รหัสวชิ า 2102-2004 แผนการเรียนรู้ประจาหน่วยที่ 2 สอนคร้ังที่ 2หน่วยที่ 2 จานวน 3 ช.ม. ชื่อวชิ า วดั ละเอียด ช่ือหน่วย เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลแนวคดิ เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกล เช่น บรรทดั เหล็ก สายวดั ระดบั น้า เป็ นเคร่ืองมือวดั ที่มีความละเอียดไม่สูงมากนกั แต่ยงั คงเป็ นเคร่ืองมือวดั ท่ีนิยมใชอ้ ยา่ งแพร่หลายในงานอุตสาหกรรมและงานทวั่ ๆ ไป ดงั น้นั ในการศึกษาเก่ียวกบั การวดั ละเอียดจึงยงั คงมีความจาเป็ นที่จะตอ้ งศึกษารายละเอียดตา่ งๆ เกี่ยวกบั เคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลดว้ ยสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. บรรทดั เหล็ก 3. สายวดัสมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ตัวชี้วดั ) สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกความหมายของเครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกหนา้ ที่ของบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อ่านค่าสเกลบนบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการใชง้ านบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ านบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการบารุงรักษาบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกชนิดของสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกหนา้ ที่ของสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกวธิ ีการบารุงรักษาสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 41 สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เมื่อผูเ้ รียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิตามใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานดว้ ยสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บารุงรักษาเครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์) เมื่อผูเ้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กระบวนการเรียนรู้ ประเมินความรู้เบ้ืองตน้ ทดสอบก่อนการเรียนรู้ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 2แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 2ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทดสอบหลงั การเรียนรู้ ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 42สื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 2 3. ใบมอบหมายงาน ใบงานประจาหน่วยที่ 2 4. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์งานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 2 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไปการประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบมอบหมายงาน ใบงานประจาหน่วยที่ 2 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 3. แบบทดสอบประจาหน่วยท่ี 2 4. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 2
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 43หน่วยที่ 2 แผนการเรียนรู้ คร้ังที่ 2 สอนคร้ังที่ 2หน่วยย่อยท่ี 2 จานวน 3 ช.ม. ช่ือหน่วย เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกล ชื่อหน่วยย่อย เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลแนวคิด เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกล เช่น บรรทดั เหล็ก สายวดั ระดบั น้า เป็ นเคร่ืองมือวดั ท่ีมีความละเอียดไม่สูงมากนัก แต่ยงั คงเป็ นเครื่องมือวดั ที่นิยมใช้อยา่ งแพร่หลายในงานอุตสาหกรรมและงานทว่ั ๆ ไป ดงั น้นั ในการศึกษาเกี่ยวกบั การวดั ละเอียดจึงยงั คงมีความจาเป็ นที่จะตอ้ งศึกษารายละเอียดตา่ งๆ เกี่ยวกบั เคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลดว้ ยสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. บรรทดั เหลก็ 3. สายวดัสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตวั ชี้วดั ) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกความหมายของเคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกหนา้ ท่ีของบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อ่านค่าสเกลบนบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการใชง้ านบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ านบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการบารุงรักษาบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกชนิดของสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกหนา้ ที่ของสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกวธิ ีการบารุงรักษาสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผูเ้ รียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิตามใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 44 1. ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานดว้ ยสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาที่กาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีตา่ งๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ ูเ้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 1 และ 2 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป 3.1.1 ครูสรุปผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 1 และ 2
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 45 3.1.2 ครูใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบรายบุคคล 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 2 ขอ้ 1-10กจิ กรรมนักศึกษา1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามที่ครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามท่ีตนสงสยั และจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีตา่ งๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสังเกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 1 และ 2 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป 3.1.1 นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตาม ใบงานที่ 1 และ 2 3.1.2 นกั ศึกษาทาแบบทดสอบรายบุคคล 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 2 ขอ้ 1-10 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของสปั ดาห์ถดั ไป
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 46ส่ือการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 2 ขอ้ 1-10 3. ใบงานที่ 1 และ 2 4. แบบทดสอบประจาหน่วยท่ี 2 5. ส่ือประกอบการสอน Power Point 6. สื่อของจริงงานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 2 ขอ้ 1-10 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไปการประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 1 และ 2 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 2 ขอ้ 1-10 4. แบบทดสอบประจาหน่วยที่ 2บันทกึ หลงั การสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 47 หน่วยที่ 2 เครื่องมือวดั ละเอยี ดแบบมสี เกลแนวคดิ เคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกล เช่น บรรทดั เหล็ก สายวดั ระดบั น้า เป็ นเครื่องมือวดั ท่ีมีความละเอียดไม่สูงมากนกั แต่ยงั คงเป็ นเครื่องมือวดั ท่ีนิยมใช้อย่างแพร่หลายในงานอุตสาหกรรมและงานทวั่ ๆ ไป ดงั น้นั ในการศึกษาเก่ียวกบั การวดั ละเอียดจึงยงั คงมีความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งศึกษารายละเอียดต่างๆ เก่ียวกบั เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลดว้ ยสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. บรรทดั เหลก็ 3. สายวดัสมรรถนะที่พงึ ประสงค์ สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกความหมายของเครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกหนา้ ท่ีของบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อา่ นค่าสเกลบนบรรทดั เหล็กไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการใชง้ านบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ านบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการบารุงรักษาบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกหนา้ ที่ของสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกชนิดของสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกวธิ ีการบารุงรักษาสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 48 สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิตามใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหลก็ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานดว้ ยสายวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บารุงรักษาเครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เก็บและบารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 492.1 บทนา เครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกล คือ เครื่องมือวดั ที่มีขีดสเกลติดอยทู่ ่ีเครื่องมือวดั และสเกลไม่สามารถเล่ือนได้ เคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลน้ีสามารถอ่านค่าไดโ้ ดยตรง ส่วนมากจะนาไปใชใ้ นการวดั ขนาดชิ้นงานที่ไม่ต้องการความละเอียดและเที่ยงตรงสูงมากนัก เครื่องมือประเภทน้ี ได้แก่บรรทดั เหล็ก สายวดั และตลบั เมตร โดยมีรายละเอียดดงั น้ี2.2 บรรทดั เหลก็ บรรทดั เหล็ก (Steel Rules) หรือบรรทดั วดั เครื่องกลเป็ นเคร่ืองมือวดั ข้นั พ้ืนฐานท่ีนิยมใช้กนัอยา่ งแพร่หลายในโรงงานอุตสาหกรรมเกี่ยวกบั เคร่ืองกล ใชว้ ดั ขนาดของชิ้นงานไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและยงัใช้เป็ นบรรทดั สาหรับขีดระยะบนชิ้นงานร่างแบบหรือออกแบบชิ้นงาน โดยทว่ั ไปบรรทดั เหล็กจะทาจากเหล็กสแตนเลส (Stainless Steel) หรือเหล็กกลา้ ชุบผิว สามารถวดั ค่าไดท้ ้งั ระบบเมตริกมีหน่วยวดัเป็นมิลลิเมตรและระบบองั กฤษมีหน่วยวดั เป็นนิ้วหรืออาจมีระบบเดียวอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงกไ็ ด้ 2.2.1 ชนิดของบรรทดั เหลก็ บรรทดั เหล็กมีหลายลกั ษณะเพ่ือให้เลือกใช้งานไดต้ ามความเหมาะสม ดงั น้นั บรรทดั เหล็กจึงสามารถแยกประเภทตามลักษณะการใช้งานได้หลายชนิด ได้แก่ บรรทัดแผ่นเรียบ (Plane Rules)บรรทดั ส้ัน (Shot Rule) บรรทดั วดั ลึก (Rule Depth Gauge) บรรทดั ปากเลื่อน (Slide Caliper Rule) และบรรทดั พบั (Zig-Zag Rules) เป็นตน้(ก) บรรทดั แผน่ เรียบ (ข) บรรทดั ส้นั (ค) บรรทดั วดั ลึก (ง) บรรทดั ปากเล่ือน (จ) บรรทดั พบั ภาพท่ี 2.1 ตวั อยา่ งบรรทดั เหลก็ ชนิดตา่ งๆ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 50 2.2.1.1 บรรทดั วดั แบบแผ่นเรียบ บรรทดั แบบแผน่ เรียบเป็นบรรทดั ท่ีมีลกั ษณะเป็ นแผน่ แบนเรียบขนาน ท่ีมีขีดสเกลบนแผ่นบรรทดั ท้งั แบบขีดสเกลดา้ นเดียวและแบบขีดสเกล 2 ด้าน โดยแยกเป็ นระบบเมตริกและระบบองั กฤษ หรืออาจท้งั 2 ระบบอยูใ่ นตวั เดียวกนั ปกติขนาดของบรรทดั เหล็กชนิดน้ีจะมีขนาดความหนา0.3 มิลลิเมตร ถึง 1 มิลลิเมตร มีความกวา้ งต้งั แต่ 12 มิลลิเมตร ถึง 25 มิลลิเมตร และความยาว 150มิลลิเมตร ถึง 1600 มิลลิเมตร การสร้างของบรรทดั แบบแผน่ เรียบจะมีหลายลกั ษณะ ดงั ภาพที่ 2.2(ก) บรรทดั เหลก็ แบบตะขอเก่ียว (ข) บรรทดั เหลก็ แบบพกพา (ค) บรรทดั เหลก็ วดั รูเรียวภาพท่ี 2.2 ตวั อยา่ งบรรทดั วดั แบบแผน่ เรียบ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 1) บรรทดั เหล็กแบบแคบ (Narrow Rules) บรรทัดชนิดน้ีมีความกวา้ งประมาณ 12มิลลิเมตร และมีความยาวประมาณ 150 มิลลิเมตร มีขีดสเกลอยูข่ อบดา้ นเดียวของแผน่ บรรทดั สามารถบิดงอได้ ใชว้ ดั ไดท้ ้งั แนวตรงและแนวโคง้ ของชิ้นงานได้ ดงั ภาพที่ 2.3 ภาพท่ี 2.3 บรรทดั เหลก็ แบบแคบ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) บรรทดั เหล็กแบบปลายตดั ฉาก (Square End Rules) บรรทดั เหล็กชนิดน้ีมีลกั ษณะเป็ นปลายตดั เป็ นมุมฉากท้งั 2 ดา้ น มีท้งั แบบแผน่ แขง็ เกร็งและแบบบิดงอไดเ้ ล็กนอ้ ย มีขนาดความยาว
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 51ช่วงวดั ต้งั แต่ 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว) ถึง 300 มิลลิเมตร (18 นิ้ว) มีขีดสเกลวดั เริ่มจากขอบปลายตดั ของบรรทดั เพอ่ื ใชก้ บั การวดั ทวั่ ๆ ไป สามารถวดั ชิ้นงานไดท้ ้งั สองขา้ ง ดงั ภาพที่ 2.4 ภาพท่ี 2.4 บรรทดั เหลก็ แบบปลายตดั ฉาก (ท่ีมา : http://www.amazon.com/Starrett-CB150-36-Combination-GraduationsProtractors/dp/ B003XU7C8W/ref=sr_1_60?s=industrial&ie=UTF8&qid=1347356509&sr=1-60&keywords=protractor) 3) บรรทดั เหล็กแบบหัวมนปลายตดั ฉาก (Round End Rules) บรรทัดเหล็กชนิดน้ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั แบบปลายตดั ฉาก แต่แตกต่างกนั ตรงที่ปลายอีกดา้ นหน่ึงหวั มนและมีรูเจาะไวส้ าหรับห้อยหรือแขวน ขีดสเกลของบรรทดั เหล็กแบบน้ีสามารถวดั ไดจ้ ากขอบปลายเพียงดา้ นเดียว มีท้งั แบบแผน่ แข็งเกร็งและแบบบิดงอไดเ้ ล็กน้อย ส่วนความยาวมีขนาดความยาวช่วงวดั ต้งั แต่ 150 มิลลิเมตร (6นิ้ว) ถึง 600 มิลลิเมตร (39 นิ้ว) ดงั ภาพท่ี 2.5 ภาพที่ 2.5 บรรทดั เหล็กแบบหวั มนปลายตดั ฉาก (ที่มา : http://www.amazon.com/SE-0706569926682-6-Inch-Double-2- Pack/dp/B000TSWOLQ/ref=pd_sbs_indust_1) 4) บรรทดั เหล็กแบบปลายตดั เอียง (Fillet Rules) บรรทดั เหล็กชนิดน้ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั แบบปลายตดั ฉาก แต่แตกต่างกนั ตรงที่ปลายอีกดา้ นหน่ึงเอียง เพื่อให้สามารถสอดวดั เขา้ ไปในบ่าหรือร่องของชิ้นงานและวดั ระยะชิ้นงานท่ีมีบ่าโคง้ ได้ ดงั ภาพท่ี 2.6
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 52 ภาพที่ 2.6 บรรทดั เหลก็ แบบปลายตดั เอียง (ที่มา : http://www.amazon.com/Starrett-C310T-6-Flexible-GraduationsThickness/dp/B000VDZF1U) 5) บรรทดั เหล็กแบบพกพา (Pocker Rules Type) บรรทดั เหล็กชนิดน้ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั บรรทดั เหล็กแบบหัวมนปลายตดั ฉาก แต่แตกต่างกนั ตรงท่ีมีคลิปหนีบ (Pocket Clip) ติดอยูบ่ นแผ่นบรรทดั ใชส้ าหรับล็อกแผน่ บรรทดั และหนีบเก็บบนกระเป๋ าได้ นอกจากน้ีคลิปหนีบยงั สามารถเล่ือนไปมาบนแผน่ บรรทดั และมีบ่ายนั เพ่ือต้งั วดั ความลึกไดอ้ ีกดว้ ย ส่วนขนาดความยาวช่วงวดั ของบรรทดั มีขนาด 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว) ความกวา้ ง 13 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 2.7 คลิปหนีบ ภาพที่ 2.7 บรรทดั เหลก็ แบบพกพา (ที่มา : http://www.penntoolco.com/catalog/products/products.cfm?categoryID=3915) 6) บรรทดั เหล็กแบบขอเกี่ยว (Hook Rules) บรรทดั เหล็กชนิดน้ีมีลกั ษณะคล้ายกับบรรทดั เหล็กแบบปลายตดั ฉาก แต่แตกต่างกนั ตรงที่มีดา้ นหน่ึงมีตะขอเกี่ยวยึดติดอยู่ เพ่ือใช้เป็ นหน้าอา้ งอิงเกี่ยวหรือยนั วดั ชิ้นงาน ซ่ึงขอเก่ียวน้ีมีท้งั แบบยดึ ติดแน่นและปรับเลื่อนระยะได้ ดงั ภาพที่ 2.8 ภาพที่ 2.8 บรรทดั เหลก็ แบบขอเก่ียว (ที่มา : http://www.amazon.com/Fowler-12-Rigid-Hook-Rule/dp/B00AACJFXG/ ref=sr_1_42?s=hi&ie=UTF8&qid=1354740281&sr=1-42&keywords=Hook+Rules)
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 53 7) บรรทดั เหล็กแบบมุมเรียว (Taper Rules) บรรทดั เหล็กชนิดน้ีมีลกั ษณะเป็ นมุมเรียวท้งั 2 ดา้ น แต่ไม่มีหนา้ ที่วดั เรียว การใชง้ านของบรรทดั เหล็กวดั มุมเรียวไดแ้ ก่ ใชว้ ดั ขนาดภายในของท่อหรือขนาดของรูและร่องต่างๆ โดยขีดสเกลของบรรทดั จะบอกขนาดต่างๆ ไปตามความยาวเรียวของแผน่ บรรทดั ดงั ภาพท่ี 2.9 ภาพท่ี 2.9 บรรทดั เหลก็ แบบมุมเรียว (ที่มา : http://www.starrett.co.uk/shop/precision/tapergauges) 2.2.1.2 บรรทดั ส้ัน บรรทดั ส้ันหรือบรรทดั เหล็กขนาดส้ัน เป็ นบรรทดั ท่ีใชว้ ดั งานท่ีเป็ นช่อง ร่องหรือบ่าแคบๆ หรือวดั ชิ้นงานในตาแหน่งอ่ืนๆ ท่ีบรรทดั เหล็กแบบแผน่ เรียบไม่สามารถวดั ได้ บรรทดั เหล็กส้ันมีลกั ษณะเป็ นแผน่ ส้ันๆ บรรทดั เหล็กส้ันท่ีใชง้ านปัจจุบนั มี 2 ระบบ คือ ระบบองั กฤษและระบบเมตริกโดยบรรทดั เหล็กส้ัน 1 ชุด จะมี 5 ขนาด ประกอบดว้ ย ระบบองั กฤษประกอบดว้ ยความยาว 1/4 นิ้ว, 3/8นิ้ว, 1/2 นิ้ว , 3/4 นิ้ว และ 1 นิ้ว ระบบเมตริกจะมี 10 มิลลิเมตร 12 มิลลิเมตร 16 มิลลิเมตร 20 มิลลิเมตรและ 25 มิลลิเมตร สาหรับการใชง้ านจะมีดา้ มจบั ยึดแผน่ บรรทดั และสามารถถอดสับเปล่ียนขนาดได้ดงั ภาพที่ 2.10
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 54 ภาพที่ 2.10 บรรทดั ส้นั(ที่มา : http://www.buygage.com/store/p/652-Small-Steel-Rules-423-Series.html) 2.2.1.3 บรรทดั วดั ลกึ บรรทดั วดั ลึก เป็ นบรรทดั ท่ีใชก้ บั ชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะเป็ นรูหรือร่องลึกๆ ที่ไม่สามารถใช้บรรทดั ชนิดต่างๆ ดงั ท่ีกล่าวมาแล้ววดั ได้ บรรทดั วดั ลึกมีแผ่นบรรทดั ขนาดเล็กซ่ึงแข็งเกร็งและขนาน ยดึ ติดกบั หวั บ่าวดั ที่มีร่องใหเ้ ลื่อนข้ึนลงได้ ชุดหวั บา่ วดั ลึกจะใชบ้ ่าเป็นหนา้ อา้ งอิงกบั ผวิ ส่วนบนของชิ้นงาน ซ่ึงมีท้งั ชนิดบ่าคงที่และบ่าชนิดปรับหมุนเป็ นมุมไดใ้ นตาแหน่ง 30๐, 45๐ และ 60๐ คลา้ ยกับแผ่นองศาของใบวดั มุม บรรทัดวดั ลึกมีขนาดความกวา้ ง 5 มิลลิเมตร (1/4 นิ้ว) และยาว 150มิลลิเมตร (6 นิ้ว) แตม่ ีช่วงวดั ได้ 5 นิ้ว ดงั ภาพท่ี 2.11ผิวอา้ งอิง ชุดหวั บ่าวดั ลึกบรรทดั วดั ลึก สกรูลอ็ ก ภาพที่ 2.11 บรรทดั วดั ลึก (ที่มา : http://www.toolsnworkwear.com/store/product/1/237/Starrett-237-0-To-6inch-Rule-Depth-Gage.html) 2.2.1.4 บรรทดั ปากเลื่อน บรรทดั ปากเลื่อน เป็ นบรรทดั ที่มีปากคงที่เป็ นหน้าอา้ งอิงและปากวดั เลื่อนจะทาการเลื่อนวดั บรรทดั ชนิดน้ีใช้สาหรับวดั ชิ้นงานลกั ษณะทรงกระบอกหรือกลม เช่น เพลา ท่อ หรือวดั
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 55ขนาดชิ้นงานอ่ืนๆ ท่ีวดั ดว้ ยบรรทดั เหล็กชนิดอื่นๆ แลว้ ไม่สะดวกหรือไดข้ นาดที่ไม่แน่นอน สามารถวดัขนาดไดท้ ้งั ภายนอก และภายใน ดงั ภาพท่ี 2.12 ภาพที่ 2.12 บรรทดั ปากวดั เล่ือน (ที่มา : http://www.binding.com/productdetail.aspx?id=ALVN-V729) 2.2.1.5 บรรทดั พบั บรรทดั พบั เป็ นบรรทดั ที่สามารถพบั เก็บไดเ้ มื่อเลิกใชง้ าน พกพาสะดวก บรรทดั พบัโดยทว่ั ไปมีความยาว 1 เมตร และ 2 เมตร การพบั จะพบั ซิกแซกกลบั ไปกลบั มา จานวนพบั มีประมาณ 6ถึง 10 พบั ท้งั น้ีข้ึนอยูก่ บั ความยาวรวมของบรรทดั พบั ดว้ ย บรรทดั พบั ถูกออกแบบให้สามารถนามาใช้งานได้ 2 ลกั ษณะ คือ บรรทดั พบั ปกติ และบรรทดั พบั ที่สามารถปรับขยายขนาดได้ ดงั ภาพท่ี 2.13 ภาพที่ 2.13 บรรทดั พบั (ท่ีมา : http://www.craftsmanspace.com/knowledge/ruler-measuring-tool.html) 2.2.2 สเกลและการอ่านค่าสเกลของบรรทดั เหลก็ สเกลของบรรทดั เหล็กที่ผลิตจาหน่ายกนั โดยทว่ั ไปจะมีขีดสเกลอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบเมตริกมีสเกลเป็นมิลลิเมตร และระบบองั กฤษที่มีสเกลเป็นนิ้ว โดยมีรายละเอียดดงั น้ี
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 56 1) ระบบเมตริก ขีดสเกลระบบเมตริกมีหน่วยวดั เป็ นมิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร โดยจุดที่มีความยาวครบ 1 เซนติเมตร หรือ 10 มิลลิเมตร จะมีตวั เลขกากบั ไว้ และตวั เลขเริ่มตน้ จาก 1, 2, 3... ต่อไปเรื่อยๆถา้ บรรทดั เหล็กท่ีมีความยาวถึงหรือเกินกวา่ 1 เมตร ก็จะมีตวั เลข 1 เมตร กากบั ไวแ้ สดงระยะ 1 เมตรส่วนช่องสเกลจะแบ่งเป็ นช่องๆ โดยท่ีช่องหน่ึงๆ มีความยาวเท่ากบั 1 มิลลิเมตร และสามารถแบ่งละเอียดไดอ้ ีกคือ 0.5 มิลลิเมตร ดงั ภาพท่ี 2.14 ขีดสเกล ช่องละ 0.5 มม. ขีดสเกล ช่องละ 1 มม. ภาพที่ 2.14 ขีดสเกลของบรรทดั เหล็กระบบเมตริก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) ระบบองั กฤษ ขีดสเกลระบบองั กฤษแบ่งขีดความยาวออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบเศษส่วน และแบบทศนิยม การแบ่งขีดความยาวเป็ นเศษส่วนความยาว 1 นิ้ว แบ่งออกเป็ น 8 ส่วน แลว้ แบ่งละเอียดข้ึนอีกเป็น 16, 32 และ 64 ส่วน ตามลาดบั ดงั ภาพท่ี 2.151 นิ้ว แบ่ง 32 ช่อง 1 นิ้ว แบ่ง 64 ช่อง 1 นิ้ว แบ่ง 16 ช่อง ภาพท่ี 2.15 ขีดสเกลของบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบเศษส่วน (ที่มา : http://www.schlenkerenterprises.net/products/20%22%7B47% 7D500-mm-Heavy-Duty-Hardened-Stainless-Steel-Ruler.html) สาหรับการแบ่งขีดสเกลระบบองั กฤษแบบทศนิยมจะแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็ น 10ช่องใหญ่ และแบ่งละเอียดออกเป็ น 50 ช่อง และ 100 ช่อง ตามลาดับ ดังน้ันความยาว 1 นิ้ว แบ่งออกเป็ น 10 ช่อง ความยาว 1 ช่อง มีค่าเท่ากบั 0.10 นิ้ว และแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็ น 50 ช่อง ความ
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 57ยาว 1ช่องมีคา่ เทา่ กบั 0.02นิ้ว และหากแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็น 100 ช่อง ความยาว 1 ช่อง มีคา่ เทา่ กบั0.01 นิ้ว ดงั ภาพท่ี 2.16 0.02 นิ้ว (ท่ีมา : http://www.amazon.com/Mitutoyo-182-104-Chrome-Tempered-Stainless/dp/B001OBSDNA) 0.01 นิ้ว 0.10 นิ้ว (ท่ีมา : http://www.ebay.com/itm/USA-PEC-6-Flexible-Stainless-5R-Machinist- ruler-rule-1-64-1-32-1-10-1-100-/130669052153) ภาพท่ี 2.16 การแบง่ ขีดสเกลระบบองั กฤษแบบทศนิยม 0.1 นิ้ว 0.02 นิ้ว และ 0.01 นิ้ว 2.2.2.1 การอ่านค่าสเกลบรรทดั เหลก็ ระบบเมตริก หน่วยการวดั ระบบเมตริกเป็ นระบบการวดั ที่มีสเกลหลกั เป็นเซนติเมตร และสเกลรองเป็ นมิลลิเมตร โดยท่ีสเกลตวั เลขแต่ละตวั จะมีค่าเท่ากบั 1 เซนติเมตร ไปจนถึงความยาวของบรรทดัเหล็ก เช่น 15, 30 เซนติเมตร เป็ นตน้ การอ่านค่าสเกลบรรทดั เหล็กระบบเมตริกสามารถอ่านได้ 2 แบบตามค่าความละเอียดของบรรทดั เหล็ก คือ บรรทดั เหล็กสเกลค่าความละเอียด 0.5 มิลลิเมตร และบรรทดัเหล็กสเกลคา่ ความละเอียด 1 มิลลิเมตร โดยมีวธิ ีการอ่านคา่ ดงั น้ี 1) บรรทดั เหลก็ สเกลคา่ ความละเอียด 0.5 มิลลิเมตร การอ่านคา่ บรรทดั เหลก็ สเกลคา่ ความละเอียด 0.5 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 2.17
AB C เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 58 DE ภาพที่ 2.17 บรรทดั เหล็กสเกลค่าความละเอียด 0.5 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพที่ 2.17 บรรทดั เหล็กสเกลค่าความละเอียด 0.5 มิลลิเมตร อ่านคา่ ไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีคา่ เทา่ กบั 0.70 มิลลิเมตร ตาแหน่ง B มีค่าเทา่ กบั 1.35 มิลลิเมตร ตาแหน่ง C มีคา่ เทา่ กบั 2.45 มิลลิเมตร ตาแหน่ง D มีคา่ เท่ากบั 3.70 มิลลิเมตร ตาแหน่ง E มีค่าเท่ากบั 4.55 มิลลิเมตร2) บรรทดั เหลก็ สเกลคา่ ความละเอียด 1 มิลลิเมตรการอา่ นคา่ บรรทดั เหล็กสเกลคา่ ความละเอียด 1 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 2.18 A BC D E ภาพท่ี 2.18 บรรทดั เหลก็ สเกลค่าความละเอียด 1 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพที่ 2.18 บรรทดั เหลก็ สเกลคา่ ความละเอียด 1 มิลลิเมตร อา่ นคา่ ไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีค่าเท่ากบั 4.50 มิลลิเมตร ตาแหน่ง B มีค่าเท่ากบั 5.20 มิลลิเมตร ตาแหน่ง C มีค่าเทา่ กบั 5.70 มิลลิเมตร ตาแหน่ง D มีคา่ เทา่ กบั 6.40 มิลลิเมตร ตาแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 7.30 มิลลิเมตร
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 59 2.2.2.2 การอ่านค่าสเกลบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ หน่วยการวดั ระบบองั กฤษท่ีอยูบ่ นบรรทดั เหล็กเป็ นหน่วยการวดั ท่ีอ่านค่าเป็ นนิ้ว ซ่ึงการอ่านค่าสเกลบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษสามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ แบบเศษส่วน และแบบทศนิยมโดยมีวธิ ีการอ่านคา่ ดงั น้ี 1) แบบเศษส่วน การอ่านค่าสเกลบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบเศษส่วนน้นั ขีดสเกลที่ใชบ้ นบรรทดั 1เหล็กจะถูกแบ่งออกเป็ นส่วนๆ เช่น ถา้ ภายใน 1 นิ้ว ถูกแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ก็จะเป็ น 2 นิ้ว และถา้ภายใน 1 นิ้วถูกแบ่งออกเป็ น 16 ส่วน กจ็ ะเป็น 1 นิ้ว เป็ นตน้ 16 เพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจไดง้ ่ายจะขออธิบายการอา่ นคา่ การวดั โดยเริ่มจากสเกลหลกั ก่อนและถดั ไปจะเป็นสเกลรองหลกั ตา่ งๆ ดงั น้ี (1) สเกลหลกั หน่วยการวดั เป็นนิ้ว สเกลหลกั ของหน่วยการวดั ระบบองั กฤษน้ีเป็ นสเกลที่มกั จะมีตวั เลขกากบั อยู่เสมอ โดยทัว่ ไปจะเริ่มตน้ จาก 0 ถึง ความยาวสุดท้ายของบรรทัดเหล็ก ซ่ึงข้ึนอยู่กบั ความยาวของบรรทดั เหลก็ โดยมีลกั ษณะดงั ภาพที่ 2.19 ABCD E ภาพที่ 2.19 สเกลหลกั บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบเศษส่วน (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 2.19 สเกลหลกั บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษ อ่านคา่ ไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีคา่ เทา่ กบั 1 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เท่ากบั 2 นิ้ว ตาแหน่ง C มีค่าเท่ากบั 3 นิ้ว ตาแหน่ง D มีค่าเทา่ กบั 4 นิ้ว ตาแหน่ง E มีคา่ เทา่ กบั 5 นิ้ว
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 60 (2) สเกลรอง 1 นิ้ว 2 1 สเกลรอง 2 นิ้ว เป็ นช่องระยะที่มีการแบ่งออกมาจากความยาว 1 นิ้วโดยแบง่ออกมาเป็ น 2 ส่วนเทา่ ๆ กนั หรือคร่ึงหน่ึงของความยาว 1 นิ้ว ภาพท่ี 2.20 ABCDE ภาพที่ 2.20 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบเศษส่วน 2 (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพท่ี 2.20 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษ อา่ นคา่ ไดด้ งั น้ี 2 1 ตาแหน่ง A มีค่าเทา่ กบั 2 นิ้ว ตาแหน่ง B มีค่าเทา่ กบั 11 นิ้ว 2 21 ตาแหน่ง C มีคา่ เทา่ กบั 2 นิ้ว ตาแหน่ง D มีค่าเท่ากบั 31 นิ้ว 2 ตาแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 4 1 นิ้ว 2 (3) สเกลรอง 1 นิ้ว 4 1 1 สเกลรอง 4 นิ้ว เป็ นสเกลท่ีถูกแบ่งออกมาจากสเกล 2 นิ้ว โดยแบง่ ความยาว 1 นิ้ว ออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กนั โดยแต่ละส่วนจะมีคา่ เทา่ กบั 1 นิ้ว ดงั ภาพที่ 2.21 4
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 61 ABCDE ภาพท่ี 2.21 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบเศษส่วน 4 (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 2.21 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ อ่านคา่ ไดด้ งั น้ี 4 3 ตาแหน่ง A มีค่าเทา่ กบั 4 นิ้ว ตาแหน่ง B มีค่าเท่ากบั 1 1 นิ้ว 4 3 ตาแหน่ง C มีค่าเท่ากบั 1 4 นิ้ว ตาแหน่ง D มีคา่ เทา่ กบั 2 1 นิ้ว 4 23 ตาแหน่ง E มีค่าเทา่ กบั 4 นิ้ว (4) สเกลรอง 1 นิ้ว 8 1 1 สเกลรอง 8 นิ้ว เป็นสเกลที่ถูกแบง่ ออกมาจากสเกล 4 นิ้ว โดยการแบง่ คร่ึงของ 1 นิ้ว ออกเป็ นอีกหน่ึงส่วนเท่าๆ กนั หรือโดยการแบง่ ความยาว 1 นิ้ว ออกเป็ น 8 ส่วนเท่าๆ กนั 4ซ่ึงแตล่ ะส่วนจะมีค่าเทา่ กบั 1 8 นิ้ว ดงั ภาพที่ 2.22 AB CDE ภาพที่ 2.22 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบเศษส่วน 8 (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 62 จากภาพท่ี 2.22 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษ อ่านค่าไดด้ งั น้ี 8 1 ตาแหน่ง A มีคา่ เทา่ กบั 8 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เทา่ กบั 5 นิ้ว 8 3 ตาแหน่ง C มีค่าเท่ากบั 1 8 นิ้ว ตาแหน่ง D มีคา่ เทา่ กบั 17 นิ้ว 8 23 ตาแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 8 นิ้ว (5) สเกลรอง 1 นิ้ว 16 1 1 สเกลรอง 16 นิ้ว เป็ นสเกลที่ถูกแบ่งออกมาจากสเกล 8 นิ้ว โดยการแบ่งคร่ึงของ 1 นิ้ว ออกเป็ นอีกหน่ึงส่วนเท่าๆ กนั หรือโดยการแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็ น 16 ส่วนเท่าๆ 8 1กนั ซ่ึงแต่ละส่วนจะมีคา่ เท่ากบั 16 นิ้ว ดงั ภาพที่ 2.23 A BC DE ภาพท่ี 2.23 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบเศษส่วน 16 (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 2.23 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ อา่ นค่าไดด้ งั น้ี 16 5 ตาแหน่ง A มีคา่ เทา่ กบั 16 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เท่ากบั 15 นิ้ว 16 7 ตาแหน่ง C มีค่าเทา่ กบั 1 16 นิ้ว
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 63 ตาแหน่ง D มีค่าเทา่ กบั 2 3 นิ้ว 16 2 11 ตาแหน่ง E มีค่าเทา่ กบั 16 นิ้ว (6) สเกลรอง 1 นิ้ว 32 1 1 สเกล 32 นิ้ว เป็ นสเกลท่ีถูกแบ่งออกมาจากสเกล 16 นิ้ว โดยการแบ่งคร่ึ งของ 1 นิ้ว ออกเป็ นอีกหน่ึงส่วนเท่าๆ กนั หรือโดยการแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็ น 32 ส่วนเท่าๆ กนั 16 1ซ่ึงแต่ละส่วนจะมีคา่ เท่ากบั 32 นิ้ว ดงั ภาพที่ 2.24 A BCDE ภาพที่ 2.24 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบเศษส่วน 32 (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพท่ี 2.24 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ อา่ นค่าไดด้ งั น้ี 32 5 ตาแหน่ง A มีคา่ เทา่ กบั 32 นิ้ว ตาแหน่ง B มีค่าเทา่ กบั 25 นิ้ว 32 11 ตาแหน่ง C มีค่าเทา่ กบั 1 32 นิ้ว ตาแหน่ง D มีค่าเท่ากบั 1 29 นิ้ว 32 2 14 ตาแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 32 นิ้ว
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 64 (7) สเกลรอง 1 นิ้ว 64 1 1 สเกล 64 นิ้ว เป็ นสเกลที่ถูกแบ่งออกมาจากสเกล 32 นิ้ว โดยการแบ่งคร่ ึ งของ 1 นิ้ว ออกเป็ นอีกหน่ึงส่วนเท่าๆ กนั หรือโดยการแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็ น 64 ส่วนเท่าๆ กนั 32 1ซ่ึงแต่ละส่วนจะมีค่าเท่ากบั 64 นิ้ว ดงั ภาพ ท่ี 2.25 AB CD E ภาพที่ 2.25 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบเศษส่วน 64 (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพท่ี 2.25 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษ อ่านค่าไดด้ งั น้ี 64 มีค่าเทา่ กบั 2 1 ตาแหน่ง A 64 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เทา่ กบั 2 13 นิ้ว 64 29 ตาแหน่ง C มีคา่ เท่ากบั 2 64 นิ้ว ตาแหน่ง D มีคา่ เท่ากบั 2 41 นิ้ว 64 มีคา่ เทา่ กบั 2 57 ตาแหน่ง E 64 นิ้ว 2) แบบทศนิยม การอ่านค่าสเกลบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบทศนิยมน้นั ขีดสเกลท่ีใชบ้ นบรรทดั 1เหล็กถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ คือ ภายใน 1 นิ้ว ถูกแบ่งออกเป็น 50 ส่วน และแตล่ ะส่วนมีค่า 50 นิ้ว หรือ 10.02 นิ้ว และภายใน 1 นิ้วถูกแบ่งออกเป็น 100 ส่วน แตล่ ะส่วนมีค่าเทา่ กบั 100 นิ้ว หรือ 0.01 นิ้ว
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 65 เพอื่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจไดง้ ่ายจะขออธิบายการอา่ นคา่ การวดั โดยเร่ิมจากสเกลหลกั ก่อนและถดั ไปจะเป็นสเกลรองหลกั ตา่ งๆ ดงั น้ี (1) สเกลหลกั หน่วยการวดั เป็นนิ้ว สเกลหลกั ของหน่วยการวดั ระบบองั กฤษน้ีเป็ นสเกลท่ีมกั จะมีตวั เลขกากบั อยู่เสมอ โดยท่วั ไปจะเร่ิมตน้ จาก 0 ถึง ความยาวสุดท้ายของบรรทัดเหล็ก ซ่ึงข้ึนอยู่กบั ความยาวของบรรทดั เหลก็ โดยมีลกั ษณะดงั ภาพท่ี 2.26 AB AB ภาพที่ 2.26 สเกลหลกั บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบทศนิยม (ท่ีมา : http://www.ebay.com/itm/USA-PEC-6-Flexible-Stainless-5R-Machinist- ruler-rule-1-64-1-32-1-10-1-100-/130669052153) จากภาพที่ 2.26 สเกลหลกั บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบทศนิยม อ่านคา่ ไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีค่าเท่ากบั 1.00 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เท่ากบั 2.00 นิ้ว (2) สเกลรอง 0.10 นิ้ว สเกลรอง 0.10 นิ้ว เป็นสเกลที่ถูกแบ่งความยาว 1 นิ้ว โดยถูกแบง่ ออกเป็น 10 1ส่วน ดงั น้นั แต่ละส่วนจะมีคา่ เทา่ กบั 10 นิ้ว หรือ 0.10 นิ้ว ภาพที่ 2.27
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 66A B CD Eภาพที่ 2.27 สเกลรอง 0.10 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบทศนิยม (ท่ีมา : http://www.ebay.com/itm/USA-PEC-6-Flexible-Stainless-5R-Machinist- ruler-rule-1-64-1-32-1-10-1-100-/130669052153) จากภาพที่ 2.27 สเกลรอง 0.10 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ อา่ นคา่ ไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีค่าเท่ากบั 0.30 นิ้ว ตาแหน่ง B มีค่าเทา่ กบั 0.70 นิ้ว ตาแหน่ง C มีคา่ เท่ากบั 1.10 นิ้ว ตาแหน่ง D มีคา่ เท่ากบั 1.40 นิ้ว ตาแหน่ง E มีค่าเทา่ กบั 1.90 นิ้ว (3) สเกลรอง 0.02 นิ้ว สเกลรอง 0.02 นิ้ว เป็นสเกลท่ีถูกแบง่ ความยาว 1 นิ้ว แบ่งออกเป็ น 50 ส่วน 1และแต่ละส่วนจะมีคา่ เทา่ กบั 50 นิ้ว หรือ 0.02 นิ้ว ดงั ภาพที่ 2.28AB CD Eภาพที่ 2.28 สเกลรอง 0.02 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษแบบทดศนิยม (ท่ีมา : http://www.wisc-online.com/objects/MTL1201/types.htm)
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 67 จากภาพท่ี 2.28 สเกลรอง 0.02 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ อา่ นค่าไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีคา่ เท่ากบั 0.22 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เทา่ กบั 0.68 นิ้ว ตาแหน่ง C มีคา่ เท่ากบั 1.36 นิ้ว ตาแหน่ง D มีคา่ เท่ากบั 1.86 นิ้ว ตาแหน่ง E มีค่าเท่ากบั 2.50 นิ้ว (4) สเกลรอง 0.01 นิ้ว สเกลรอง 0.01 นิ้ว เป็นสเกลที่ถูกแบง่ ความยาว 1 นิ้ว แบ่งออกเป็ น 100 ส่วน 1และแตล่ ะส่วนจะมีค่าเท่ากบั 50 นิ้ว หรือ 0.01 นิ้ว ดงั ภาพท่ี 2.29 A B C DE ภาพท่ี 2.29 สเกลรอง 0.01 นิ้ว บนบรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษแบบทศนิยม (ที่มา : http://www.ebay.com/itm/USA-PEC-6-Flexible-Stainless-5R-Machinist- ruler-rule-1-64-1-32-1-10-1-100-/130669052153) จากภาพท่ี 2.29 สเกลรอง 0.01 นิ้ว บนบรรทดั เหล็กระบบองั กฤษ อ่านค่าไดด้ งั น้ี ตาแหน่ง A มีคา่ เท่ากบั 0.34 นิ้ว ตาแหน่ง B มีคา่ เทา่ กบั 0.75 นิ้ว ตาแหน่ง C มีคา่ เท่ากบั 1.22 นิ้ว ตาแหน่ง D มีคา่ เทา่ กบั 1.69 นิ้ว ตาแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 2.05 นิ้ว
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 68 2.2.3 หลกั การและวธิ ีการใช้บรรทดั เหลก็ การวดั ขนาดของชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหล็กน้นั สามารถวดั ไดท้ ้งั ชิ้นงานทรงกลม และส่ีเหล่ียมซ่ึงมีเทคนิคในการวดั ที่ผูใ้ ช้งานจาเป็ นจะตอ้ งทราบเพ่ือให้ไดผ้ ลการวดั ที่ถูกตอ้ ง โดยมีหลกั การและวธิ ีการใชบ้ รรทดั เหลก็ วดั ขนาดชิ้นงานต่างๆ ดงั น้ี 2.2.3.1 การวดั เส้นผ่านศูนย์กลาง การวดั ขนาดบริเวณพ้ืนที่หน้าตดั ของชิ้นงานกลมเพ่ือหาขนาดของเส้นผา่ นศูนยก์ ลางส่ิงท่ีตอ้ งคานึงคือ แนวการวดั ของบรรทดั เหล็กจะตอ้ งอยตู่ รงบริเวณเส้นผา่ นศูนยก์ ลางของชิ้นงานพอดีเนื่องจากวา่ ตรงเส้นผา่ นศูนยก์ ลางน้นั จะเป็ นส่วนที่ชิ้นงานมีขนาดโตท่ีสุด ดงั น้นั ในการวดั ขนาดบริเวณพ้ืนที่หน้าตดั ของชิ้นงานกลม ให้ผูว้ ดั หาจุดอา้ งอิงในการวดั โดยใชแ้ ท่งเหล็กท่ีมีความฉากก้นั ที่บ่าของชิ้นงานเพื่อให้เป็ นจุดอ้างอิง ดังภาพที่ 2.30 (ก) หรือใช้หัวหาศูนย์ (Center Head) ของชุดฉากผสม(Combination Set) ช่วยในการวดั ดงั ภาพที่ 2.30 (ข) ชิ้นงาน บรรทดั เหลก็แท่งเหลก็ ก้นั (ก) การวดั เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางโดยใชแ้ ท่งเหลก็ ก้นัหวั หาศูนย์ (Center Head) ชิ้นงาน บรรทดั เหลก็ (ข) การวดั เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางโดยใชห้ วั หาศูนย์ภาพที่ 2.30 การวดั เส้นผา่ นศูนยก์ ลางดว้ ยบรรทดั เหลก็ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 69 2.2.3.2 การวดั ความยาวชิ้นงานมีบ่าฉาก การวดั ขนาดความยาวของชิ้นงาน ในกรณีที่ชิ้นงานน้ันมีบ่าที่ต้งั ฉากของชิ้นงานอยู่แลว้ สามารถทาการวดั ไดเ้ ลย โดยการใชบ้ ่าของชิ้นงานน้นั เป็ นตวั กาหนดจุดอา้ งอิงในการวดั ชิ้นงาน ดงัภาพที่ 2.31 ชิ้นงาน บรรทดั เหลก็บ่าฉากของชิ้นงานภาพท่ี 2.31 การวดั ความยาวชิ้นงานมีบา่ ฉาก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2.2.3.3 การวดั ความยาวชิ้นงานมบี ่าไม่ฉาก การวดั ขนาดความยาวของชิ้นงาน ในกรณีท่ีชิ้นงานน้นั มีบ่าไม่ฉากของชิ้นงานอยแู่ ลว้ก็สามารถทาการวดั ไดเ้ ลย แต่จะตอ้ งเลือกใช้บรรทดั เหล็กแบบปลายตดั เอียง แต่ยงั คงใชบ้ ่างานในส่วนอื่นเป็นตวั กาหนดจุดอา้ งอิงในการวดั ชิ้นงาน ดงั ภาพท่ี 2.32รัศมีส่วนโคง้ ชิ้นงาน บรรทดั เหลก็ ภาพที่ 2.32 การวดั ความยาวชิ้นงานมีบ่าไมฉ่ าก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2.2.3.4 การวดั ความยาวชิ้นงานไม่มีบ่า การวดั ขนาดความยาวของชิ้นงาน ในกรณีท่ีชิ้นงานน้นั ไม่มีบ่า ผูท้ าการวดั จะตอ้ งหาจุดอา้ งอิงในการวดั โดยใชแ้ ท่งเหล็กท่ีมีความฉากก้นั ที่ขอบของชิ้นงานเพื่อใหเ้ ป็ นจุดอ่างอิง ดงั ภาพท่ี
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 702.33 (ก) ใชบ้ รรทดั เหล็กแบบขอเก่ียว ดงั ภาพท่ี 2.33 (ข) หรือเร่ิมตน้ จุดอา้ งอิงที่ไม่ใช่ขอบของบรรทดัเหล็ก ดงั ภาพที่ 2.33 (ค)แท่งเหลก็ ก้นั บรรทดั เหลก็ ชิ้นงาน(ก) การวดั ขนาดความยาวของชิ้นงานไมม่ ีบ่าโดยใชแ้ ท่งเหลก็ ก้นั (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) บรรทดั เหลก็ แบบขอเก่ียว ชิ้นงาน (ข) การวดั ขนาดความยาวของชิ้นงานไม่มีบ่าโดยใชบ้ รรทดั เหลก็ แบบขอเกี่ยว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) ชิ้นงาน บรรทดั เหลก็(ค) การวดั ขนาดความยาวของชิ้นงานโดยเริ่มตน้ จุดอา้ งอิงท่ีไมใ่ ช่ขอบของบรรทดั เหลก็ (ที่มา : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf) ภาพที่ 2.33 การวดั ความยาวชิ้นงานไม่มีบ่า
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 71 2.2.4 ข้อควรระวงั ในการใช้บรรทดั เหลก็ การใช้บรรทดั เหล็กวดั ขนาดของชิ้นงานให้ไดผ้ ลการวดั ท่ีถูกตอ้ ง นอกจากวิธีการใช้บรรทดัเหลก็ ที่ถูกตอ้ งแลว้ ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งทราบถึงขอ้ ปฏิบตั ิหรือขอ้ ควรระวงั ในการใชด้ งั น้ี 2.2.4.1 เลือกประเภทบรรทดั เหล็กใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะงานท่ีตอ้ งการวดั 2.2.4.2 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของสเกลก่อนใชท้ ุกคร้ัง 2.2.4.3 ก่อนทาการวดั ขนาดของชิ้นงานจะตอ้ งทาความสะอาดบรรทดั เหล็ก และลบคมชิ้นงานใหเ้ รียบร้อย 2.2.4.4 การวดั พ้ืนที่หนา้ ตดั ของชิ้นงาน ควรมีการขยบั และทาการอ่านค่า 2-3 คร้ัง เพื่อตอ้ งการหาขนาดที่ถูกตอ้ งของชิ้นงาน โดยจะตอ้ งกาหนดจุดเร่ิมตน้ ท่ีชดั เจนและในระหวา่ งการขยบั น้นัจะตอ้ งระวงั ไมใ่ หจ้ ุดเริ่มตน้ ของการวดั น้นั ขยบั ซ่ึงจะส่งผลต่อขนาดที่วดั ได้ ดงั ภาพที่ 2.34 แนววดั การที่ผิด แนววดั การท่ีถกู แนววดั การท่ีผดิ ภาพที่ 2.34 แนวการวดั ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางของชิ้นงานกลม (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2.2.4.5 การวดั ความยาวชิ้นงาน แนวการวางของบรรทดั เหล็กจะตอ้ งวางแนวขนานกบัผิวของชิ้นงานพอดีไม่เอียงไปดา้ นใดดา้ นหน่ึงมากเกินไป เพราะจะทาให้ค่าท่ีไดจ้ ากการวดั น้นั ไม่ตรงกบั ขนาดจริงของชิ้นงาน ดงั ภาพท่ี 2.35(ก) แนวการวางบรรทดั ที่ถกู ตอ้ ง (ข) แนวการวางบรรทดั ที่ไม่ถูกตอ้ งภาพท่ี 2.35 แสดงแนวการวางบรรทดั เหลก็ วดั ความยาวชิ้นงาน (ท่ีมา : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf)
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 72 2.2.4.6 การวดั ชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหล็กท่ีตรงปลายบรรทดั สึก ควรวดั โดยเริ่มตน้ ที่เลขจานวนเตม็ บรรทดั เหลก็ เช่น 1 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร หรือ 1 นิ้ว 2 นิ้ว เป็นตน้ ดงั ภาพที่ 2.36 ปลายบรรทดั สึกหรอ (ก) การวดั ชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหลก็ ที่ตรงปลายบรรทดั สึก จุดเร่ิมตน้ ของการวดั (ข) วดั โดยเริ่มตน้ ท่ีเลขจานวนเตม็ ของบรรทดั เหลก็ภาพที่ 2.36 การวดั ชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหลก็ ที่ตรงปลายบรรทดั สึกหรือมีรอยเยนิ (ท่ีมา : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf) 2.2.4.7 การวางบรรทดั เหลก็ เพอื่ ทาการวดั จะตอ้ งให้ขีดสเกลของบรรทดั เหล็กติดกบัส่วนที่ถูกวดั หรือชิ้นงาน ดงั ภาพที่ 2.37บรรทดั เหลก็ อยใู่ นแนวต้งั บรรทดั เหลก็ อยใู่ นแนวนอน(ก) การวางบรรทดั เหลก็ เพอื่ ทาการวดั ท่ีถูกตอ้ ง (ข) การวางบรรทดั เหลก็ เพ่ือทาการวดั ท่ีไม่ถูกตอ้ ง ภาพที่ 2.37 การวางบรรทดั เหลก็ เพื่อทาการวดั(ท่ีมา : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf)
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 73 2.2.4.8 การอ่านค่าที่ไดจ้ ากการวดั ชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหล็ก ตอ้ งให้สายตาอยู่ในแนวตรงกบั ตาแหน่งที่อา่ นคา่ ของบรรทดั เหลก็ เพื่อใหก้ ารอ่านสเกลบนบรรทดั เหลก็ ถูกตอ้ ง ดงั ภาพที่ 2.38ไมถ่ กู ตอ้ ง ไมถ่ ูกตอ้ ง ถูกตอ้ งภาพท่ี 2.38 ตาแหน่งการอา่ นคา่ ที่ไดจ้ ากการวดั ชิ้นงานดว้ ยบรรทดั เหล็ก (ท่ีมา : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf) 2.2.5 การบารุงรักษาบรรทดั เหลก็ เพื่อใหบ้ รรทดั เหลก็ มีอายกุ ารใชง้ านไดย้ าวนานและใหผ้ ลการวดั ท่ีถูกตอ้ ง ผใู้ ชบ้ รรทดั เหล็กควรทาการดูแลและบารุงรักษาบรรทดั เหล็กดงั น้ี 2.2.5.1 ตรวจสภาพการใชง้ านของบรรทดั เหลก็ อยเู่ สมอ เช่น รอยเยนิ ท่ีขอบและการบิดงอของบรรทดั เหลก็ เป็นตน้ 2.2.5.2 ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิมเม่ือเลิกใชง้ านก่อนเกบ็ เขา้ ช่องเกบ็ ทุกคร้ัง 2.2.5.3 เกบ็ บรรทดั เหล็กในท่ีเกบ็ ที่เหมาะสม เช่น มีช่องเสียบเก็บ หรือหอ้ ยกบั ขอเก่ียว 2.2.5.4 ถา้ ตอ้ งวางบรรทดั เหล็กกบั พ้นื ใหว้ างบรรทดั เหล็กในแนวระนาบเสมอ 2.2.5.5 อยา่ วางบรรทดั เหลก็ รวมกบั เครื่องมือชนิดอื่น โดยเฉพาะเครื่องมือที่มีคม 2.2.5.6 หา้ มใชบ้ รรทดั เหล็กแทนเคร่ืองมือชนิดอื่น เช่น ไขควง และคอ้ น เป็ นตน้
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 742.3 สายวดั สายวดั (Tape) เป็ นเครื่องมือวดั แบบสายชนิดหน่ึงที่นิยมใชว้ ดั ชิ้นงานที่มีความยาวมากๆ เช่นวดั ความยาวถนน วดั ความยาวสนาม และวดั ขนาดของร่างกายเพือ่ ตดั เส้ือผา้ เป็นตน้ 2.3.1 ชนิดของสายวดั สายวดั โดยทวั่ ไปจะแบง่ ออกเป็น 2 แบบ คือ 2.3.1.1 สายวดั แบบท่ีใช้วดั ชิ้นงานที่มีความโคง้ เวา้ ต่างๆ เช่น สายวดั ผา้ หรือสายวดัขนาดร่างกายท่ีใชใ้ นการตดั เยบ็ เส้ือผา้ เป็นตน้ 2.3.1.2 สายวดั แบบท่ีสามารถหดหรือม้วนเก็บได้ ใช้วดั ชิ้นงานท่ีเป็ นเส้นตรง เช่นตลบั เมตร และเทปวดั เป็นตน้ 2.3.2 สายวดั ผ้า สายวดั ผา้ หรือสายวดั ตดั เส้ือผา้ (Tailor Measuring Tape) ใช้ในการวดั ส่วนของเส้ือผา้ หรือร่างกายสาหรับตดั เยบ็ เส้ือผา้ สายวดั ชนิดน้ีมีความยืดหยุน่ เพื่อรองรับเส้นโคง้ จานวนมากของร่างกายที่ปลายท้งั สองของสายวดั จะมีแผ่นโลหะติดอยู่ สายวดั ผา้ จะมีสเกลวดั ด้านหน่ึงเป็ นระบบเมตริกและสเกลอีกดา้ นหน่ึงเป็นระบบองั กฤษ ความยาวของสายวดั ผา้ มีหลายขนาด เช่น 1 เมตร 1.5 เมตร และ2 เมตร โดยความกวา้ ง 10 มิลลิเมตร ดงั ภาพท่ี 2.39 ภาพท่ี 2.39 สายวดั ผา้ (ท่ีมา : http://nickgrantham.com/a-coach-is-no-better-than-a-measuring-tape) 2.3.3 สายวดั โลหะ สายวดั โลหะ (Steel Measuring Tape) เป็ นสายวดั ท่ีผลิตมาจากพลาสติกหรือโลหะ สามารถหดหรือมว้ นเก็บเขา้ ตลบั ได้ สายวดั ชนิดน้ีนิยมใชส้ าหรับวดั ชิ้นงานที่ตอ้ งการวดั เป็ นเส้นตรง ไม่สามารถบิดตามชิ้นงานได้ ซ่ึงสายวดั น้ีแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ ตลบั เมตรและเทปวดั โดยมีรายละเอียดดงั น้ี
เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 75 2.3.3.1 ตลบั เมตร ตลบั เมตร (Steel Tape Rule) เป็ นเคร่ืองมือวดั ชนิดหน่ึงที่มีสายวดั เก็บอยู่ในตลบั อยา่ งมิดชิด ทาให้สะดวกในการนาติดตวั ไปใชง้ านไดต้ ลอดเวลา ตลบั เมตรใชใ้ นการวดั หาความยาวหรือตรวจสอบขนาดของวสั ดุชิ้นงาน ฯลฯ เน่ืองจากตรงหัวสายวดั ของตลบั เมตรมีขอเกี่ยว ซ่ึงใชเ้ ป็ นที่เกาะยึดกับขอบของชิ้นงานที่ต้องการวดั ทาให้การดึงสายวดั ออกจากตลับเพ่ือใช้ในการวดั ระยะหรือตรวจสอบขนาดของวสั ดุหรือชิ้นงานทาได้สะดวก ที่ด้านหน้าของสายวดั มีหน่วยการวดั เป็ นนิ้ว ฟุตหรือหน่วยเมตริกกากบั ไว้ หรือสายวดั บางชนิดของตลบั เมตรมีหน่วยนิ้ว ฟุต กากบั ไวข้ า้ งหน่ึง และมีหน่วยเมตริกกากบั ไวอ้ ีกขา้ งหน่ึงเพื่อสะดวกในการใช้ ตลบั เมตรท่ีมีจาหน่ายตามทอ้ งตลาดทวั่ ไป มีขนาดตลบั บรรจุสายวดั ไดค้ วามยาวต้งั แต่ 1.00–5.00 เมตร ดงั ภาพที่ 2.40 (ก) ตลบั เมตร (ที่มา : http://blogs.thaipod101.com/blog/2011/07/page/2) (ข) สายวดั ของตลบั เมตร (ที่มา : http://www.thefabricator.com/article/testingmeasuring/precision-measurement-101) ภาพที่ 2.40 ตวั อยา่ งตลบั เมตรและสายวดั ของตลบั เมตร 1) การใชต้ ลบั เมตร ตลบั เมตรใชส้ าหรับการวดั และตรวจสอบขนาดของวสั ดุหรือชิ้นงาน มีวธิ ีปฏิบตั ิดงั น้ี (1) เลือกขนาดของตลบั เมตรใหม้ ีความยาวเหมาะสมกบั ความยาวชิ้นงานท่ีตอ้ งการวดั (2) ใชข้ อเก่ียวของตลบั เมตรเก่ียวกบั ริมขอบของชิ้นงาน แลว้ พยายามปรับตลบั เมตรใหไ้ ดม้ ุมฉากกบั ริมขอบของชิ้นงานและตรงกบั ตาแหน่งท่ีกาหนด ดงั ภาพที่ 2.41
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 76 ขอเก่ียว ภาพที่ 2.41 การใชข้ อเกี่ยวของตลบั เมตร (ที่มา : http://news.thomasnet.com/news/portable-tools/measuring-tools) (3) ดึงสายวดั ให้ตึงแล้วใช้ดินสอหรือเหล็กขีดเพื่อทาเคร่ืองหมายให้ตรงกบัระยะความยาวลงบนชิ้นงาน หรืออา่ นค่าจากความยาวที่วดั ไดข้ องชิ้นงานกไ็ ด้ 2) การบารุงรักษาตลบั เมตร การบารุงรักษาตลบั เมตรใหอ้ ยใู่ นสภาพการใชง้ านไดด้ ี มีวิธีปฏิบตั ิดงั น้ี (1) หลีกเลี่ยงการใช้ของแข็งหรือของมีคม ขูดลงบนหน่วยการวดั ซ่ึงทาให้หน่วยการวดั ไม่ชดั เจน เกิดการวดั ที่ผดิ พลาดได้ (2) การมว้ นสายวดั เขา้ เก็บในตลับ ควรใช้มือจบั ช่วยผ่อนแรงไม่ให้สายวดัมว้ นเขา้ ตลบั เร็วเกินไป อาจทาใหส้ ายวดั ติดขดั เสียหายได้ (3) การดึงขอเก่ียวที่หัวสายวดั แรงเกินไปขณะวดั ระยะ อาจทาให้ขอเกี่ยวบิดหรือยดึ ตวั ออก เป็นเหตุใหห้ น่วยการวดั ผดิ พลาดได้ (4) ระมดั ระวงั การวางสิ่งของที่มีน้าหนกั ทบั ลงบนตลบั เมตร เพราะจะทาให้ตลบั เมตรแตกชารุดเสียหายได้ 2.3.3.2 เทปวดั เทปวดั (Long Tape) นิยมใชส้ าหรับวดั ความยาวของชิ้นงานท่ีมีความยาวมากๆ เช่น วดั ความยาวถนน และวดั ความยาวของสนาม เป็ นตน้ ลกั ษณะของสเกลสายวดั ชนิดน้ีมีท้งั ระบบเมตริก และระบบองั กฤษท่ีรวมอยู่ในสายเดียวกนั สาหรับวสั ดุท่ีใช้ทาสายวดั อาจทามาจากวสั ดุหลายชนิด เช่น โลหะหรือไฟเบอร์กลาส โดยมีรายละเอียดดงั น้ี
เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ล ะ เ อี ย ด แ บ บ มี ส เ ก ล | 77 1) เทปวดั สายโลหะ เทปวดั สายโลหะ (Steel Blade Long Tape) เป็นเทปวดั ที่ทามาจากเหล็กกลา้ ซ่ึงทนการกดั กร่อนและไมเ่ ป็นสนิม สายวดั โลหะน้ีมีความยาว 15 เมตร, 30 เมตร และ 50 เมตร ดงั ภาพที่ 2.42(ก) เทปวดั ระยะสแตนเลส (ข) เทปวดั ระยะทางชนิดเหลก็ เคลือบไนลอ่ น ภาพท่ี 2.42 เทปวดั สายโลหะ(ท่ีมา : http://www.svt.co.th/net/Phase/Measuring%20Tapes/05-002.html) 2) เทปวดั สายไฟเบอร์กลาส เทปวดั สายไฟเบอร์กลาส (Fiberglass Blade Long Tape) เป็ นสายวดั ที่มีความนุ่มนวลเช่นเดียวกบั ผา้ แต่มีความคงทนต่อการยดึ ตวั ทาใหม้ ีความเท่ียงตรงและถูกตอ้ งมากกวา่ เทปวดั สายโลหะเทปวดั ไฟเบอร์กลาสจะเคลือบด้วยสารพีวีซี จึงไม่ซึมน้า ทาให้ง่ายตอ้ การอ่านและคงทนต่อสภาพอากาศ มีขนาดความยาว 30 เมตร, 50 เมตร และ 100 เมตร ดงั ภาพที่ 2.43 ภาพท่ี 2.43 เทปวดั สายไฟเบอร์กลาส(ท่ีมา : http://www.svt.co.th/net/Phase/Measuring%20Tapes/05-002.html)
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: