Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารยา HAD

การบริหารยา HAD

Published by ratreemad, 2021-02-24 08:35:24

Description: HAD_Html

Keywords: การบริหารยา HAD,HAD

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การบรหิ ารยา HAD คณะพยาบาลศาสตร์ มรภ.นครปฐม

ทบทวนการใชย้ า High-alert drug อาจารยร์ าตรี หมดั อะดม้ั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม

ความหมาย ยาท่ีมีความเส่ียงสูง (High-alert drug) หมายถึง ยากลุ่มที่มีความเส่ียงสูงท่ีจะ ก่อให้เกิดอนั ตรายต่อผูป้ ่ วยอย่างมากเมื่อใชย้ าผิดพลาด แมว้ ่าการใชย้ าที่มีความ เสี่ยงสูงจะไม่ผิดพลาดก็ตาม แต่ผูป้ ่ วยอาจจะไดร้ ับผลกระทบและส่งผลให้ไดร้ ับ อนั ตราย (Institute for safe medication practices, 2018) เน่ืองจากยาที่มีความเสี่ยง สูงมีผลข้างเคียงท่ีรุนแรงต่ออวัยวะท่ีสาคัญ เช่น หัวใจ ไต สมอง เป็ นต้น (คณะกรรมการเภสชั กรรมและการบาบดั โรงพยาบาลศิริราช, 2560)

ประเภทของยาท่มี ีความเสี่ยงสูง 1. ยาทม่ี คี วามเส่ียงสูง 2. ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 2 3. ยาเคมบี าบัดทเ่ี ป็ นพษิ ทว่ั ไป และวตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทในประเภท 2 ต่อเซลล์ เช่น ยาทีม่ ีดชั นีในการ ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 2 หมายถงึ ยาเสพตดิ ให้โทษทม่ี ปี ระโยชน์ ยาทม่ี ขี ้อบ่งใช้หลกั ใน รักษาแคบ หรือผลของ ทางการแพทย์ ผลติ นาเข้า ขายโดยสานักงานอาหารและยา และ การรักษาโรคมะเร็ง ความคลาดเคลื่อน จาหน่ายให้แก่ผู้ทมี่ ใี บอนุญาตจาหน่ายหรือมไี ว้ในครอบครอง ออกฤทธ์ิขดั ขวางการ ก่อให้เกดิ ผลเสียรุนแรง วตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทในประเภท 2 หมายถึง ยาทม่ี กี าร แบ่งเซลล์ และทาลาย เซลล์ โดยออกฤทธ์ิต่อ ออกฤทธ์ิต่อระบบประสาทส่วนกลางทม่ี สี ารควบคุมการทางานของ เซลล์ทมี่ กี ารแบ่งตวั ทุก ร่างกายหลายระบบ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็ นผู้ ชนิด ท้งั เซลล์มะเร็งและ จัดหาและมกี ระบวนการควบคุมคุณภาพมาตรฐานท้ังการผลติ และ เซลล์ปกติของร่างกาย นาเข้า

1. กลุ่ม Adrenergic agonist ไดแ้ ก่ adrenaline, Dopamine, Dobutamine, Norepinephrine 2. กลุ่มยาโรคหวั ใจกรณีวิกฤต ไดแ้ ก่ Alteplase injection, Nicardepine injection, Nitroglycerine injection 3. Calcium IV ไดแ้ ก่ Calcium gluconate injection, Calcium chloride injection 4. Digoxin (Lanoxin) 5. Heparin (unfractionated) และ Low Molecular Weight Heparin (LMWH) ไดแ้ ก่ Enoxaparin, Fondaparinux และ Tinzaparin

6. Insulin 7. Magnesium IV ไดแ้ ก่ 50% MgSO4 injection, 20% MgSO4 injection และ MgSO4 in D5W 40 mg/ml 8. Opioids ไดแ้ ก่ Fentanyl, Morphine และ Pethidine 9. Potassium injection ไดแ้ ก่ KCL injection, K2 HPO4 injection 10. Warfarin tablet 11. Neuromuscular blocking agents ไดแ้ ก่ Atracurium, Cisatracurium, Pancuronium, Rocuronium และ Succinylcholine

12. ยาเคมีบาบดั ที่เป็นพษิ ต่อเซลลท์ ุกชนิด 13. ยารักษาเบาหวานชนิดรับประทาน 14. Chloral hydrate 15. Benzodiazepine injection 16. Lidocaine IV injection 17. Nitroprusside injection 18. Hypertonic saline ไดแ้ ก่ 3% NaCl

หลกั ในการบริหารยาท่มี คี วามเสี่ยงสูง 1.การเตรียมยา - เม่ือแพทยส์ งั่ ยาท่ีมีความเส่ียงสูง พยาบาลตอ้ งตรวจสอบช่ือ-สกลุ ของผปู้ ่ วย ช่ือยา ขนาดยาใหถ้ ูกตอ้ งก่อน จ่ายยาใหผ้ ปู้ ่ วย - ก่อนการเตรียมยาใหต้ รวจสอบซ้า ช่ือยา ความแรง ปริมาณยาที่ผสมโดยพยาบาล 2 คนท่ีเป็นอิสระจากกนั และเซ็นชื่อกากบั ในเอกสาร 2 คน - ใหเ้ ตรียมยาท่ีมีความเสี่ยงสูงตามท่ีระบุในคูม่ ือของยาแตล่ ะชนิด

หลกั ในการบริหารยาทมี่ คี วามเส่ียงสูง 2.การระบุตวั ผ้ปู ่ วย กรณีผปู้ ่ วยรู้สึกตวั ใหส้ อบถามช่ือ-สกลุ ของผปู้ ่ วยใหต้ รงกบั ช่ือ-สกลุ บนฉลากยา และตรวจสอบ HN บนฉลากยา กบั ป้ายขอ้ มือของผปู้ ่ วย กรณีผปู้ ่ วยไม่รู้สึกตวั ใหต้ รวจสอบชื่อ-สกลุ และ HN บนฉลากยา กบั ป้ายขอ้ มือของผปู้ ่ วย กบั ลกั ษณะเฉพาะของ ผปู้ ่ วย อยา่ งนอ้ ย 2 ลกั ษณะข้ึนไป เช่น เพศ อายุ ลกั ษณะการเจบ็ ป่ วย การวนิ ิจฉยั โรค เป็นตน้ หา้ มใชห้ มายเลขหอ้ ง หรือ เตียงเป็นตวั บ่งช้ี 3.การตดิ ตามการใช้ยาทม่ี ีความเสี่ยงสูง - เฝ้าระวงั อาการผปู้ ่ วยตามคูม่ ือ ติดตามและบนั ทึกผลการใชย้ าหรือความเปลี่ยนแปลงหลงั การใชย้ าที่มีความเส่ียงสูง - พยาบาลแจง้ แพทยเ์ จา้ ของไขท้ นั ที เมื่อพบความผดิ ปกติหรือความผิดพลาดจากการใชย้ าที่มีความเส่ียงสูง - เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงคร์ ุนแรง หรือเกิดความผดิ พลาดท่ีถึงตวั ผปู้ ่ วย หรือเกิดความผดิ พลาดท่ีถึงตวั ผปู้ ่ วย จาก การใชย้ าที่มีความเส่ียงสูง ผเู้ ห็นเหตุการณ์ตอ้ งรายงานอุบตั ิการณ์ทนั ที

หลกั ในการบริหารยาที่มคี วามเสี่ยงสูง กลุ่มยา แนวทางการปฏิบตั ิ 1. การให้ IV infusion ควรใช้ infusion pump Adrenergic agonist 2. ระวงั การสับสนระหว่าง dobutamine กบั dopamine 3. ห้ามให้ร่วมกบั Sodium bicarbonate หรือ สารละลายที่เป็ นด่าง 4. ประเมินและบันทึก BP, HR และ EKG ทุก 1 ชม. ขณะให้ยา 5. เฝ้าระวงั ภาวะแทรกซอ้ น เช่น หัวใจเตน้ เร็ว ปลายเมื่อปลายเทา้ เยน็ ซีด เขียว

หลกั ในการบริหารยาทมี่ คี วามเส่ียงสูง กลุ่มยา แนวทางการปฏบิ ัติ Heparin 1. ระวงั การหยบิ สลบั กบั Insulin 2. ควรหลีกเล่ียงการฉีดเขา้ ช้นั กลา้ มเน้ือ เน่ืองจากอาจทาใหเ้ กิดกอ้ นเลือด (hematoma) 3.ติดตาม BP, HR และ Neuro signs 4. เฝ้าระวงั ภาวะแทรกซอ้ น เช่น เกลด็ เลือด ตา่ เลือดออกง่าย 5. ติดตามผลการทดสอบการแข็งตวั ของ เลือด (activated partial thomboplastin time: aPTT) ตามแผนการรักษา

หลกั ในการบริหารยาทมี่ คี วามเส่ียงสูง กลุ่มยา แนวทางการปฏิบตั ิ 1. ไม่เขียนคาย่อ “U” เพราะอาจดูเหมือนเลขศูนย์ ควรใชค้ าว่า Insulin “unite” แทน 2. ขนาดยาเร่ิมตน้ ของ regular insulin ที่แนะนา คือ 0.20-0.40 units/kg/day โดยแบ่งฉีด 3. ระวงั การหยบิ สลบั กบั heparin 4. หากตอ้ งบริหารยาแบบ IV infusion ควรใช้ infusion pump 5. ติดตามระดบั น้าตาลในเลือดของผปู้ ่ วยอยา่ งใกลช้ ิดตามแผนการ รักษา 6. เฝ้าระวงั ภาวะน้าตาลในเลือดต่า เช่น ใจสั่น เหง่ือออกมา ตัวเย็น ซึมลง ระดบั นา้ ตาลในเลือดตา่ (เด็ก <60 mg/dl ผู้ใหญ่< 70 mg/dl)

หลกั ในการบริหารยาที่มคี วามเส่ียงสูง กลุ่มยา แนวทางการปฏบิ ัติ Potassium injection 1. หา้ มให้ IV push หรือ IV bolus 2. ตอ้ งเจือจางกบั สารน้า (D5W, NSS) ก่อนใหผ้ ปู้ ่ วยเสมอ โดยมี ความเขม้ ขน้ ท่ีใหท้ างหลอดเลือดดาส่วนปลายได้ เช่น KCL นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั 100 mEq/L และ K2 HPO4 นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั 30 mEq/L 3. ระมดั ระวงั การเกิดยาร่ัวออกนอกหลอดเลือด (extravasation) เพราะอาจทาให้เกิดเน้ือตายได้ โดยเฉพาะท่ีใชค้ วามเขม้ ขน้ สูงกว่า 0.10 mEq/ml 4. เฝ้าระวงั ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ตะคริว (muscle cramps) อ่อนเพลีย กลา้ มเน้ืออ่อนแรง สับสน หายใจ ลาบาก หวั ใจเตน้ ชา้ เตน้ ไม่สม่าเสมอหรือเตน้ ผดิ จงั หวะ

หลกั ในการบริหารยาทีม่ ีความเส่ียงสูง การติดป้ ายยาที่มีความเสี่ยงสงู

หลกั ในการบริหารยาท่มี คี วามเส่ียงสูง

ตวั อย่างการบริหารยาท่มี คี วามเส่ียงชนิดฉีด Morphine Morphine 10 mg/ml (1 amp) + Sterile water for injection 9 ml เพื่อใหไ้ ดค้ วามเขม้ ขน้ 1 mg/ml บรรจุใน syringe 10 ml (ยามีความ คงตวั 24 ชวั่ โมงหลงั การผสมยา)

ตวั อย่างการบริหารยาทม่ี คี วามเสี่ยงชนิดฉีด Morphine อุปกรณใ์ นการผสมยา Morphine

ตวั อย่างการบริหารยาทม่ี คี วามเสี่ยงชนิดฉีด Morphine อุปกรณใ์ นการผสมยา Morphine

ตวั อย่างการบริหารยาทมี่ คี วามเสี่ยงชนิดฉีด Morphine ตวั อย่างการติดฉลากยา

ตวั อย่างการบริหารยาท่ีมคี วามเสี่ยงชนิดฉีด Morphine ตวั อย่างการบนั ทึกการใหย้ า MO แบบ Around the clock

ตวั อย่างการบริหารยาที่มคี วามเสี่ยงชนิดฉีด Morphine ตวั อย่างการบนั ทึกการใหย้ า MO แบบ Stat does


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook