Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษา

Published by faii13151, 2022-08-19 13:50:50

Description: ปรัชญาการศึกษา

Search

Read the Text Version

ปรชั ญาการศกึ ษา ความหมายของปรชั ญาการศกึ ษา ปรัชญาการศกึ ษาเป็ นปรัชญาประยกุ ต์ (Applied philosophy) เพราะนำ เอาปรัชญาบรสิ ทุ ธิ์ (Pured Philosophy) มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การศกึ ษา จงึ เรยี กวา่ “ปรัชญาการศกึ ษา” ปรัชญาการศกึ ษามคี วามสำคญั กบั มนุษย์ โดย มงุ่ ใหม้ นุษยเ์ จรญิ งอกงามเป็ นมนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์ ดงั นัน้ ปรัชญาการศกึ ษา เป็ นเครอ่ื งชว่ ยในการคดิ หรอื วเิ คราะหห์ าหลกั การและวธิ กี ารทดี่ ที ส่ี ดุ มาใช ้ ใหเ้ ป็ นแนวทางในการจัดการศกึ ษา ดงั นัน้ ความหมายของ “ปรัชญาการ ศกึ ษา” มอี งคป์ ระกอบดงั นี้ ปรชั ญาการศกึ ษา คอื การนำเอาหลกั การบางประการของปรัชญา แมบ่ ท มาดดั แปลงใหเ้ ป็ นระบบเพอื่ ประโยชนใ์ นการศกึ ษา ปรชั ญาการศกึ ษา คอื ผนู ้ ำทาง (มคั คเุ ทศก)์ ในการจัดการศกึ ษา ของผทู ้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเรยี นการสอน การจัด ประสบการณใ์ นการเรยี นรใู ้ หแ้ กผ่ เู ้ รยี นมากทส่ี ดุ ปรชั ญาการศกึ ษา คอื ความพยายามทจี่ ะวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ การศกึ ษาอยา่ งละเอยี ด ลกึ ซง้ึ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจทงั้ ในเรอื่ งแนวคดิ หลกั ความ สำคญั และเหตผุ ลตา่ งๆ อยา่ งชดั เจน และมจี ดุ หมายตอ่ มนุษย์ สงั คมและ สงิ่ แวดลอ้ ม ปรชั ญาการศกึ ษา คอื การนำเอาแนวความคดิ และความรมู ้ าจัด ระเบยี บเพอื่ แกป้ ัญหาของมนุษยโ์ ดยผทู ้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทว่ี างแนวปัดชญาจะมอง สภาพความเป็ นจรงิ เกย่ี วกบั การดำรงอยขู่ องมนุษย์ และปัญหาทม่ี นุษย์ ตอ้ งเผชญิ อยู่ เพอ่ื จะไดแ้ กไ้ ขไดถ้ กู ตอ้ งและสมบรู ณ์

จากความหมายขา้ งตน้ พอสรปุ ไดว้ า่ ปรัชญาการศกึ ษา หมายถงึ การนำเอาแนวความคดิ หลกั การ และทฤษฎที างปรัชญามาใชเ้ ป็ นแนวทาง ในการจัดการศกึ ษาเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามทตี่ อ้ งการ ความสำคญั ของปรชั ญาการศกึ ษา ความสำคญั ของปรัชญาการศกึ ษา มมี ากสำหรับการดำเนนิ ชวี ติ ของ มนุษย์ หากมนุษยด์ ำเนนิ ชวี ติ โดยปราศจากแนวความคดิ ความรแู ้ ละความ เชอ่ื ทถ่ี กู ตอ้ ง ยอ่ มจะประสบปัญหาและความทกุ ขย์ ากลำบากนานัปการ เพราะมนุษยไ์ มเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งชวี ติ โลกและสง่ิ แวดลอ้ ม ความเขา้ ใจผดิ อาจ ทำลายตนเองและสง่ิ แวดลอ้ ม อนั จะนำมหนั ตภยั มาสมู่ วลมนุษยชาตแิ ละ สภาวะแวดลอ้ มในทสี่ ดุ เพราะฉะนัน้ ปรัชญาการศกึ ษาจงึ มคี วามสำคญั ใน แงต่ อ่ ไปน้ี เป็ นบญั ญัตหิ รอื บรรทดั ฐาน ปรัชญาการศกึ ษามคี วามสำคญั ในแงข่ อง การชว้ี า่ เป้าหมายของการศกึ ษาควรเป็ นอยา่ งไรและมวี ถิ ที างใดทคี่ วรนำมา ใช ้ชแี้ นะเกยี่ วกบั กฎเกณฑต์ า่ งๆ ทจี่ ะนำมาปฏบิ ตั แิ ลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ งอกงาม เป็ นการวเิ คราะหภ์ าษา ความสำคญั ในแงน่ ้ี เป็ นเรอื่ งการใหค้ วาม หมายของปรัชญาเกง็ ความจรงิ และปรัชญาบญั ญัตกิ ระจา่ งชดั ขนึ้ ซงึ่ จะ ชว่ ยตรวจสอบเหตผุ ลของความคดิ ทางการศกึ ษา องคป์ ระกอบของความ คดิ อนื่ ๆ และวถิ ที างทำใหเ้ กดิ ความเบยี่ งเบนและหายไป เพราะความคดิ นัน้ ไรเ้ หตผุ ลทไี่ มร่ ัดกมุ พอ สงิ่ ทสี่ ำคญั ยงิ่ กค็ อื ปรัชญาการศกึ ษาพยายามทจี่ ะ ทำความกระจา่ งในความหมายของคำตา่ งๆ ทใี่ ชใ้ นทางการศกึ ษา เชน่ คำวา่ อสิ รภาพ การปรับตวั ความเจรญิ งอกงาม ประสบการณ์ ความตอ้ งการ และความรู ้เป็ นตน้ เป็ นปรัชญาเกง็ ความจรงิ ปรัชญาการศกึ ษา พยายามแสวงหาสาระที่ จะสรา้ งทฤษฎตี า่ งๆทเี่ กยี่ วกบั ธรรมชาตขิ องมนุษยส์ งั คมและโลกโดยจัด ระเบยี บและตคี วามขอ้ มลู ทขี่ ดั แยง้ ทงั้ หลายซงึ่ ไดม้ าจากการวจิ ัยทางการ ศกึ ษาและทางพฤตกิ รรมศาสตร์

ลกั ษณะของปรชั ญาการศกึ ษา การทจ่ี ะชช้ี ดั ลงไปวา่ ปรัชญาการศกึ ษา มลี กั ษณะเฉพาะ อยา่ งนัน้ เป็ นการยากตอ่ การวนิ จิ ฉัย เพราะคำวา่ ปรัชญา และการศกึ ษาอยา่ งเป็ นคำ ทห่ี าคำจำกดั ความและความหมายอนั เป็ นทยี่ อมรับของทกุ ฝ่ ายไมไ่ ด ้ นักปรัชญาการศกึ ษาแตล่ ะคนแตล่ ะกลมุ่ กม็ อี สิ ระในการคดิ และแสดง ความคดิ เห็นไมต่ รงกนั อยา่ งไรกต็ ามสมาคมประเชยี รก์ ารศกึ ษาของ สหรัฐอเมรกิ าไดป้ ระชมุ ทกุ เถยี งกนั ในเรอ่ื งเนอื้ หาของปรัชญาศกึ ษาวา่ ควร มลี กั ษณะอยา่ งไรผลของการอภปิ รายออกมาและออกแถลงการดงั น้ี “(แกน่ ) ของตนมาตงั้ แตเ่ กดิ จนกระทงั่ ตายดงั นัน้ สาระหรอื คณุ คา่ ตา่ งๆ มาหลงั ความมอี ยขู่ องกลมุ่ อฐั ภิ าวะนยิ มจงึ ใหค้ วามสำคญั แกค่ วามมอี ยมู่ าก กวา่ สาระนักปราชญค์ นสำคญั ในกลมุ่ นเ้ี ชน่ ซอเร็น ครี เ์ คกอรด์ คารล์ แจ สเปอร์ อลั เบริ ต์ คามสู ณอง ปอบซารต์ ร์ และ จอรจ์ เอฟ. เนลเบอร์ เป็ นตน้ แนวทางในการพจิ ารณาปรชั ญาการศกึ ษา ตำราการศกึ ษาหลายเลม่ นักศกึ ษาหลายคน เมอ่ื เรม่ิ สนใจหรอื ทำความเขา้ ใจกบั การศกึ ษา กจ็ ะหนั เขา้ หาปรัชญาพน้ื ฐานกอ่ นทนั ทโี ดยดู วา่ ปรัชญาพน้ื ฐานหรอื ตวั เนอ้ื หาของปรัชญามอี ะไร เชน่ ปรัชญาจติ นยิ ม วตั ถนุ ยิ ม เป็ นตน้ แลว้ กจ็ ะวเิ คราะหก์ ารศกึ ษาไปตามปรัชญาเหลา่ นี้ แนวทางเหลา่ นเี้ ป็ นแนวทางหนง่ึ เทา่ นัน้ และในปัจจบุ นั เรมิ่ นับเป็ นแนวทาง การของปรัชญาทางการศกึ ษาเพราะมขี อ้ จำกดั หลายประการ ในปัจจบุ นั จงึ มแี นวทางอน่ื ๆเกดิ ขนึ้ และเป็ นทน่ี ยิ มมากขนึ้ เมอื่ รวมแลว้ เทา่ ทเี่ ป็ นอยู่ มี 3 แนวทางใหญๆ่ คอื ปรัชญาการศกึ ษาทย่ี ดึ ปรัชญาเนอ้ื หาเป็ นแมบ่ ท ปรัชญาการศกึ ษาทยี่ ดึ ตวั การศกึ ษาเป็ นแกนกลาง และปรัชญาการศกึ ษาที่ มงุ่ หาความกระจา่ งในแนวคดิ และกจิ กรรมทางการศกึ ษา ปรชั ญาการศกึ ษาทยี่ ดึ เนอื้ หาทางปรชั ญาทว่ั ไปเป็ นแมบ่ ท

ปรัชญาการศกึ ษาในแนวนเ้ี ป็ นแนวเกา่ และมมี านานเป็ นระบบและรปู แบบทช่ี ดั เจน เรมิ่ ตน้ จากการศกึ ษาปรัชญาทว่ั ไปกอ่ น เมอื่ รจู ้ ักและทำความ เขา้ ใจกบั ปรัชญาทวั่ ไป ซงึ่ จะเรยี กในทน่ี ว้ี า่ ปรัชญาพน้ื ฐานแลว้ กจ็ ะ วเิ คราะหก์ ารศกึ ษาไปตามปรัชชญาแตล่ ะสาขา เป็ นการสรา้ งปรัชญาการ ศกึ ษาตามปรัชญาทวั่ ไป ขอบเขตของการศกึ ษาในแนวน้ี โดยทวั่ ไปมกั จะเรมิ่ ตน้ จากการศกึ ษา ปรัชญาทว่ั ไป 4 สาขาใหญ่ คอื ปรัชญาจติ นยิ ม (Idealism) ปรัชญาวตั ถนุ ยิ ม (Materialism) และปรัชญาประสบการณน์ ยิ ม (Experimentalism) และเพม่ิ ปรัชญาอตั ถภิ าวะนยิ ม (Existentialism) เขา้ ไวด้ ว้ ย แนวการศกึ ษาลกั ษณะนม้ี ขี อ้ ดหี ลายประการ คอื เป็ นการประยกุ ต์ ปรัชญาทวั่ ไปมาใชก้ บั การศกึ ษาอยา่ งแทจ้ รงิ นักการศกึ ษาไมต่ อ้ งคดิ หรอื วเิ คราะหต์ วั แบบตวั ปรัชญาอะไรใหม่ เพราะนักปรัชญาวเิ คราะหไ์ วแ้ ลว้ รปู แบบของปรัชญามอี ยคู่ อ่ นขา้ งชดั เจนแลว้ นักการศกึ ษาเพยี งแตห่ าขอ้ สรปุ ทางการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั ปรัชญาแตล่ ะรปู แบบเทา่ นัน้ เป็ นตน้ ปรชั ญาการศกึ ษาทยี่ ดึ ตวั การศกึ ษาเป็ นแกนกลาง ปรัชญาการศกึ ษาในแนวนถี้ อื วา่ เมอื่ มกี ารศกึ ษาจงึ มปี รัชญาการ ศกึ ษาเกดิ ขนึ้ การดำเนนิ การศกึ ษาในลกั ษณะใด กจิ กรรมใดกต็ าม จะมแี นว คดิ พน้ื ฐานอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เป็ นเครอ่ื งกำหนดอยเู่ สมอ แนวคดิ หรอื หลกั การเหลา่ นี้ จะชว่ ยใหว้ เิ คราะหท์ ำความเขา้ ใจในกจิ กรรมตา่ งๆ อยา่ ง ชดั เจนและเป็ นเครอื่ งนำไปสกู่ ารปฎบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมถกู ตอ้ งยงิ่ ขนึ้ การศกึ ษาเป็ นกจิ กรรมทใ่ี หญก่ วา่ และมบี ทบาทอยา่ งมากในสงั คม มนุษย์ จงึ ไมค่ วรจะกำหนดจงึ พจิ ารณา โดยการมองเห็นแคเ่ ฉพาะปรัชญาใด ปรัชญาหนงึ่ เทา่ นัน้ แตค่ วรมองใหก้ วา้ งถงึ เรอ่ื งของจติ วทิ ยา สงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งดว้ ย พรอ้ มๆ กนั ไป เมอ่ื วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาแลว้ จงึ กำหนดเป้าหมาย และวธิ กี ารทางการศกึ ษา ขนึ้ เมอ่ื ศกึ ษาปรัชญาการศกึ ษาในแนวนจ้ี งึ ศกึ ษาเรม่ิ ตน้ ดว้ ยจดุ มงุ่ หมาย

หรอื วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษากอ่ นเป็ นการเรม่ิ ตน้ แลว้ จงึ ตามดว้ ยพธิ กี าร ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วเนอื่ งและสมั พันธก์ นั โดยเหตนุ จี้ งึ มกั จะมผี เู ้ รยี กปรัชญาการ ศกึ ษาแนวนว้ี า่ ทฤษฎที ว่ั ไปทางการศกึ ษา ปรชั ญาการศกึ ษาทมี่ งุ่ หาความกระจา่ งในแนวคดิ และกจิ กรรม ทางการศกึ ษา การศกึ ษาปรัชญาในแนวนถี้ อื วา่ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปรัชญากบั การ ศกึ ษานัน้ มคี วามสมั พันธใ์ นลกั ษณะทปี่ รัชญาไมใ่ ชต่ วั เนอ้ื หา แตป่ รัชญา เป็ นกจิ กรรมของการวพิ ากษ์วจิ ารณห์ รอื หาความกระจา่ ง ในความหมาย และในถอ้ ยคำโดยเฉพาะในปัญหาของการศกึ ษา เป็ นการใหค้ วามหมายหรอื ใหค้ ำนยิ ามกบั คำและความหมายทางการ ศกึ ษาตามทศั นะของแตล่ ะคน แลว้ แตว่ า่ แตล่ ะคนจะมองไปในลกั ษณะ ไหนอยา่ งไร บางคนกใ็ หค้ วามหมาย ความกระจา่ งในขนั้ สามญั สำนกึ แต่ บางคนกใ็ หอ้ รรถาธบิ ายในขนั้ ของปรัชญาแลว้ แตค่ วามสามารถและทศั นะ ของแตล่ ะคน การใหค้ วามหมายและการอภปิ รายทเี่ ราควรจะนับไดว้ า่ เป็ นปรัชญาการ ศกึ ษานัน้ ควรมลี กั ษณะทางปรัชญา และผอู ้ ภปิ รายมใี จเป็ นกลาง ประเภทของปรชั ญาการศกึ ษา 1. ปรชั ญาสาขาสารตั ถนยิ ม (Essentialism) เป็ นแนวคดิ ของ วลิ เลยี ม ซแี บกเลย์ จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา จะเนน้ ถา่ ยทอดมรดกทางวฒั นธรรมและความรู ้ ทจี่ ำเป็ น สง่ เสรมิ ใหผ้ เู ้ รยี นมรี ะเบยี บวนิ ัย วธิ กี ารเรยี นการสอน คอื ผเู ้ รยี น มหี นา้ ทที่ ำตามคำสง่ั ของครผู สู ้ อน และผสู ้ อนเป็ นผกู ้ ำหนดสงิ่ ตา่ ง ๆ ทงั้ หมดดว้ ยตวั เองเทา่ นัน้ หรอื ยดึ ครผู สู ้ อนเป็ นหลกั 2. ปรชั ญาสาขานริ นั ตรนยิ ม (Perennialis)

เป็ นแนวคดิ ของ โรเบริ ต์ เอ็ม ฮทั ชนิ เนน้ ในเรอื่ งเหตผุ ลและสตปิ ัญญา มงุ่ เนน้ ทางวชิ าการเนน้ ใหผ้ เู ้ รยี นใชค้ วาม รู ้ ความคดิ และสตปิ ัญญา ซงึ่ ผเู ้ รยี นตอ้ งฝึกฝนคณุ สมบตั ทิ มี่ อี ยู่ โดยไดร้ ับ การสงั่ สอนและแนะนำจากครผู สู ้ อน สว่ นครผู สู ้ อนจะตอ้ งเป็ นผรู ้ แู ้ ละเป็ นผู ้ นำทางสตปิ ัญญาแกผ่ เู ้ รยี น 3. ปรชั ญาสาขาพพิ ฒั นนยิ ม (Progressivism) เป็ นแนวคดิ ของ จอรน์ ดวิ อ้ี (Johm Dewey) แนวคดิ นจ้ี ะสอนใหร้ จู ้ ักคดิ แกป้ ัญหา ผเู ้ รยี นคน้ ควา้ หาคำตอบดว้ ยตนเอง สง่ิ ทเ่ี รยี นจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ชวี ติ ประจำวนั และสงั คม ใหผ้ เู ้ รยี นไดเ้ กดิ ความรดู ้ ว้ ยการลงมอื กระทำ (Learning by doing) ผเู ้ รยี นโอกาสตดั สนิ ใจ เรยี นดว้ ยตวั เขาเอง ผสู ้ อนมหี นา้ ทค่ี อยสนับสนุน แนะนำ และคอยกระตนุ ้ ใหผ้ เู ้ รยี นสนใจใฝ่ เรยี น หรอื เรยี กวา่ การยดึ ผเู้ รยี นเป็ นศนู ยก์ ลาง 4. ปรชั ญาสาขาปฏริ ปู นยิ ม (Reconstructionism) แนวคดิ ของ ยอรช์ เอส เคา้ ทส์ และธโี อเดอร์ บราเมล เนน้ ใหผ้ เู ้ รยี น เห็นความสำคญั ของสงั คมควบคกู่ บั ตนเอง เพอื่ ใหผ้ เู ้ รยี นเขา้ ใจสงั คมและ เห็นทางแกไ้ ขในปัจจบุ นั เพอื่ การเปลย่ี นแปลงทดี่ ขี นึ้ ตรงกบั หลกั สตู รแกน กลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ทยี่ ดึ ปรัชญานเี้ ป็ นหลกั เรยี กวา่ เนน้ เรยี นรดู ้ ว้ ยตนเอง 5. ปรชั ญาสาขาอตั ถภิ าวนยิ ม (Existentialism) แนวคดิ ของ ซอเรนครี ์ เคกอรด์ แนวคดิ นเ้ี นน้ พัฒนาความเป็ นมนุษย์ ของตนเองอยา่ งเต็มที่ ใชอ้ สิ รภาพ เสรภี าพ เลอื กทำในสงิ่ ทตี่ นเองเลอื ก ผเู ้ รยี นมเี สรภี าพในการเลอื กสงิ่ ทอี่ ยากเรยี นดว้ ยตนเอง ผสู ้ อนมหี นา้ ท่ี กระตนุ ้ ใหก้ ำลงั ใจแกผ่ เู ้ รยี น 6. ปรชั ญาสาขาพทุ ธปรชั ญา (Buddihism)

เนน้ การศกึ ษาควบคกู่ บั การปฏบิ ตั ิ การศกึ ษาตงั้ อยบู่ นพนื้ ฐานของ ไตรสกิ ขา คอื ศลี สมาธิ ปัญญา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรชั ญากบั การศกึ ษา ปรัชญาหรอื ปรัชญาทว่ั ไปกบั ปรัชญาการศกึ ษามคี วามใกลช้ ดิ กนั มาก ปรัชญาทว่ั ไปเป็ นการศกึ ษาเกยี่ วกบั ความจรงิ วธิ คี น้ หาความจรงิ และ คณุ คา่ ของสงิ่ ตา่ งๆในสงั คม แตป่ รัชญาการศกึ ษาเป็ นการนำเอาปรัชญา ทวั่ ไปมาประยกุ ตเ์ พอ่ื นำไปจัดการศกึ ษาซง่ึ การจัดการศกึ ษาทำไปเพอื่ พัฒนาบคุ คลพัฒนาสงั คมชมุ ชนใหเ้ กดิ ความสงบสขุ อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ ดงั นัน้ ปรัชญาทวั่ ไปกบั ปรัชญาการศกึ ษาจงึ มคี วามสมั พันธก์ นั อยา่ ง แยกไมอ่ อกทกี่ ลา่ ววา่ ปรัชญากบั ปรัชญาการศกึ ษามคี วามเกยี่ วขอ้ งและ ความสมั พันธอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ นัน้ อาจจะพจิ ารณาไดจ้ ากนักปรัชญาและนักการ ศกึ ษาทม่ี แี นวคดิ ชนั้ นำตงั้ แตส่ มยั โบราณจนถงึ ปัจจบุ นั มกั เป็ นบคุ คลคน เดยี วกนั เชน่ จอหน์ ล็อคก(์ John Locke),อมิ มานูเอล(lmmanuel),จอหน์ ฮา รบ์ ารต์ (John Harbaet ),จอหน์ ดวิ อ(้ี John Dewey) เป็ นตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook