Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำโดยใช้ชุดแบบฝึก

การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำโดยใช้ชุดแบบฝึก

Published by kantajitm, 2022-03-16 02:35:33

Description: การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำโดยใช้ชุดแบบฝึก

Search

Read the Text Version

๔๓ กรุงเทพฯ. อรทัย นตุ รดิษฐ. (๒๕๔๐). การสรางแบบฝกการเขียนสะกดคา สาหรบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษา ปท่ี ๔. ปริญญานพิ นธ กศ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, กรงุ เทพฯ อดลุ ย ภปู ลม้ึ . (๒๕๓๙). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์การเขียนสะกดคา สาหรับนักเรียนชนั้ ประถม ศกึ ษาปท่ี ๑ โดยใชแบบฝึกที่จัดทาเป็นกล่มุ คาและแบบฝกทจ่ี ดั ทาคละคา. วทิ ยานพิ นธ์ กศ.ม., มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม อดุลย์ ไทรเลก็ ทมิ . (๒๕๕๐). พฤติกรรมการสอนภาษาไทย ๒ (พมิ พค์ รั้งท่ี ๑). กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. Guskey, Thomas R. (๒๐๐๐). Evaluating professional development. California: Corwin Press. Fitzgerald, James Augustine. (๑๙๖๗). The Teaching of Spelling. Milwaukee. The Bruce Publishing Company.

ประวตั ิผ้วู จิ ยั

ประวตั ิผวู้ ิจัย ชอ่ื – สกุล นางสาวกนั ทจิตต์ จูมั่น วัน เดือน ปี ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ ท่ีอยปู่ ัจจุบนั บ้านเลขที่ ๑๐๔ หมู่ ๘ ซอย ๕ ตาบล บ่อแฮ้ว อาเภอ เมอื งลาปาง จงั หวดั ลาปาง รหสั ปรษณีย์ ๕๒๑๐๐ ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ - พ.ศ. ๒๕๕๖ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนลาปางกลั ยาณี อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง พ.ศ. ๒๕๕๗ - พ.ศ. ๒๕๕๙ ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรยี น คณิตศาสตร์ – ภาษาองั กฤษ โรงเรียนลาปางกัลยาณี อาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง

ภาคผนวก

ชื่อ.............................................สกลุ .....................................ชน้ั ..........................เลขที่....................... แบบฝกึ ทักษะชุดที่ ๑ เร่อื ง การสรา้ งคาในภาษาไทย (คามลู ) คาส่งั ใหน้ กั เรยี นศึกษาเร่อื ง คามูล และตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถกู ตอ้ ง ๑. คา คอื ..................................................................................................................................... ๒. พยางค์ คือ ..................................................................................................................................... ๓. คามลู คอื ..................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. สงกรานต์ ปาท่องโก๋ คทา บุพการี ปวารณา เมขลา สลาตนั บงกช วิทยุ ขณะ ปะการงั ครหา สะระแหน่ ตลับ สามารถ ต๊กุ ตา ดาวดึงส์ คาสัง่ ใหน้ ักเรียนแยกคามูลตอ่ ไปนลี้ งในช่องว่างแต่ละช่องให้ถูกตอ้ ง คามลู ๒ พยางค์ คามูล ๓ พยางค์ คามูล ๔ พยางค์

ชื่อ.............................................สกุล.....................................ชน้ั ..........................เลขที่....................... แบบฝกึ ทกั ษะชดุ ท่ี ๒ เรือ่ ง การสร้างคาในภาษาไทย (คาประสม) คาส่ัง ใหน้ ักเรียนศึกษาเร่ือง คามูล และตอบคาถามต่อไปนี้ใหถ้ กู ตอ้ ง ๑. คาประสม คอื ..................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ๒. เลือกคาต่อไปนม้ี าประสมกันใหไ้ ดค้ วามหมาย ก. หัว น้า ใจ ...................................................................................... ข. แม่ บ้าน ชาว ...................................................................................... ค. ฟา้ ท้อง ไฟ ...................................................................................... ง. กลาง ของ ว่าง ..................................................................................... คาส่งั จงขดี เส้นใต้คาที่ไม่ใช่คาประสม ๑. แมม่ ด แม่นม แม่ทัพ แม่ลกู ๒. มา้ นง่ั ม้าวิง่ มา้ น้า ม้าใช้ ๓. ช่างไฟ ชา่ งซ่อม ชา่ งทอง ช่างเถอะ ๔. พอ่ ครัว พอ่ บ้าน พอ่ แม่ พ่อคา้ ๕. นกั หนา นักบนิ นักแสดง นักรบ คาสั่ง ให้นกั เรยี นพิจารณาคาที่ขีดเสน้ ใตว้ า่ เปน็ หรอื ไมเ่ ปน็ คาประสม โดย  ลงในชอ่ ง  ถึงโรงเหลา้ เตากลั่นควนั โขมง  เป็น ไมเ่ ปน็ มีคนั โพงผกู สายไวป้ ลายเสา  เป็น ไมเ่ ปน็ โอ้บาปกรรมน้านรกเจียวอกเรา  เป็น ไมเ่ ป็น ใหม้ วั เมาเหมือนหน่ึงบา้ เปน็ น่าอาย  เป็น ไมเ่ ปน็ ทาบญุ บวชกรวดน้าขอสาเร็จ  เปน็  ไมเ่ ป็น สรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย  เป็น ไมเ่ ปน็

ช่ือ.............................................สกุล.....................................ช้นั ..........................เลขท่ี....................... แบบฝกึ ทักษะชุดที่ ๓ เรือ่ ง การสรา้ งคาในภาษาไทย (คาซ้อน) คาส่ัง ให้นักเรียนศกึ ษาเร่ือง คาซ้อน และตอบคาถามต่อไปนใ้ี หถ้ ูกต้อง เสือ่ สาด หัวใจ ปากคอ นกหวีด เหลยี วแล ท้องฟ้า เสื้อผ้า โลมา พา่ ยแพ้ พทั ยา กราบไหว้ หมวดหมู่ สบาย หนังสอื เลวทราม น่าเกลยี ด นานา ยิ้มแยม้ กระตกิ คอยทา่ คาซอ้ น ไดแ้ ก่ ........................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. คาสั่ง จงเตมิ คาซอ้ นตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง แอบ ปดั ขับ รูป ............................. แก่ ................................ ................................ ................................ ................................ โง่ คอย ปรับ เบิก .............................. ................................. .............................. ............................. ทรัพย์ ผกู ปลอม กราบ ........................... ............................... ................................ .ล.......................... ............................ แพ้ แนบ............................ แสวง เพลยี ว ................................ คา ............................ .......................... .............................. เสอื เก็บหอม ชวน ............................... ............................... ....................... สญู ถว้ ย หนัก..............................หนัก ................................. โด .............................. ................................. ............................ อาบ..............................อาบ เรือน .................................. เลว ............................... เปดิ ..............................

ช่อื .............................................สกุล.....................................ช้นั ..........................เลขที่....................... แบบฝกึ ทกั ษะชดุ ที่ ๔ เร่ือง การสรา้ งคาในภาษาไทย (คาซ้า) คาชี้แจง ให้นาคาซา้ ดา้ นขวามอื มาเตมิ ลงในชอ่ งว่างทางดา้ นซา้ ยมอื ๑. .................กาลังร้องเพลง ก. หนกั ๆ ๒. .................ช่วยน้องทาความสะอาดบ้าน ข. เด็ก ๆ ๓. นักเรยี นทุกคนฟงั ให้ ............................ ค. เช้า ๆ ๔. ชายทน่ี ุง่ กางเกงสี.....................นา่ จะเป็นขโมย ง. รอ้ น ๆ ๕. เธอมกั จะต่นื นอน.....................เสมอ จ. ดี ๆ ๖. ฉนั มักจะชว่ ยยกของ.................ให้คณุ ครเู สมอ ฉ. นัง่ ๆ นอน ๆ ๗. บ้านหลงั คาส.ี .........................มสี วนหย่อมสวยมาก ช. พี่ ๆ ๘. ดอกไม้ทอ่ี ย.ู่ ............................สระนา้ กาลงั ผลิดอก ซ. ดา ๆ ๙. พอ่ ชอบทานก๋วยเตย๋ี วตอน.................เพราะอรอ่ ยดี ฌ. เขยี ว ๆ ๑๐. คนเกียจคร้านมักจะ...................ไมท่ าอะไรใหม้ คี ่า ญ. ใกล้ ๆ คาสัง่ จงขดี  หนา้ ขอ้ ความท่เี ขียนคาซ้าถกู ตอ้ งและขดี  หนา้ ข้อความทเ่ี ขียนคาซา้ ไมถ่ ูกตอ้ ง ..................๑. วนั ปใี หม่ ๆ จะตื่นนอนแต่เชา้ และไปตกั บาตร ..................๒. ลูกหลานใครน่ารักจรงิ ๆ ..................๓. เธอรู้สึกเฉย ๆ เมอื่ ถกู ตาหนิเร่ืองการทางาน ..................๔. ขนาดของบานหน้าต่าง ๆ จากบานประตมู าก ..................๕. คุณลงุ จัดสารบั อาหารถวายพระเป็นท่ี ๆ ..................๖. ท่ี ที่ ของฉันอย่แู ถว ๆ สนามบนิ ..................๗. ชาวนาสวมเส้ือสดี า ๆ นาอยู่กลางทงุ่ ..................๘. บายศรีตกแตง่ ด้วยดอกไมส้ ดเปน็ ชั้น ๆ ..................๙. วันน้ฉี ันเขียนผดิ บอ่ ยมากต้องใชย้ างลบ ๆ ตลอด ..................๑๐. โต๊ะไม้สกั ท่วี างขายรา้ นน้ีราคาแพงมาก ๆ

แบบทดสอบการสร้างคาในภาษาไทย วชิ าภาษาไทยพื้นฐาน จานวน ๖๐ ข้อ เร่อื ง การสรา้ งคาในภาษาไทย คาชีแ้ จง แบบทดสอบการสรา้ งคาในภาษาไทยมที ้งั หมด ๔ ตอน ตอนที่ ๑ การสร้างคามลู ในภาษาไทย จานวน ๒๐ ขอ้ ตอนท่ี ๒ การสร้างคาประสมในภาษาไทย จานวน ๒๐ ขอ้ ตอนที่ ๓ การสรา้ งคาซ้อนในภาษาไทย จานวน ๒๐ ขอ้ ตอนท่ี ๔ การสร้างคาซ้าในภาษาไทย จานวน ๒๐ ขอ้ แบบทดสอบเปน็ ขอ้ สอบปรนยั เลอื กตอบ รวมท้ังหมด ๖๐ ขอ้ คาสั่ง ใหน้ ักเรียนทาเคร่ืองหมาย  ในชอ่ งวา่ งในขอ้ ทถ่ี กู ที่สดุ เพียงข้อเดียว ตอนท่ี ๑ ๑. ขอ้ ใดเป็นคามูลที่เป็นคาไทยแทท้ ุกคา ก. พ่อ พ่ี น้อง ข. ก๋ง ล้ือ เฮีย ค. กกุ๊ เก๋ ไก่ ง. ครฑุ นาค ภูต ๒. ขอ้ ใดเป็นคามูลพยางค์เดยี ว ก. ผสม ข. ขนม ค. สนม ง. กลม ๓. “เราร่วมกันพฒั นาเขตบ้านของตน” ประโยคนมี้ คี ามูลสามพยางค์กค่ี า ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา ๔. ข้อใดไม่ใช่คามูลยางคเ์ ดียว ก. กุฏิ ข. ศีล ค. พระ ง. เณร ๕. ข้อใดเป็นคามลู สามพยางค์ทุกคา ก. คมนาคม เกษตร ข. โฆษณา ดาวดึงส์ ค. กัปตนั มะพรา้ ว ง. มะละกอ นรก ๖. ขอ้ ใดเปน็ คามูลที่มาจากภาษาเขมรทกุ คา ก. ทลู สรง โปรด ข. สรง แมว เปีย ค. บาตร ศพ จักร ง. กา๊ ซ โจ๊ก ฟรี

๗. ขอ้ ใดเปน็ คามลู สองพยางค์ทกุ คา ก. กะละแม กญุ แจ ข. กระดงั งา อั้งโล่ ค. มะระ โหราพา ง.คารวะ กันดาร ๘. ขอ้ ใดมีคามลู สองพยางค์ ก. จิ้งหรดี ที่บา้ นฉนั รอ้ งจนน่าราคาญ ข. ถา้ มีดบาดต้องฉดี ยากันบาดทะยัก ค. แมใ่ ช้ผ้าขี้ริ้วทาความสะอาดกระจก ง. ภาพยนตร์ ไทยเรือ่ งนมี้ คี นชมมาก ๙. ประโยคใดไมม่ คี ามลู หลายพยางค์ ก. อังคารนพ้ี ่อจะไปเทีย่ วทะเล ข. ปดิ เทอมแล้วฉันจะไปหาเธอ ค. แม่ซื้อของทตี่ ลาดใกล้วัด ง. ร้านอาหารนห้ี ยุดขายในเดือน ๑๐. ข้อใดไมใ่ ชข่ องลักษณะคามูล ก. เปน็ คาไทยแท้ ข. เป็นคาที่มาจากภาษาอื่น ค. เป็นคาทม่ี ีความหมายในตัวเอง ง. เปน็ คาพยางค์เดียวเทา่ นนั้ ๑๑. “มะพร้าวหล่นในกะละมัง” ประโยคนี้มคี ามูลหนึ่งพยางคก์ ีค่ า ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา ๑๒. “แม่ค้าซือ้ มะละกอมาสามกโิ ลกรัม” ประโยคนีม้ ีคามูลหลายพยางคก์ ค่ี า ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา ๑๓. “ฝนตกทาให้น้าท่วม” ประโยคน้ีมีคามูลก่คี า ก. ๕ คา ข. ๖ คา ค. ๗ คา ง. ๘ คา ๑๔. ข้อใดมคี ามูลสามพยางค์ ก. การต์ ูน สงั ขยา ข. นาฬิกา กระเป๋า ค. ตุ๊กตา ดาวดงึ ส์ ง. กลั ปังหา สาหรา่ ย ๑๕. “ มาถึงบางธรณที วีโศก มีคามูลสองพยางค์คือคาใด ก. มาถงึ ข. บาง ค. ธรณี ง. ทวี

๑๖. ขอ้ ใดมีคามูลสองพยางค์ จานวน ๒ คา ก. ถงึ หนา้ วังดงั หนงึ่ ใจจะขาด ข. คิดถึงบาทบพิตรอดิศร ค. โอ้ผ่านเกล้าเจ้าประคณุ ของสนุ ทร ง. แต่ปางก่อนเคยเฝ้าทกุ เช้าเย็น ๑๗. ขอ้ ใดมคี ามูลสองพยางค์ จานวน ๑ คา ก. พระนิพพานปานประหนงึ่ ศรี ษะขาด ข. ดว้ ยไรญ้ าติยากแคน้ ถึงแสนเขญ็ ค. ทงั้ โรคซ้ากรรมซัดวบิ ัติเป็น ง. ไม่เล็งเหน็ ท่ีซึ่งจะพงึ่ พา ๑๘. ข้อใดมคี ามลู หลายพยางคท์ ่มี าจากภาษาองั กฤษ ก. โรงเรียนมีคอมพวิ เตอรห์ ลายเครอ่ื ง ข. โรงอาหารจาหน่ายกว๋ ยเต๋ยี วชามละ ๒๐ บาท ค. ปีน้ีมังคดุ ราคาคอ่ นขา้ งแพง ง. ดอกกระดงั งานามาทานา้ หอมได้ ๑๙. ประโยคใดมคี ามูลหลายพยางคท์ ีม่ าจากภาษาจนี ก. นกั เรยี นเล่นฟุตบอลทสี่ นาม ข. แมค่ ้าขายซาลาเปาไส้หมู ค. หนา้ ตา่ งบานน้ีชารดุ ง. ประตหู อ้ งเรียนมสี เี ทา ๒๐. “บา้ นของฉันมีนาฬิกาเรือนเก่าหลายเรือน” ประโยคน้มี ีคามูลหลายพยางคก์ ่คี า ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา

คาส่ัง ให้นักเรยี นทาเครอื่ งหมาย  ในช่องวา่ งในข้อทถ่ี กู ทีส่ ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว ตอนที่ ๒ ๑. ขอ้ ใดอธบิ ายความหมายของคาประสมไดถ้ ูกต้องทส่ี ุด ก. เปน็ คาไทยสองคาประสมกัน ข. คามูลท่มี ีความหมายหลกั จะอยู่ต้น คามูลทเ่ี ปน็ คาขยายจะอยู่หลงั ค. คามูลท่ีนามาประสมกนั ตัง้ แตส่ องคาขึ้นไป จะมีความหมายอยา่ งเดียวกนั หรือทานองเดียวกนั ง. คามลู ทีน่ ามาประสมกนั แล้วจะเกดิ ความหมายใหมต่ า่ งกบั คามูลเดมิ แต่ยงั มีเคา้ ความหมายเดมิ ๒. ขอ้ ใดไม่ใช่คาประสม ก. ดาวเทยี ม ข. สะพาน ค. แม่ครัว ง. รถถงั ๓. ขอ้ ใดไม่ใช่คาประสม ก. ชา่ งคดิ ข. ชา่ งไม้ ค. ชา่ งยนต์ ง. ชา่ งกอ่ สร้าง ๔. ข้อใดมคี าประสมที่เกิดจากคาไทยประสมกบั คาตา่ งประเทศ ก. ทางดว่ น ข. ม้านง่ั ค. ตกั บาตร ง. เงนิ ทอง ๕. “ผ้าเช็ดหน้า” เกดิ จากการประสมคาชนิดใด ก. คานาม + คากริยา + คากริยา ข. คานาม + คานาม + คานาม ค. คานาม + คากริยา + คานาม ง. คานาม + คานาม + คากริยา ๖. คาประสมขอ้ ใดมีโครงสร้างจากคานามประสมกับคากริยา ก. ไข่ตม้ ข. บา้ นนอก ค. พัดลม ง. สองใจ ๗. ข้อใดเป็นคาประสม ก. ตดั หญา้ ข. หม้อไฟ ค. เกบ็ ขยะ ง.ลอยฟา้ ๘. คาประสมขอ้ ใดทาหนา้ ทเี่ ป็นคากรยิ า ก. ยาถา่ ย ข.ราดาบ ค.หวานเยน็ ง.ปลาเค็ม ๙. คาประสมข้อใดไม่ได้ทาหน้าท่เี ป็นคานาม ก. นา้ พริก ข. ของกลาง ค. กันสาด ง. ตีเข่า ๑๐. “ผูอ้ านวยการดืม่ น้าหวานในห้อง” ประโยคน้ีมคี าประสมก่ีคา ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา

๑๑. “วนั นพี้ ่อทานข้าวตม้ ท่ีห้องอาหาร” ประโยคน้ีมีคาประสม คอื คาว่าอะไร ก. วันนี้ ข. พอ่ ทาน ค. ข้าวตม้ ง. อาหาร ๑๒. “แมใ่ หฉ้ นั ไปซื้อส้มตา” ประโยคน้มี คี าประสม คอื คาวา่ อะไร ก. แมใ่ ห้ฉนั ข. ไปซอ้ื สม้ ตา ค. แม่ให้ฉันไปซอื้ ง. สม้ ตา ๑๓. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คาประสม ก. บา้ นพกั ข. เครื่องยนต์ ค. สะอาด ง. หอ้ งเรียน ๑๔. ขอ้ ใดไม่ใช่คาประสม ก. ของเก่า ข. หวั แข็ง ค. ตลาด ง. ชาวบ้าน ๑๕. ข้อใดไม่ใช่คาประสม ก. นักหนา ข. นักบิน ค.นกั แสดง ง. นกั รบ ๑๖. ขอ้ ใดไม่ใช่คาประสม ก. มา้ นั่ง ข. ม้าวิ่ง ค.มา้ นา้ ง. มา้ ใช้ ๑๗. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คาประสม ก. แมม่ ด ข. แมน่ ม ค. แม่ทัพ ง. แม่ลูก ๑๘. คาวา่ “ปากกา” เกิดจากคาใดประสมกัน ก. นาม + นาม ข. นาม + สรรพนาม ค. สรรพนาม + กรยิ า ง. กริยา + นาม ๑๙. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คาประสม ก. แกงเขียวหวาน ข. กะทิ ค. หอ่ หมก ง. มดแดง ๒๐. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คาประสม ก. หนา้ มา้ ข. กรอบรูป ค. ตะกรา้ ง. พอ่ ตา

คาสง่ั ใหน้ กั เรียนทาเคร่อื งหมาย  ในชอ่ งวา่ งในข้อทีถ่ ูกที่สุดเพยี งข้อเดียว ตอนที่ ๓ ๑. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ลกั ษณะของคาซอ้ น ก. คาซอ้ นเปน็ คาที่เนน้ ความหมายให้ชัดเจนขึ้น ข. จานวนของคาซอ้ นมกั จะเป็นคาค่เู สมอ ค. คาซ้อนทาหนา้ ทขี่ ยายคาชนิดตา่ ง ๆ ง. คาที่เกดิ จากคาที่มีความหมายตรงข้ามกัน ๒. ขอ้ ใดเปน็ คาซอ้ นทกุ คา ก. โต๊ะเรยี น ทรพั ยส์ นิ ข. ใหญโ่ ต พี่ ๆ น้อง ๆ ค. ขดั ขวาง กวา้ งขวาง ง. ซ๊วยสวย สงู ตา่ ๓. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ คาซ้อน ก. หนกั เบา ข. สวยงาม ค. ถว้ ยชาม ง. เคร่ืองบนิ ๔. ประเภทของคาซอ้ นคอื ขอ้ ใด ก. คาซ้อนเพื่อเสียง ข. คาซ้อนเพื่อความหมาย ค. คาซ้อนเพอ่ื รปู ง. ถกู ทง้ั ขอ้ ก และ ข ๕. คาในข้อใดเปน็ คาซอ้ นเพื่อความหมาย ก. ราบคาบ ข. เกะกะระราน ค. อรอ๊ ยอรอ่ ย ง. อว้ นพี ๖. คาว่า “ลกู หลาน” จดั เป็นคาซอ้ นลกั ษณะใด ก. คาซ้อนทม่ี ีความหมายเกีย่ วข้องกัน ข. คาซอ้ นที่มคี วามหมายเหมอื นกนั ค. คาซอ้ นทม่ี ีความหมายเป็นพวกเดยี วกัน ง. คาซ้อนที่ความหมายตรงข้ามกัน ๗. ข้อใด ไมใ่ ช่ ลักษณะคาซ้อนทเ่ี กิดความหมายใหม่ ก. ของร้อน ข. แก่ชรา ค. อยู่กิน ง. ดูดด่ืม

๘. คาในขอ้ ใดเป็นการซอ้ นเสยี งพยัญชนะต้น ข. เซเพ ก. งมุ่ ง่าม ง. หยิบจับ ค. อ้างว้าง ข. ทรพั ย์สนิ ๙. คาวา่ “ผลหมากรากไม้” เป็นคาซ้อนลักษณะใด ง. กระดาษ ก. คาซอ้ นพยัญชนะต้นและสระ ข. เสอื่ สาด ข. คาซอ้ น ๖ พยางค์ ง. พา่ ยแพ้ ค. คาซอ้ นด้วยพยางค์ทีไ่ ม่มีความหมาย ข. หนงั สอื ง. คาซ้อนท่ีมีความหมายใกล้เคียงกนั แลว้ เพมิ่ พยางค์ ง. คอยทา ข. ยิ้มแย้ม ๑๐. ข้อใดเปน็ คาซอ้ นทีม่ คี วามหมายแคบลงทกุ คา ง. ใหญ่โต ก. ปากคอ หัวหู ข.นมุ่ น่มิ ข. ดูดด่มื ท้องไส้ ง. ด้อมมอง ค. หน้าตา ขา้ วปลา ข. นมุ่ นิม่ ง. กดข่ี หลับนอน ง. กรอบรูป ๑๑. ข้อใดไม่เปน็ คาซ้อน ก. บา้ นเรอื น ค. คบั แคบ ๑๒. ขอ้ ใดไม่เป็คาซอ้ น ก. ไฟฟ้า ค. ดชี ั่ว ๑๓. ขอ้ ใดไมเ่ ปน็ คาซ้อน ก. กราบไหว้ ค. เลวทราม ๑๔. ขอ้ ใดไม่เปน็ คาซ้อน ก. หมวดหมู่ ค. สงู สุด ๑๕. ขอ้ ใดไมเ่ ป็นคาซอ้ น ก. หวั่นไหว ค. กระเป๋า ๑๖. ข้อใดเป็นคาซ้อน ก. กรรไกร ค. กระเป๋า

๑๗. ข้อใดเป็นคาซ้อน ข. เกา้ อี้ ก. หนา้ ต่าง ง. ยางลบ ค. มากมาย ข. กางเกง ๑๘. ขอ้ ใดเปน็ คาซอ้ น ง. ขา้ วเกรียบ ก. แก่เฒ่า ค. บัวตมู ข. รถม้า ง.ผู้ใหญ่บา้ น ๑๙. ข้อใดเปน็ คาซ้อน ก. ชา่ งยนต์ ข.ลกู พี่ ค. กกั ขัง ง.ลูกแก้ว ๒๐. ขอ้ ใดเปน็ คาซอ้ น ก. ลูกหลาน ค. ลกู นอ้ ง

คาสงั่ ใหน้ กั เรียนทาเครือ่ งหมาย  ในชอ่ งวา่ งในข้อทถี่ กู ท่สี ุดเพียงข้อเดยี ว ตอนท่ี ๔ ๑. ประโยคใด ไม่มี คาซา้ ก. หลานหลานที่นา่ รักของยาย ข. คนเราตอ้ งรูจ้ กั พอพอใจในส่ิงท่ตี นมี ค. ผมของเธอสีดา๊ ดา ง. เขาทบุ ทุบจนแมลงสาบตาย ๒. คาว่า “เหมือนๆ” เป็นการซา้ คาชนดิ ใด ก. ซา้ คาสรรพนาม ข. ซา้ คากรยิ า ค. ซา้ คานาม ง. ซา้ คาสนั ธาน ๓. ความหมายของคาซ้าในข้อใดแตกตา่ งจากข้ออ่ืน ก. แดง ๆ ข. ลกู ๆ ค. แม่ ๆ ง. นอ้ ง ๆ ๔. คาในขอ้ ใดเน้นความหมายของคาเดิม ก. แยกเป็นส่วน ๆ ข. บ้านหลังขาว ๆ ค. พูดดัง ๆ หน่อย ง. เด็ก ๆ รอ้ งเพลง ๕. ขอ้ ใดเป็นคาซ้าที่เปล่ียนความหมายใหม่ ก. สวย ๆ ข. กล้วย ๆ ค. ใกล้ ๆ ง. แปลก ๆ ๖. คาวา่ “อยู่เงียบ ๆ” เป็นลกั ษณะของคาซา้ ประเภทใด ก. คาซา้ บอกความเป็นพหพู จน์ ข. คาซา้ บอกความไมเ่ น้นนา้ หนกั ค. คาซา้ ทเี่ ปลี่ยนความหมายใหม่ ง. คาส่ังทบ่ี อกคาสัง่ ๗. ข้อใดใชไ้ มย้ มก (ๆ) ไมถ่ กู ต้อง ก. อยา่ ทางานแค่ลวก ๆ ข. วนั ๆ เธอไมท่ าอะไรเลย ค. เวลานี้ ๆ เธอต้องกลับแล้ว ง. วันนีม้ แี ต่สาว ๆ สวย ๆ

๘. ขอ้ ใดเป็นคาเดียวกันซ้า ๒ หนแตร่ ะดับเสียงวรรณยกุ ต์คงเดิม ก. หนุม่ ๆ ข. จ๊นจน ค. ละลว่ิ ง. ดด๊ี ี ๙. ข้อใดเป็นคาทเ่ี นน้ ระดบั เสียงวรรณยกุ ต์ท่คี ากลาง ก. คมคม้ คม ข. เจบ็ ใจ๊เจ็บใจ ค. ดีใจด๊ ีใจ ง. ครึ่ง ๆ กลาง ๆ ขาด ๆ เกิน ๆ ๑๐. คาวา่ “ส๊วยสวย” เป็นคาซ้าทม่ี ีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. ก็งน้ั ๆ ข. สวยนดิ หนอ่ ย ค. สวยมาก ง. ไม่สวยเลย ๑๑. ข้อใดเปน็ การซา้ คานาม ก. พ่ี ๆ ข. ชา้ ๆ ค. คุณ ๆ ง. เร็ว ๆ ๑๒. ข้อใดเปน็ การซา้ คาสรรพนาม ก. เรา ๆ ท่าน ๆ ข. กนิ อยไู่ ปวนั ๆ ค. เดนิ ไว ๆ ง. สสีแดง ๆ ดา ๆ ๑๓. ข้อใดเป็นการซา้ คาวิเศษณ์ ก. ของ ๆ ทถี่ อื มา ข. นง่ั ๆ นอน ๆ ค. สวย ๆ งาม ๆ ง. บ้านท่ีอยไู่ กล ๆ ๑๔. “คนทน่ี ัง่ อยู่ริม ๆ หนา้ ตา่ ง คือใคร” คาว่า \"รมิ ๆ\" เป็นการซา้ คาชนดิ ใด ก. คานาม ข. คาวเิ ศษณ์ ค. คากริยา ง. คาบุพบท ๑๕. ข้อใดเปน็ การซ้าคาท่ี ไมถ่ กู ตอ้ ง ก. คมค้มคม ข. งายงา่ ยง้าย ค. จดื จื๊ดจืด ง. สวยซ้วยสวย ๑๖. ข้อใดเป็นการซ้าคา ท่ีไมถ่ กู ต้อง ก. ว้านหวาน ข. นกั หนกั ค. จน๊ จน ง. อรอยอรอ่ ย

๑๗. ประโยคในขอ้ ใดมีคาซ้าท่ีบอกความหมายเป็นพหพู จน์ ก. เด็ก ๆ กาลงั ร้องเพลง ข. เดก็ ทไี่ วผ้ มยาว ๆ ไปโรงเรียน ค. เด็กที่อยู่ในตลาดเก่ง ๆ ง. เดก็ กาลงั ช่วย ๆ กันทาความสะอาด ๑๘. ประโยคในขอ้ ใดมีคาซา้ ที่เป็นคาสง่ั ก. นเ่ี ธอรีบน่ัง ๆ ลงได้แลว้ ข. นเ่ี ธอขอใหต้ ้ังใจฟงั ดี ๆ ค. นีเ่ ธอพูดเสยี งดัง ๆ ง. นเ่ี ธอขอใหเ้ งยี บเสยี งด้วย ๆ ๑๙. คาซ้าในข้อใด ซา้ คาแล้วความหมายเปลย่ี นไป ก. หมู ๆ ทบี่ ้านของเธอมกี ี่ตัว ข. งานครัง้ นี้อยา่ คิดว่าหมู ๆ น่ะ ค. อาหารของหมู ๆ ราคาแพงมาก ง. โรงงานไม่รับซอื้ หมู ๆ ทน่ี า้ หนกั ตวั ไม่ถงึ เกณฑ์ ๒๐. ขอ้ ใดมีการซ้าคา ได้ถกู ตอ้ ง ก. วนั ปใี หม่ ๆ จะตื่นนอนแต่เชา้ และไปตกั บาตร ข. ขนาดของบานหน้าตา่ ง ๆ จากบานประตมู าก ค. วันนฉ้ี ันเขยี นผิดบอ่ ยมากตอ้ งใชย้ างลบ ๆ ตลอด ง. คณุ ครทู าบายศรีตกแต่งดว้ ยดอกไม้สดเปน็ ชัน้ ๆ



42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook