีด่ ีในทกุ ๆ ด้าน ดงั นั้นก่อนจะเร่มิ ดำเนนิ การสอนวิชาใด ๆ ควรมกี ารศกึ ษาวเิ คราะห์ ผเู้ รียนเป็นรายบคุ คลท่เี กย่ี วกับ - ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ - ความพร้อมดา้ นสตปิ ัญญา - ความพร้อมด้านร่างกาย - ความพร้อมดา้ นสงั คม 2) ก่อนจะเริ่มดำเนินการจัดการเรยี นรวู้ ิชาใด ๆ ผูส้ อนควรศึกษาวเิ คราะห์ผู้เรยี นให้รู้ถงึ ความ แตกต่างระหวา่ งบุคคลในแต่ละดา้ น หากพบผเู้ รียนคนใดมีข้อบกพร่องด้านใดควรปรับปรุง แกไ้ ข ให้มีความพร้อมที่ดกี ่อน 3) การเตรยี มความพร้อมหรือการแก้ไขข้อบกพร่อง สำหรบั นกั เรียนที่ยังขาดความพร้อมในด้าน ใด ๆ ควรใชก้ ิจกรรมหลากหลายแบบ หรอื ใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารทเ่ี หมาะสมจนผู้เรยี นมคี วาม พรอ้ ม ดังนี้ 2. วตั ถปุ ระสงค์การวิเคราะห์ผ้เู รยี น 1) เพอื่ ศึกษาวิเคราะหแ์ ยกแยะเก่ยี วกบั ความพรอ้ มของผเู้ รยี นในแตล่ ะดา้ นเป็นรายบุคคล 2) เพ่ือให้ครูผสู้ อนไดร้ ู้จกั ผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล สำหรับส่งเสริมใหส้ ามารถพัฒนาตามธรรมชาตขิ อง แต่ละบคุ คลเต็มตามศักยภาพ และหาทางช่วยเหลอื ผู้เรียนทม่ี ีข้อบกพร่อง ให้มีความพร้อมทด่ี ีขึ้น
3) เพอื่ ให้ผูส้ อนไดจ้ ดั เตรยี มการสอน ส่ือ หรอื นวัตกรรมสำหรับดำเนินการจัดการเรียนรแู้ กผ่ ู้เรยี น ได้สอดคล้องเหมาะและตรงตามความต้องการของผูเ้ รียนมากยง่ิ ขนึ้ 3. ขอบเขตของการวิเคราะห์ผูเ้ รยี น การวเิ คราะหผ์ ้เู รียนเพือ่ แยกแยะหาความแตกตา่ งระหว่างบุคคลในเร่อื งต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1) ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ (1) ความร้พู ้นื ฐานของวชิ าทีจ่ ะทำการเรยี นรู้ในระดับช้นั น้นั ๆ (2) ความสามารถในการแก้ปญั หา (3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้ 2) ความพร้อมด้านสตปิ ัญญา (1) การคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ (2) ความมเี หตุผล (3) ความสามารถในการเรยี นรู้/การลำดบั ความ 3) ความพร้อมดา้ นพฤติกรรม (1) การแสดงออก (2) การควบคมุ อารมณ์ (3) ความมุ่งมั่น อดทน ขยนั หม่ันเพียร (4) ความรับผดิ ชอบ 4) ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ (1) ดา้ นสขุ ภาพรา่ งกายสมบรู ณ์ (2) การเจริญเตบิ โตสมวัย (3) ความสมบูรณด์ า้ นสขุ ภาพจิต 5) ความพร้อมด้านสังคม (1) การปรบั ตัวเข้ากบั คนอ่ืน (2) การช่วยเหลือ เสยี สละแบง่ ปนั (3) การเคารพ ครู กตกิ า และมีระเบยี บวนิ ยั
4. การวิเคราะห์ผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล เม่อื เปิดภาคเรียนแต่ละภาคเรียน โรงเรยี นไดร้ ับมอบหมายความรบั ผิดชอบให้ครจู ดั การเรียนรู้ อย่างมีคณุ ภาพใหก้ บั นักเรยี นกลุ่มใหม่ ดังน้ันครูแต่ละคนจึงตอ้ งเรยี นรู้ วเิ คราะห์ เพ่ือรจู้ ักนกั เรยี นเป็น รายบคุ คลใหเ้ พยี งพอท่ีจะสามารถวางแผนจดั การเรยี นรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั 5. ดา้ นของขอ้ มลู ทีจ่ ัดเกบ็ ประกอบดว้ ย ภูมิหลงั ทางครอบครวั , ผลการเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร,พัฒนาการด้านรา่ งกาย,อารมณ์, สังคม, จติ ใจ, สติปญั ญา, ค่านยิ ม, ความถนดั ,ความสนใจ, ศักยภาพ ข้อจำกัดสภาพปญั หา และความ ต้องการจำเป็น 6. วธิ ีการจัดเก็บข้อมูล ใชว้ ิธีการสงั เกต,การสัมภาษณ์และแบบสอบถาม ,แบบทดสอบวัดความรู้พ้ืนฐานก่อนเรียน และ ผล การเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คำสวัสดิ์ราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี ปกี ารศึกษา 2564 แล้วมาวิเคราะหข์ ้อมูลโดยวิธี ค่ารอ้ ยละ, SWOT analysis ,PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ของ นักเรียนท่ีเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี ปกี ารศึกษา 2564 เพื่อศกึ ษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับการพัฒนา และปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนใน โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี ปีการศึกษา 2564 และ เพ่ือศึกษาแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้ สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคนและทุกคนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ ราษฎรบ์ ำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี ปีการศึกษา 2564 มีวิธีการดำเนนิ งานตามลำดบั ดงั น้ี 1. กลุ่มเปา้ หมาย 2. สารสนเทศและข้อมูลทเ่ี ก็บรวบรวม 3. แหลง่ ข้อมลู 4. เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูล 5. วิธกี ารเก็บขอ้ มลู 6. การวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. กลุ่มเปา้ หมาย ที่ทำการวิจัยในครงั้ น้ี คอื นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรยี นวัดพืช นิมิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรงุ ) อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 1 หอ้ ง นักเรียนท้งั หมด จำนวน 25 คน 2. สารสนเทศและข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวม ประกอบดว้ ย 2.1 ภมู ิหลงั ทางครอบครวั 2.2 ผลการเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร 2.3 พฒั นาการดา้ น ร่างกาย อารมณ์ สงั คม จติ ใจ สติปญั ญา ค่านิยม 2.4 ความสนใจ ความถนัด ศักยภาพ และความต้องการจำเป็น 2.5 ปัญหา/ข้อจำกดั 3. แหลง่ ข้อมูล 3.1 แหล่งข้อมูลเอกสาร เช่น ระเบียนสะสม, ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ในระดับช้ันประถมศึกษา ปที ี่ 6/4 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี ปีการศึกษา 2564, แบบสำรวจ, แบบบันทึก 3.2 แหลง่ ข้อมูลบุคคล เชน่ ครูทีป่ รึกษา ผู้ปกครอง เพ่ือนนักเรยี น ตัวนกั เรยี น ฯ 3.3 แหล่งข้อมูลเหตุการณ์ เชน่ พฤติกรรมการเขา้ แถว พฤติกรรมในห้องเรียน พฤติกรรมนอก หอ้ งเรยี น ฯลฯ
4. เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บข้อมลู 4.1 แบบวิเคราะหผ์ ู้เรยี นรายบุคคล 4.2 แบบสังเกต 4.3 แบบสมั ภาษณ์ 4.4 แบบบันทึก 5. วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5.1 ศกึ ษาเอกสารจาก ผลการเรียนปีการศกึ ษา 2564 ระเบยี นสะสม 5.2 สำรวจขอ้ มูลรายบุคคล 5.3 สงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี น 6. การวิเคราะห์ข้อมูล - SWOT analysis - คา่ ร้อยละ - PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลในปีการศกึ ษา 2564 ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ปีการศึกษา 2564 โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 4 ด้านคือ 1) ด้านข้อมูลภูมิหลังครอบครัว 2) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 3) พฒั นาการด้านตา่ ง ๆ (ร่างกาย, จิตใจ) 4) ความสามารถ ไดแ้ บง่ การนำเสนอดังนี้ 4.1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ด้านภูมหิ ลงั ครอบครัวดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ดา้ นภมู ิหลงั ครอบครัว ขอ้ มูล รายการ จำนวนนกั เรียน คน รอ้ ยละ 1.สถานภาพบิดา-มารดา 1.1 อย่รู ่วมกนั 14 56.00 1.2 หย่ารา้ ง 5 20.00 1.3 แยกกนั อยู่ 5 20.00 1.4 บดิ า/มารดาถึงแก่กรรม 0 0.00 1.5 อยู่ร่วมกับบุคคลอนื่ 1 4.00 2. ทพี่ กั ของนักเรยี น 2.1 บ้านพักของตนเอง 4 16.00 2.2 พักบ้านญาติ 0 0.00 2.3 หอพัก/บ้านเช่า 21 84.00 2.4 อน่ื ๆ 0 0.00 3. อาชีพผ้ปู กครอง 3.1 เกษตรกรรม 0 0.00 3.2 รบั ราชการ 0 0.00 3.3 คา้ ขาย 2 8.00 3.4 รบั จา้ งท่วั ไป 3 12.00 3.5 อนื่ ๆ (พนักงานบริษัท) 20 80.00 จากตารางท่ี 1 พบว่า สถานภาพบิดา- มารดา อนั ดับที่ 1 อย่รู ่วมกัน รอ้ ยละ 56.00 อันดับท่ี 2 หย่า รา้ ง รอ้ ยละ 20.00 อนั ดบั ที่ 3 แยกกนั อยู่ รอ้ ยละ 20.00 อันดับท่ี 4 อยรู่ ว่ มกับบุคคลอื่น รอ้ ยละ 4.00 ท่ีพกั ของนักเรียน อันดับท่ี 1 หอพัก/บา้ นเชา่ ร้อยละ 84.00 อันดบั ท่ี 2 พักบ้านของตนเอง ร้อยละ 16.00
อาชีพของผ้ปู กครอง อนั ดับท่ี 1 พนักงานบริษทั ร้อยละ 80.00 อันดบั ที่ 2 รบั จ้างทว่ั ไป และ คา้ ขาย ร้อยละ 12.00 และอนั ดบั ที่ 3 คา้ ขาย ร้อยละ 20.83 4.2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้านผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน นกั เรียน 25 คน ปกี ารศกึ ษา 2 / 2563 จำนวนคำที่ไดร้ ับผลการเรียน ระดบั ผลการเรยี น 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ภาษาไทย 0 0 0 2 1 5 5 12 คณิตศาสตร์ 00 3 0 5 6 5 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 0 0 3 0 3 3 10 6 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 0 0 0 0 0 2 6 17 ประวัติศาสตร์ 0 0 0 0 1 4 5 15 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 00 0 0 1 4 10 10 ศลิ ปะ 0 0 0 0 0 3 3 19 การงานอาชีพ 0 0 0 0 1 1 4 19 ภาษาต่างประเทศ 0 0 0 0 0 5 3 15 รายวชิ าเพิ่มเตมิ (ภาษาอังกฤษ) 0 0 0 2 4 6 2 11 รวม 0 0 24 36 38 60 43 39 ร้อยละ 0 0 10 15 15.80 25 17.90 16.30 จากตารางที่ 2 พบวา่ ระดบั ผลการเรียน อันดับท่ี 1 ระดับผลการเรียน 3 รอ้ ยละ 25 อันดบั ท่ี 2 ระดับผลการเรยี น 3.5 ร้อยละ 17.90 อันดับที่ 3 ระดบั ผลการเรียน 4 ร้อยละ 16.30 อันดบั ท่ี 4 ระดบั ผลการเรียน 2.5 ร้อยละ 15.80 อนั ดับท่ี 5 ระดับผลการเรียน 2 ร้อยละ 15 อันดบั ที่ 6 ระดบั ผลการเรียน 1.5 รอ้ ยละ 10 4.3 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ตารางที่ 3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดา้ นผลสัมฤทธิท์ างการเรียนGPA ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ระดบั ผลการเรียนเฉล่ีย (GPA) ชน้ั /หอ้ ง ต่ำกวา่ 1.00 1.00-1.99 2.00-2.99 3.00-4.00 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ (คน) (คน) (คน) (คน) ป.5/2 - - - - 2 8.00 23 92.00 รวม - - - - 2 8.00 23 92.00
จากตารางท่ี 2 พบว่า ผลการเรียนเฉล่ีย (GPA) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 อันดับที่ 1 3.00- 4.00 รอ้ ยละ 92.00 อันดับที่ 2 2.00-2.99 ร้อยละ 8.00 4.4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ทดสอบก่อนเรียน ตารางที่ 4 แสดงผลการทดสอบก่อนเรียนรายวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้น ป.6/2 ในการแบ่งกลุ่ม เกง่ : ปานกลาง : ออ่ น นกั เรียนทง้ั หมด 25 คน เลขที่ คะแนน ลำดับคะแนน เลขที่ คะแนน ลำดบั คะแนน 1 11 H 12 7 M 2 11 H 13 7 M 39 M 14 11 H 49 M 15 11 H 5 11 H 16 11 H 65 M 17 7 M 77 M 18 7 M 87 M 19 8 M 98 M 20 8 M 10 12 H 21 8 M 11 7 M 22 5 L 23 5 L 24 11 H 25 11 H เลขท่ี จำนวน (คน) สงู High 1,2,5,10,14,15,16,22,24,25 10 คน (11-15 คะแนน) กลาง Medium 3,4,6,7,8,9,11,12,13,17,18,19,20,21 13 คน ( 6-10 คะแนน) ตำ่ Low 22,23 2 คน (1-5 คะแนน) จากตารางท่ี 4 พบว่า นกั เรียนท่ไี ดร้ ับคะแนนกลุม่ สงู (10-15 คะแนน) จำนวน 10 คน ร้อยละ 40.00 นกั เรยี นที่ได้รับคะแนนกลุ่มกลาง (6-10 คะแนน) จำนวน 13 คน ร้อยละ 52.00 นกั เรยี นทไ่ี ด้รบั คะแนนกล่มุ ตำ่ (1-5 คะแนน) จำนวน 2 คน รอ้ ยละ 4.00
4.5 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู พฒั นาการดา้ นต่าง ๆ จำนวนนกั เรยี น ตารางที่ 5 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมูลพัฒนาการด้านต่าง ๆ คน รอ้ ยละ 4 16 ข้อมูล รายการ 18 72 3 12 1.น้ำหนกั 1.1 ตำ่ กว่าเกณฑม์ าตรฐาน 4 16 18 72 1.2 ตามเกณฑม์ าตรฐาน 3 12 24 96 1.3 สูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน 14 00 2.ส่วนสูง 2.1 ตำ่ กวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 00 00 2.2 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 25 100 00 2.3 สงู กวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 00 00 3.สายตา 3.1 ปกติ 00 00 3.2 ส้นั 25 100 00 3.3 ยาว 00 25 100 3.4 บอดสี 0 0 3.5 อื่น ๆ 0 4.สขุ ภาพ/ 4.1 ปกติ โรคประจำตัว 4.2 บกพร่องทางรา่ งกาย (พิการ) 4.3 หัวใจ 4.4 ภูมิแพ้ 4.5 กระเพาะอาหาร 4.6 อืน่ ๆ 5.บุคลิกภาพ 5.1 แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ ทางกาย 5.2 ความสะอาดของร่างกาย 5.3 มารยาทงดงาม 6.สภาพอารมณ์ 6.1 แจม่ ใส ร่าเรงิ 6.2 ซึมเศร้า 6.3 ซกุ ซน 6.4 จรงิ จัง/เครียด จากตารางท่ี 5 พบว่า น้ำหนกั ของนักเรยี น อนั ดับที่ 1 ตามเกณฑม์ าตรฐาน ร้อยละ 72 อนั ดบั ท่ี 2 ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 16 อันดับท่ี 3 สงู กว่าเกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละ 12 ส่วนสงู ของนกั เรยี น อนั ดบั ท่ี 1 ตามเกณฑม์ าตรฐาน ร้อยละ 72 อนั ดับท่ี 2 ต่ำกว่าเกณฑม์ าตรฐาน ร้อยละ 16 อนั ดับท่ี 3 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 12
สายตา อนั ดับท่ี 1 สายตาปกติ ร้อยละ 96 อนั ดับที่ 2 สายตาสัน้ รอ้ ยละ 4 สุขภาพ/โรคประจำตัว อันดบั ที่ 1 ปกติ ร้อยละ 100 บคุ ลกิ ภาพทางกาย อนั ดับท่ี 1 แตง่ กายถูกต้อง ร้อยละ 100 สภาพอารมณ์ อันดับที่ 1 แจ่มใส รา่ เริง รอ้ ยละ 100 4.6 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ด้านความสนใจ และความสามารถพเิ ศษ ตารางท่ี 6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ด้านความสนใจ และความสามารถพเิ ศษ ขอ้ มูล รายการ จำนวนนกั เรยี น คน รอ้ ยละ 1.วชิ าท่ชี อบ 1.1 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 7 25.00 1.2 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 20.83 1.3 ภาษาไทย 3 12.50 1.4 วิทยาศาสตร์ 2 8.33 1.5 คณติ ศาสตร์ 2 8.33 1.6 ภาษาอังกฤษ 2 8.33 1.7 ศิลปะ 2 8.33 1.8 สงั คมศึกษา 2 8.33 2.ความสามารถ 2.1 กีฬา 11 41.67 พิเศษ 2.2 ดนตรี 5 20.83 2.3 ศลิ ปะ 5 20.83 2.4 คอมพิวเตอร์ 4 16.67 2.5 อื่น ๆ 0 0.00 3.อาชพี ทใ่ี ฝ่ฝัน 3.1 รับราชการ 11 41.67 3.2 พนกั งานบริษทั 5 20.83 3.3 อาชพี อสิ ระ 5 20.83 3.4 อื่น ๆ 4 16.67 4.ระดบั 4.1 ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี 0 0.00 การศึกษาท่ี 4.2 ปริญญาตรี 21 83.33 ตอ้ งการ 4.3 ปรญิ ญาโท 4 16.67 ปรญิ ญาเอก 0 0.00 4.4 ไม่ต้องการศกึ ษาต่อ 0 0.00
จากตารางท่ี 6 พบวา่ วชิ าท่นี กั เรียนชอบท่ีสดุ อนั ดบั ที่ 1 การงานอาชพี และเทคโนโลยี ร้อยละ 25 อันดบั ท่ี 2 สุขศึกษาและพลศึกษา รอ้ ยละ 20.83 อนั ดับที่ 3 ภาษาไทย รอ้ ยละ 12.50 อันดับท่ี 4 วิทยาศาสตร์ ร้อย ละ 8.33 อนั ดบั ท่ี 5 คณิตศาสตร์ รอ้ ยละ 8.33 อันดับท่ี 6 ภาษาองั กฤษ ร้อยละ 8.33 อันดบั ที่ 7 ศิลปะ ร้อย ละ 8.33 อันดบั ที่ 8 สงั คมศึกษา ร้อยละ 8.33 ความสามารถพิเศษ อนั ดบั ที่ 1 กฬี า 41.67 อนั ดับที่ 2 ดนตรี ร้อยละ 20.83 ศลิ ปะ รอ้ ยละ 20.83 คอมพวิ เตอร์ ร้อยละ 16.67 อาชีพที่ใฝฝ่ ัน อันดบั ท่ี 1 รับราชการ รอ้ ยละ 41.67 อันดับท่ี 2 พนกั งานบรษิ ัท อาชพี อิสระและ อ่ืนๆ รอ้ ยละ 20.83 ระดับการศึกษาทต่ี ้องการ อันดบั ท่ี 1 ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 83.33 อนั ดับที่ 2 ปริญญาโท ร้อยละ 16.67 4.7 ผลการวิเคราะหผ์ ้เู รียนตามแบบ SWOT Analysis ดงั นี้ O จดุ แข็ง โอกาส 1. ครูมเี ปา้ หมายในการจัดการเรยี นรูเ้ พื่อ 1. โรงเรยี นมีเป้าหมายในการพฒั นา พฒั นาคุณภาพนักเรียนโดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง คณุ ภาพของนักเรียน จงึ มีการ การยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนให้ สนับสนุนในทกุ ๆด้าน สงู ข้นึ 2. นกั เรียนมีความสนใจใน การงานอาชีพและ เทคโนโลยี SW อปุ สรรค จดุ ออ่ น 1. จำนวนนักเรยี น 16 คน 1. ผลการสอบ 9 คน อยู่ในระดับ 2. นักเรียนมีความสนใจในดา้ น ปานกลาง ค่อนขา้ งต่ำ คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสูงแต่ขาดอปุ กรณ์ 2. ผลการสอนนักเรยี นไมไ่ ดร้ ับอยู่ใน การฝึกทักษะการคดิ T
4.7 ผลการวิเคราะห์ PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) ตารางท่ี 7 แสดงผลการวิเคราะห์ PMIA ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 /2 ช้ัน/ห้อง จดุ เดน่ จดุ ด้อย จุดควรพัฒนา แนวทางพัฒนา ป.6/2 (Plus) (Minus) (Interesting (Approach) นกั เรยี นมคี วาม - นกั เรยี นขาดการ point) - สรา้ งชุดกิจกรรม - พฒั นา การเรยี นรู้เพ่ือ สนใจ ต้ังใจเรียนใน การคิด สง่ เสริม กระบวนการคดิ ความสามารถ วชิ าการงานอาชพี - ผลสัมฤทธิ์ของ และผลสัมฤทธ์ิ ทางการคิด ของนักเรียน และเทคโนโลยี นักเรยี นอยูใ่ น ระดบั ปานกลาง ค่อนข้างตำ่ จากตารางที่ 7 พบว่า จุดเดน่ คือนกั เรยี นมคี วามสนใจ ตั้งใจเรยี นในวิการงานอาชีพและเทคโนโลยี จดุ ดอ้ ย คือ นกั เรียนขาดการคิด และ ผลสมั ฤทธข์ิ องนักเรยี นอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างตำ่ จุดท่ีควรพฒั นา คือ พฒั นากระบวนการคิดและผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรียน แนวทางพฒั นา คือ สรา้ งชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ สง่ เสริม ความสามารถทางการคิด
โรงเรยี นวดั พชื นมิ ิต (สวสั ดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ูเ้ รียนรายบุคคล รหสั วิชา ค16101 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ป.6/2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ครผู สู้ อน นางสาวแพรวรงุ่ ศรีประภา เกณฑ์การประเมิน ค่าเฉล่ีย 1.00-1.49 หมายถงึ ปรบั ปรงุ : คา่ เฉล่ยี 1.50-1.99 หมายถงึ ปานกลาง : ค่าเฉล่ยี 2.00-3.00 หมายถึง ดี ผลการวิเคราะห์ผูเ้ รยี น สรปุ ผล ด้าน รายการวเิ คราะหผ์ ู้เรียนรายบุคคล ดี ปานกลาง ปรับปรุง ที่ ร้อย ร้อย x̄ ความหมาย คน ร้อยละ คน ละ คน ละ 1. ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 3 5.56 11 47.22 11 47.22 1.58 ปานกลาง 1 1.1 ความรพู้ ้ืนฐาน 4 12.50 8 33.33 13 54.17 1.58 ปานกลาง 1.2 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 0 0.00 15 62.50 9 37.50 1.63 ปานกลาง 1.3 ความสนใจและสมาธใิ นการเรยี นรู้ 2 4.17 11 45.83 12 50.00 1.54 ปานกลาง 2. ความพร้อมด้านสติปญั ญา 3 6.94 11 47.22 11 45.83 1.78 ปานกลาง 2 2.1 ความคดิ รเิ ริ่ม สร้างสรรค์ 5 16.67 5 20.83 15 62.50 2.04 ดี 2.2 ความมีเหตุผล 2 4.17 18 75.00 5 20.83 1.83 ปานกลาง 2.3 ความสามารถในการเรียนรู้ 0 0.00 11 45.83 13 54.17 1.46 ปรบั ปรงุ 3. ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม 2 2.36 21 48.82 21 48.82 1.94 ปานกลาง 3 3.1 กลา้ แสดงออก 3 4.55 21 47.73 21 47.73 2.04 ดี 3.2 การควบคมุ อารมณ์ 0 0.00 21 50.00 21 50.00 1.88 ปานกลาง 3.3 ความมุ่งมนั่ ขยนั หมน่ั เพยี ร 2 2.44 20 48.78 20 48.78 1.92 ปานกลาง 4. ความพร้อมด้านรา่ งกายและจติ ใจ 25 100.00 0 0.00 0 0.00 3.00 ดี 4 4.1 สขุ ภาพรา่ งกายสมบูรณ์ 24 25 0 0.00 0 0.00 3.00 ดี 4.2 การเจริญเตบิ โตสมวยั 24 25 0 0.00 0 0.00 3.00 ดี 4.3 มีสุขภาพจิตดี 25 100.00 0 0.00 0 0.00 3.00 ดี 5. ความพรอ้ มด้านสังคม 3 8.33 22 91.67 0 0.00 2.08 ดี 5 5.1 การปรบั ตวั เขา้ กับคนอน่ื 5 16.67 20 83.33 0 0.00 2.17 ดี 5.2 การช่วยเหลือ เสยี สละ แบ่งปัน 2 4.17 23 95.83 0 0.00 2.04 ดี 5.3 มีระเบียบวินยั เคารพกฎ กติกา 2 4.17 23 95.83 0 0.00 2.04 ดี เฉลี่ยรวม 24.64 46.99 28.77 2.17 ดี
จากตารางสรุปผลการวเิ คราะห์ผู้เรียนชั้น ป.6/2 จำนวน 25 คน พบว่าค่าเฉล่ยี ด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ความพร้อมด้านสติปัญญา ความพร้อมดา้ นพฤตกิ รรม ความพรอ้ มด้านร่างกายและจิตใจ ความพรอ้ มด้านสังคม มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กับ 2.17 อย่ใู นระดบั ดี ครูผสู้ อนไดน้ ำข้อมลู การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น มาจัดแบง่ กลุ่มผเู้ รยี น ออกเปน็ 3 กลุ่ม โดยพิจารณาเกณฑ์ ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ความพร้อมดา้ นสตปิ ญั ญา ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ ดงั นี้ สรุปผลการวเิ คราะห์คณุ ภาพผ้เู รียน ระดบั คณุ ภาพ จำนวน(คน) ร้อยละ กลมุ่ ดี 15 60.00 กล่มุ ปานกลาง 10 40.00 กลุ่มทตี่ ้องปรบั ปรุง 0 0.00 ลงชอื่ .............................................ครผู สู้ อน (นางสาวแพรวรงุ่ ศรีประภา)
1. ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ผูเ้ รียนแต่ละคน ทคี่ รเู ก็บเพ่อื วิเคราะหน์ กั เรียนเป็นรายบคุ ค โรงเรยี นวัดพืช แบบวิเคราะหผ์ เู้ รยี นรายบุคคล รหสั วิชา ค1 เกณฑก์ ารประเมิน คา่ เฉลีย่ 1.00-1.49 หมายถงึ ปรับปรุง รายการวเิ คราะหผ์ ู้เรียน (ใส่หมายเลข ลงในชอ่ งเกณฑค์ ะแนนที่เลอื ก) โดย 3 หมายถงึ ดี 2 หมายถงึ ปานก 1. ดา้ นความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 2. ความพร้อมด้านสติปัญญา 1.1 ความร้พู ืน้ ฐาน 2.1 ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ 1.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 2.2 ความมเี หตผุ ล 1.3 ความสนใจและสมาธิในการเรยี นรู้ 2.3 ความสามารถในการเรยี นรู้ เลขที่ เลขประจำตวั ชื่อ - สกุล ขอ้ 1 1.1 1.2 1.3 1 1946 นพรัตน์ แปน้ ตระกูล 122 122 2 1947 นภสกร สุขมนั 221 221 3 1949 พัชรพล จันทรมณฑล 322 122 4 1950 สริ ทิ รัพย์ สมแพง 221 221 5 1955 กฤติยา ฤกษด์ ี 6 1987 ณฐั ณิชา บุญโต 7 1999 วรศิ รา เมนไทยสงค์ 8 2025 กติ ติกุล ยิ้มศรี
คล ชนิมติ (คำสวัสด์ริ ำษฎร์บำรงุ ) 16101 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ช้ันป.6/2 จานวนนกั เรยี น 25 คน ง : ค่าเฉลยี่ 1.50–1.99 หมายถงึ ปานกลาง : ค่าเฉลย่ี 2.00–3.00 หมายถงึ ดี กลาง 1 หมายถงึ ปรับปรุง 3. ความพร้อมดา้ นพฤตกิ รรม 4. ความพร้อมด้านร่างกายและจติ ใจ 5. ความพรอ้ มด้านสงั คม 5.1 การปรบั ตวั เข้ากบั ผอู้ ่นื 3.1 กล้าแสดงออก 4.1 สขุ ภาพรา่ งกายสมบูรณ์ 5.2 การชว่ ยเหลอื เสยี สละ แบ่งปนั 5.3 มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎ กติกา 3.2 การควบคุมอารมณ์ 4.2 การเจรญิ เตบิ โตสมวยั ข้อ 5 x̄ 3.3 ความมุง่ มน่ั ขยนั หมัน่ เพยี ร 4.3 มสี ขุ ภาพจิตดี 4.3 5.1 5.2 5.3 3 2 2 2 1.87 ขอ้ 2 รายการวเิ คราะห์ ข้อ 4 3 2 2 2 1.87 2.1 2.2 2.3 ขอ้ 3 4.1 4.2 3 2 2 2 1.87 111 33 3 2 2 2 2.07 111 3.1 3.2 3.3 33 3 3 2 2 2.53 131 221 33 3 2 2 2 1.93 221 221 33 3 2 2 2 2.07 322 111 33 3 2 2 2 2.13 111 222 33 221 323 33 221 222 33 222 322
9 2102 อนชุ ิต พรมธิดา 22 1 11 2 10 2148 วโรดมภ์ พาฤทธ์ิ 22 2 22 2 11 2150 แสงดาว สุริยา 11 1 11 1 12 2151 เพชรสุรินทร์ บญุ มา 11 2 11 1 13 2152 รพีภัทร โคตรปจั จิม 11 1 22 2 14 2154 เขมนจิ คลายทุกข์ 11 2 32 3 15 2162 จิตติมา ฤทธ์นิ วล 12 1 32 2 16 2207 สุจินดา พงษแ์ กว้ 11 1 11 1 17 2413 พัชรินทร์ วิชาคำ 11 1 18 2486 บษุ ยามาส ดนพุ งคล์ ขิ ิต 1.58 1.63 1.54 กลุ่มดี 15 19 2524 ธนั ยพร เณรกลู 20 2529 ซากีนะ หลเี จรญิ 21 2639 นัฐธิดา พาสุวรรณ์ 22 2762 กษิดศิ ปแ่ี ก้ว 23 2771 สนิ ีนุช เซ่ยี งฉี่ 24 2779 เสกสรร พงษส์ ีมา 25 2888 สุทธภิ ัทร ถนอมงาม x̄ สรปุ ผล
3 2 1 2 1 2 3 3 3 2 2 2 2.07 3 2 1 2 1 2 3 3 3 2 2 2 2.00 2 2 2 2 2 2 3 3 3 3 2 2 2.27 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 2.13 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.93 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.93 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 2.00 1 2 1 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.87 1 2 1 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.87 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 2.13 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 2.00 2 2 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 2.53 1 2 2 2 2 2 3 3 3 2 2 2 2.00 3 2 2 2 2 2 3 3 3 3 2 2 2.40 1 1 1 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.80 1 1 1 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.80 1 1 1 2 2 2 3 3 3 2 2 2 1.80 1.54 1.83 1.46 2.04 1.88 1.92 3.00 3.00 3.00 2.17 2.04 2.04 กลุ่มปานกลาง 10 กลุ่มทตี่ ้องปรบั ปรงุ 0 รวม 25
บทท่ี 5 สรุปผลการวิจยั การวิจยั ครั้งนมี้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1. เพ่ือวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานด้านต่าง ๆ ของนักเรียนที่เรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทมุ ธานี ปีการศกึ ษา 2564 2. เพ่ือศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ท่ีควรได้รับการพัฒนาและปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี ปกี ารศกึ ษา 2564 3.เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบการจดั การเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละคนและทุกคนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี ปกี ารศึกษา 2564 สรุปผลการวจิ ัย 1. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้านภูมิหลังครอบครัว สถานภาพบิดา- มารดา อนั ดับที่ 1 อยรู่ ว่ มกัน ร้อยละ 56.00 อันดับที่ 2 หยา่ ร้าง ร้อยละ 20.00 อนั ดบั ท่ี 3 แยกกันอยู่ รอ้ ยละ 20.00 อนั ดบั ท่ี 4 อยู่ร่วมกับบุคคลอ่ืน รอ้ ยละ 4.00 ทีพ่ กั ของนกั เรียน อนั ดับท่ี 1 หอพัก/บ้านเช่า รอ้ ยละ 84.00 อันดบั ท่ี 2 พกั บ้านของตนเอง รอ้ ยละ 16.00 อาชพี ของผ้ปู กครอง อันดับท่ี 1 พนักงานบริษทั ร้อยละ 80.00 อันดบั ท่ี 2 รับจ้างทวั่ ไป และ ค้าขาย รอ้ ยละ 12.00 และอันดบั ที่ 3 ค้าขาย รอ้ ยละ 20.83 2. การวิเคราะห์ข้อมูลดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ปีการศึกษา 2/2563 ผลการเรียนเฉลยี่ (GPA) ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 อันดบั ที่ 1 3.00-4.00 ร้อยละ 92.00 อันดบั ท่ี 2 2.00-2.99 ร้อยละ 8.00 3. การวเิ คราะห์ข้อมลู ทดสอบก่อนเรยี น นกั เรยี นทีไ่ ดร้ บั คะแนนกล่มุ สูง (10-15 คะแนน) จำนวน 10 คน ร้อยละ 40.00 นักเรยี นท่ีไดร้ ับคะแนนกลุ่มกลาง (6-10 คะแนน) จำนวน 13 คน รอ้ ยละ 52.00 นักเรียนที่ไดร้ ับคะแนนกลมุ่ ต่ำ (1-5 คะแนน) จำนวน 2 คน รอ้ ยละ 4.00 4. การวเิ คราะห์ข้อมลู พฒั นาการด้านตา่ ง ๆ น้ำหนักของนักเรยี น อันดบั ท่ี 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละ 72 อันดบั ท่ี 2 ต่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ 16 อนั ดับท่ี 3 สงู กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละ 12
ส่วนสูงของนกั เรียน อนั ดับท่ี 1 ตามเกณฑม์ าตรฐาน รอ้ ยละ 72 อนั ดับท่ี 2 ต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 16 อนั ดบั ที่ 3 สงู กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 12 สายตา อนั ดบั ที่ 1 สายตาปกติ รอ้ ยละ 96 อนั ดบั ที่ 2 สายตาส้ัน รอ้ ยละ 4 สุขภาพ/โรคประจำตัว อันดับท่ี 1 ปกติ รอ้ ยละ 100 บุคลิกภาพทางกาย อันดบั ที่ 1 แต่งกายถกู ต้อง ร้อยละ 100 สภาพอารมณ์ อนั ดบั ท่ี 1 แจ่มใส รา่ เริง ร้อยละ 100 5. การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจ และความสามารถพเิ ศษ วิชาทีน่ กั เรยี นชอบท่สี ุด อนั ดับท่ี 1 การงานอาชพี และเทคโนโลยี รอ้ ยละ 25 อนั ดบั ท่ี 2 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 20.83 อนั ดับที่ 3 ภาษาไทย ร้อยละ 12.50 อนั ดบั ท่ี 4วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 8.33 อนั ดบั ท่ี 5 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 8.33 อันดับที่ 6 ภาษาองั กฤษ ร้อยละ 8.33 อนั ดบั ที่ 7 ศลิ ปะ ร้อยละ 8.33 อันดับท่ี 8 สงั คมศึกษา ร้อยละ 8.33ความสามารถพิเศษ อนั ดบั ท่ี 1 กีฬา 41.67 อันดบั ที่ 2 ดนตรี ร้อยละ 20.83 ศลิ ปะ รอ้ ยละ 20.83 คอมพิวเตอร์ รอ้ ยละ 16.67 อาชพี ที่ใฝฝ่ ัน อันดบั ที่ 1 รับราชการ ร้อยละ 41.67 อนั ดับที่ 2 พนกั งานบรษิ ทั อาชพี อิสระและอ่ืนๆ ร้อยละ 20.83 ระดบั การศกึ ษาท่ตี ้องการ อันดบั ที่ 1 ปริญญาตรี รอ้ ยละ 83.33 อันดบั ที่ 2 ปริญญาโท รอ้ ยละ 16.67 7.การวเิ คราะห์ PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) จดุ เด่น คอื นักเรยี นมคี วามสนใจ ต้ังใจเรยี นในวกิ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี จดุ ดอ้ ย คือ นักเรยี นขาดการคดิ และ ผลสมั ฤทธ์ิของนกั เรยี นอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ จดุ ท่ีควรพฒั นา คอื พฒั นากระบวนการคิดและผลสมั ฤทธิข์ องนกั เรยี น แนวทางพัฒนา คือ สร้างชดุ กจิ กรรมการ เรยี นรู้เพอื่ สง่ เสรมิ ความสามารถทางการคดิ ข้อเสนอแนะจากการวจิ ัย 1. ครตู อ้ งศกึ ษานกั เรียนเป็นรายบุคคลก่อนเพื่อวางแผนในการออกแบบการเรียนรู้ 2. ครูควรเตรยี มส่ือการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ผู้เรียน 3. ครคู วรสอบถามวธิ ีการเรยี นรู้ที่นกั เรียนต้องการเรยี น ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการวิจัยคร้ังนี้ 1. ครูผสู้ อนสามารถออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับนักเรยี น 2. แนวทางการเตรียมความพร้อมและพืน้ ฐานของนักเรยี นจะเรยี นเร่อื งใหม่ 3. แนวทางการวางแผนพัฒนาและปรับปรงุ นกั เรยี นให้สอดคล้องกับจุดเดน่ จดุ ด้อยของ ผู้เรียนตอ่ ไป
ภาคผนวก
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน แบบวิเคราะหผ์ ู้เรยี นรายบคุ คล
แบบวเิ คราะหผ์ ู้เรียนรายบคุ คล สำหรับนกั เรียนระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 1. ชื่อ – สกลุ ……………………………………………………วัน/เดือน/ปีเกดิ ……………………อายุ………..ปี 2. ผลการเรียนในปีการศกึ ษาทีผ่ า่ นมา ระดบั ช้ัน เกรดเฉล่ีย……………………………………… 3. ขอ้ มูลดา้ นสขุ ภาพ นำ้ หนัก………..กก. สว่ นสงู …………ซม. โรคประจำตัว…………………………. 4. ปัจจบุ นั พกั อาศยั อยู่กบั ………………ซึ่งเปน็ ผู้ปกครอง ชื่อ – สกลุ ……………………………………………. 5. บ้านเลขท่ี…………..หมทู่ ่ี……..ตำบล ....................อำเภอ ....................จังหวัด ................ ผลการประเมนิ ดี ปาน ปรับป สรุปผล ด้านท่ี รายการวเิ คราะหผ์ เู้ รียน กลาง รุง การ การปรับปรุง แกไ้ ข (3) (2) (1) ประเมิน 1 ด้านความรู้ ความสามารถ ……………………………………………… และ ประสบการณ์ ……………………………………………… 1) ความร้พู น้ื ฐาน …… …… …… ……………………… 2) ความสามารถในการแกป้ ญั หา …… …… …… 3) ความสนใจ / สมาธิในการเรียน …… …… …… 2 ความพรอ้ มดา้ นสติปัญญา ……………………………………………… 1) ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ……. ……. ……. ……………………………………………… 2) ความมีเหตุผล ……. ……. ……. …………………… 3) ความสามารถในการเรียนรู้ ……. ……. ……. 3 ความพร้อมดา้ นพฤติกรรม ……………………………………………… 1) กลา้ แสดงออก ……. ……. …… ……………………………………………… 2) การควบคุมอารมณ์ ……. ……. …… …………………… 3) ความมงุ่ มน่ั ขยันหมัน่ เพียร ……. ……. …… 4 ความพรอ้ มดา้ นร่างกาย จิตใจ ……………………………………………… 1) สขุ ภาพร่างกายสมบรู ณ์ ……… ……. ……. ……………………………………………… 2) การเจรญิ เตบิ โตสมวยั ……… ……. …… …………………… 3) มีสุขภาพจติ ดี ……. …… 5 ความพร้อมดา้ นสังคม ……………………………………………… 1) การปรบั ตวั เข้ากับผู้อ่ืน …… …… …… ……………………………………………… 2) การชว่ ยเหลอื เสียสละ แบง่ ปัน …… …… …… …………………… 3) มรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎ กตกิ า …… …… …… ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของครู ....................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................................................... (นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา)
การสรา้ งเครอื่ งมือเพื่อ การวิเคราะหผ์ ูเ้ รยี น
แนวทางในการสร้างเครอ่ื งมือเพอ่ื วเิ คราะหผ์ ู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………… การสร้างเคร่ืองมือสำหรบั นำมาทดสอบ หรือตรวจสอบผ้เู รียน เพ่อื ใชเ้ ปน็ ข้อมลู สำหรับ วิเคราะหผ์ ู้เรยี นถือเป็นเรื่องที่มคี วามจำเป็นและมีความสำคัญมาก ซ่ึงสามารถทำไดห้ ลายแนวทาง แตใ่ นท่ีน้ี ผ้สู อนเลอื กปฏิบตั ิแบบง่าย ๆ 2 แนวทาง ดงั นี้ แนวทางท่ี 1 นำผลการประเมินผลการศึกษาทีผ่ า่ นมา ตลอดท้งั ข้อมูลดา้ นตา่ ง ๆท่ีครู ได้เกบ็ รวบรวมไว้ นำมาวิเคราะหแ์ ยกแยะตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ 3 ระดบั คือ ระดับท่ี 1 ตอ้ งปรับปรงุ แก้ไข ระดบั ที่ 2 ปานกลาง (ผา่ นเกณฑ์) ระดบั ท่ี 3 ระดับดี – ดมี าก การดำเนนิ การแยกแยะข้อมูลของนักเรียนเปน็ รายบุคคลในแตล่ ะด้าน แล้วนำมากรอก ขอ้ มลู ลงในแบบวิเคราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คล จากนนั้ ไดป้ ระมวลผลขอ้ มูลสรุปกรอกลงในแบบสรุปผล การวเิ คราะห์ผ้เู รียนเม่อื ได้ข้อสรปุ แลว้ นำไปกำหนดแนวทางในการแก้ไขนักเรียนที่ควรปรับปรงุ เรื่อง ตา่ ง ๆ ในแต่ละด้านตอ่ ไป แนวทางที่ 2 ครผู ูส้ อนสร้างเครอ่ื งมอื หรือแบบทดสอบเอง ให้เหมาะสมกับเรื่องทจี่ ะ วเิ คราะห์ผู้เรียนในแตล่ ะดา้ น เช่น การวดั ความรู้ความสามารถ หรือความพร้อมด้านสติปญั ญา ควรใชแ้ บบทดสอบส่วนการตรวจสอบความพร้อมพฤติกรรม ด้านรา่ งกายและจติ ใจ ด้านสงั คม ควรใชแ้ บบสงั เกต หรอื แบบสอบถาม การสรา้ งเคร่อื งมือเพือ่ วิเคราะห์ผู้เรียน ยดึ หลกั ทส่ี ำคญั ดังต่อไปน้ี 1) ควรใหค้ รอบคลมุ สาระหลัก ๆ ท่จี ะเรียนรู้ หรือครอบคลมุ พฤติกรรมด้านตา่ ง ๆ ของ ผู้เรียน 2) สอดคล้องกับประเด็นท่จี ะวัดหรอื ประเมินผู้เรียนในแต่ละด้าน 3) กำหนดเกณฑ์ใหช้ ัดเจน เช่น - ตอบได้ถูกต้องหรือมีตามหัวข้อประเมิน นอ้ ยกว่า ร้อยละ 40 ตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข - ตอบได้ถูกต้องหรือมีตามหัวข้อประเมนิ รอ้ ยละ 40 – 60 ปานกลาง - ตอบได้ถูกต้องหรือมตี ามหัวขอ้ ประเมิน รอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป ไดร้ ะดับ ดี 4) การวัดหรอื การทดสอบผเู้ รยี นควรดำเนนิ การก่อนทำการสอน เพ่ือผ้สู อนนำผลสรุป การวเิ คราะห์ ไปวางแผนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพื่อชว่ ยเหลือ หรอื สง่ เสรมิ นกั เรยี นได้อยา่ ง เหมาะสม
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: