รหสั วชิ า 2102-2004 แผนการเรียนรู้ประจาหน่วยท่ี 5 สอนคร้ังที่ 7-9หน่วยที่ 5 จานวน 9 ช.ม. ช่ือวชิ า วดั ละเอียด ชื่อหน่วย ไมโครมิเตอร์แนวคดิ ไมโครมิเตอร์เป็ นเคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบเล่ือนไดม้ ีสเกลอีกชนิดหน่ึงที่นิยมใชม้ ากในงานอุตสาหกรรมเพราะสามารถอ่านค่าวดั ได้โดยตรง ให้ค่าไดล้ ะเอียดและเท่ียงตรงสูงกว่าบรรทดั เหล็กและเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ สามารถวดั ขนาดของชิ้นงานไดท้ ้งั ความยาว ความกวา้ ง ความโตภายนอก ความโตภายใน ความต่างระดบั และความลึกของชิ้นงาน ไมโครมิเตอร์แบ่งเป็ น 3 แบบตามลกั ษณะการใช้งาน ไดแ้ ก่ ไมโครมิเตอร์วดั นอก ไมโครมิเตอร์วดั ใน และไมโครมิเตอร์วดั ลึก เน่ืองจากไมโครมิเตอร์แต่ละชนิดมีลกั ษณะ วิธีการใช้ และการบารุงรักษาที่แตกต่างกนั ดงั น้ันผูใ้ ช้จึงตอ้ งศึกษาหลกั การต่างๆเกี่ยวกบั ไมโครมิเตอร์ใหเ้ ขา้ ใจก่อนการใชง้ านสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. ชนิดของไมโครมิเตอร์ 3. ไมโครมิเตอร์วดั นอก 4. ไมโครมิเตอร์วดั ใน 5. ไมโครมิเตอร์วดั ลึกสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตวั ชี้วดั ) สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. จาแนกชนิดของไมโครมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การแบง่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อา่ นค่าสเกลไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 6. อธิบายข้นั ตอนในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 8. อธิบายวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 216 9. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 10. อา่ นคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 11. อธิบายวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 12. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 13. อธิบายวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 14. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 15. อ่านคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 16. อธิบายวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึกถูกตอ้ ง 17. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 18. อธิบายวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ื่นได้ (การทางานกลุ่ม)
กระบวนการเรียนรู้ ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 217 ประเมินความรู้เบ้ืองตน้ ประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ทดสอบก่อนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 7 ทดสอบหลงั การเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ คร้ังที่ 8 แผนการเรียนรู้ คร้ังที่ 9 ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 218สื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 3. ใบมอบหมายงาน ใบงานประจาหน่วยท่ี 5 4. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์งานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ส่งในการเรียนคร้ังต่อไปการประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบมอบหมายงาน ใบงานประจาหน่วยที่ 5 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 3. แบบทดสอบประจาหน่วยท่ี 5 4. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 219หน่วยที่ 5 แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 7 สอนคร้ังที่ 7หน่วยย่อยที่ 7 จานวน 3 ช.ม. ชื่อหน่วย ไมโครมิเตอร์ ชื่อหน่วยย่อย ไมโครมิเตอร์วดั นอกแนวคิด ไมโครมิเตอร์วดั นอกเป็นเครื่องมือท่ีใชว้ ดั ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางภายนอก หรือวดั ความยาว ท่ีให้ความละเอียดและความเที่ยงตรงสูง เป็ นที่นิยมใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวางในอุตสาหกรรม ไมโครมิเตอร์วดันอกมีหลายชนิดและหลายขนาด มีระบบหน่วยการวดั ท้งั ระบบเมตริก และระบบองั กฤษสาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของไมโครมิเตอร์ 2. ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั นอก 3. หลกั การแบ่งสเกลไมโครมิเตอร์วดั นอก 4. การอ่านค่าสเกลไมโครมิเตอร์วดั นอก 5. การใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอก 6. ข้นั ตอนการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอก 7. ขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอก 8. การเกบ็ และบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั นอกสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตัวชี้วดั ) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. จาแนกชนิดของไมโครมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การแบ่งสเกลไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อา่ นค่าสเกลไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 6. อธิบายข้นั ตอนในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 8. อธิบายวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 220 สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาท่ีกาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีต่างๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ เู้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 7 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป ครูสรุปผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 7
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 221 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานให้นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ขอ้ 1-8 กจิ กรรมนักศึกษา 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามที่ครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามท่ีตนสงสยั และจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีต่างๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสงั เกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 7 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 7 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ขอ้ 1-8 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของสัปดาห์ ถดั ไปสื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 1-8 3. ใบงานท่ี 7 4. ส่ือประกอบการสอน Power Point 5. ส่ือของจริงงานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 1-8 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไป
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 222การประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 7 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ขอ้ 1-8บันทกึ หลงั การสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 223หน่วยที่ 5 แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 8 สอนคร้ังที่ 8หน่วยย่อยที่ 8 จานวน 3 ช.ม. ชื่อหน่วย ไมโครมิเตอร์ ชื่อหน่วยย่อย ไมโครมิเตอร์วดั ในแนวคิด ไมโครมิเตอร์วดั ใน (Inside Micrometers) ถูกออกแบบมาเพือ่ ใชว้ ดั ขนาดความโตภายในชิ้นงาน เช่นความโตของรูควา้ น ความกวา้ งของร่อง เป็ นตน้ ไมโครมิเตอร์วดั ในมีหลายชนิดและหลายขนาด มีระบบหน่วยการวดั ท้งั ระบบเมตริก และระบบองั กฤษ การแยกประเภทของไมโครมิเตอร์วดั ในสามารถแยกตามลกั ษณะการใชง้ านสาระการเรียนรู้ 1. ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ใน 2. การอา่ นคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ใน 3. การใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ใน 4. ขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ใน 5. การเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ในสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตัวชี้วดั ) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 2. อ่านคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 5. อธิบายวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 224 สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพ่ือนาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาท่ีกาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีต่างๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ ูเ้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 8 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป ครูสรุปผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 8 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 9-13
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 225 กจิ กรรมนักศึกษา 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามที่ครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามที่ตนสงสัยและจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีตา่ งๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสังเกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 8 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 8 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 9-13 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของสปั ดาห์ ถดั ไปสื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 9-13 3. ใบงานที่ 8 4. ส่ือประกอบการสอน Power Point 5. ส่ือของจริงงานทมี่ อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 9-13 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไป
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 226การประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 8 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ขอ้ 9-13บนั ทกึ หลงั การสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 227หน่วยที่ 5 แผนการเรียนรู้ คร้ังที่ 9 สอนคร้ังที่ 9หน่วยย่อยท่ี 9 จานวน 3 ช.ม. ช่ือหน่วย ไมโครมิเตอร์ ช่ือหน่วยย่อย ไมโครมิเตอร์วดั ลึกแนวคดิ ไมโครมิเตอร์วดั ลึก (Depth Micrometer) เป็ นไมโครมิเตอร์อีกชนิดหน่ึงที่ใช้วดั ความลึกของรูเจาะ รู คว้าน บ่าของชิ้นงาน และร่องต่างๆ ท่ีต้องการความละเอียด และความเที่ยงตรงสู งไมโครมิเตอร์วดั ลึกมีท้งั หน่วยวดั ระบบเมตริก และระบบองั กฤษ สามารถวดั ขนาดความลึกไดห้ ลายขนาด เพราะสามารถเปล่ียนแกนวดั ไดต้ ามขนาดความลึกของชิ้นงานสาระการเรียนรู้ 1. ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ลึก 2. การอ่านคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ลึก 3. การใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึก 4. ขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึก 5. การเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ลึกสมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ตัวชี้วดั ) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 2. อา่ นค่าสเกลไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึกถูกตอ้ ง 4. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 5. อธิบายวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 228 สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เก็บและบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพอื่ นาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาท่ีกาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีตา่ งๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ เู้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 9 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป 3.1.1 ครูสรุปผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 9 3.1.2 ครูใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบรายบุคคล 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานให้นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 14-18
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 229 กจิ กรรมนักศึกษา 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามที่ครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามที่ตนสงสัยและจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีต่างๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสงั เกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 9 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป 3.1.1 นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 9 3.1.2 นกั ศึกษาทาแบบทดสอบรายบุคคล 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 14-18 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของ สัปดาห์ถดั ไปส่ือการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ขอ้ 14-18 3. ใบงานท่ี 9 4. แบบทดสอบประจาหน่วยท่ี 5 5. ส่ือประกอบการสอน Power Point 6. สื่อของจริงงานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 5 ขอ้ 14-18 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไป
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 230การประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 9 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ขอ้ 14-18 4. แบบทดสอบประจาหน่วยท่ี 5
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 231 หน่วยท่ี 5 ไมโครมเิ ตอร์แนวคดิ ไมโครมิเตอร์เป็ นเครื่องมือวดั ละเอียดแบบเล่ือนได้มีสเกลอีกชนิดหน่ึงท่ีนิยมใชม้ ากในงานอุตสาหกรรมเพราะสามารถอ่านค่าวดั ได้โดยตรง ให้ค่าไดล้ ะเอียดและเท่ียงตรงสูงกว่าบรรทดั เหล็กและเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ สามารถวัดขนาดของชิ้นงานได้ท้ังความยาว ความกว้าง ความโตภายนอก ความโตภายใน ความต่างระดบั และความลึกของชิ้นงาน ไมโครมิเตอร์แบ่งเป็ น 3 แบบตามลกั ษณะการใชง้ าน ไดแ้ ก่ ไมโครมิเตอร์วดั นอก ไมโครมิเตอร์วดั ใน และไมโครมิเตอร์วดั ลึก เน่ืองจากไมโครมิเตอร์แต่ละชนิดมีลกั ษณะ วิธีการใช้ และการบารุงรักษาที่แตกต่างกัน ดงั น้ันผูใ้ ช้จึงตอ้ งศึกษาหลกั การตา่ งๆ เก่ียวกบั ไมโครมิเตอร์ใหเ้ ขา้ ใจก่อนการใชง้ านสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. ชนิดของไมโครมิเตอร์ 3. ไมโครมิเตอร์วดั นอก 4. ไมโครมิเตอร์วดั ใน 5. ไมโครมิเตอร์วดั ลึกสมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. จาแนกชนิดของไมโครมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การแบง่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อา่ นคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 232 6. อธิบายข้นั ตอนในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 8. อธิบายวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 10. อา่ นคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 11. อธิบายวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 12. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 13. อธิบายวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 14. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 15. อา่ นคา่ สเกลไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 16. อธิบายวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึกถูกตอ้ ง 17. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 18. อธิบายวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั นอกไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั ในไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เก็บและบารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 2335.1 บทนา ไมโครมิเตอร์ (Micrometers) เป็ นเครื่องมือวดั ละเอียดชนิดหน่ึงที่นิยมใชใ้ นงานอุตสาหกรรมต่างๆ อย่างแพร่หลาย ไมโครมิเตอร์ถือกาเนิดข้ึนมาต้ังแต่ประมาณปี ค.ศ. 1848 โดยชาวฝรั่งเศสหลงั จากได้รับความนิยมก็ได้มีการพฒั นาปรับปรุงให้สามารถใช้งานไดส้ ะดวกและละเอียดมากข้ึนตามลาดบั เป็นเครื่องมือวดั ที่มีความสามารถในการวดั ขนาดไดล้ ะเอียดกวา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ดงั น้นั จึงเหมาะสาหรับการใชง้ านท่ีตอ้ งการความละเอียดสูง ไมโครมิเตอร์มีหลายชนิดสามารถเลือกใชใ้ ห้เหมาะกบั ชนิดและลกั ษณะงาน หลักการทางานของไมโครมิเตอร์จะใช้วิธีการหมุนสลกั เกลียวตามระยะพิตซ์(Pitch) และแบ่งค่าความละเอียดออกตามเส้นรอบวงของปลอกหมุนวดั ไมโครมิเตอร์มีหน่วยการวดั ท้ังระบบเมตริกและระบบองั กฤษ และสามารถวดั ละเอียดได้ 0.01, 0.001 มิลลิเมตร 0.001 นิ้ว และ 0.0001 นิ้วเป็ นตน้5.2 ชนิดของไมโครมิเตอร์ ไมโครมิเตอร์จาแนกออกเป็นประเภทหลกั ๆ ได้ 3 ประเภท คือ 5.2.1 ไมโครมิเตอร์วดั นอก (Outside Micrometer) 5.2.2 ไมโครมิเตอร์วดั ใน (Inside Micrometer) 5.2.3 ไมโครมิเตอร์วดั ลึก (Depth Micrometer) ไมโครมิเตอร์แตล่ ะประเภทเหมาะกบั ลกั ษณะงานท่ีแตกต่างกนั ดงั ตวั อยา่ งในภาพ ท่ี 5.1 - 5.3 ภาพที่ 5.1 ไมโครมิเตอร์วดั นอก (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 31)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 234 ภาพท่ี 5.2 ไมโครมิเตอร์วดั ใน (ท่ีมา : http://www.bjcandc.com/Micrometers.html) ภาพท่ี 5.3 ไมโครมิเตอร์วดั ลึก (ที่มา : http://www.bjcandc.com/Micrometers.html)5.3 ไมโครมเิ ตอร์วดั นอก ไมโครมิเตอร์วดั นอก สามารถวดั ไดท้ ้งั ชิ้นงานทรงกระบอก ทรงกลม ชิ้นงานท่ีมีพ้ืนท่ีหน้าตดัเป็ นสี่เหล่ียม ฯลฯ ไมโครมิเตอร์วดั นอกจาแนกออกเป็ นชนิดไดห้ ลายชนิดด้วยกนั และแต่ละชนิดมีลกั ษณะการใชง้ านที่แตกต่างกนั ดงั แสดงในภาพท่ี 5.4 - 5.5 ภาพที่ 5.4 ไมโครมิเตอร์วดั นอกอา่ นคา่ แบบสเกล (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 31)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 235 ภาพท่ี 5.5 ไมโครมิเตอร์วดั นอกแบบอา่ นค่าดว้ ยตวั เลขดิจิตอลบนจอแอลซีดี (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 4) นอกจากไมโครมิเตอร์วดั นอกท้งั 2 แบบแลว้ ไมโครมิเตอร์วดั นอกยงั มีแบบพิเศษ (SpecialMicrometer) ซ่ึงมีวตั ถุประสงคใ์ นการใชง้ านเฉพาะดา้ น เช่น ไมโครมิเตอร์วดั เกลียว ไมโครมิเตอร์วดัฟันเฟื อง ไมโครมิเตอร์แบบเปล่ียวแกนวดั ได้ เป็นตน้ ดงั ตวั อยา่ งในภาพท่ี 5.6 – 5.18 ภาพท่ี 5.6 ไมโครมิเตอร์วดั เกลียว (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 41, 42) ภาพท่ี 5.7 ไมโครมิเตอร์วดั เฟื อง (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 43)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 236ภาพที่ 5.8 ไมโครมิเตอร์แบบเปลี่ยนแกนวดั ได้ (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 37, 42) ภาพท่ี 5.9 ไมโครมิเตอร์แบบวดั เป็นจุด (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 52) ภาพท่ี 5.10 ไมโครมิเตอร์แบบมีปากวดั (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 39)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 237ภาพที่ 5.11 ไมโครมิเตอร์แบบมีปากวดั แบบหนา้ จาน (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 44 , 46) ภาพที่ 5.12 ไมโครมิเตอร์วดั ความหนาท่อ (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 50) ภาพท่ี 5.13 ไมโครมิเตอร์ปลายวดั แบน (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 56)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 238ภาพท่ี 5.14 ไมโครมิเตอร์วดั เพลาสไพลน์ (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 49)ภาพท่ี 5.15 ไมโครมิเตอร์วดั โลหะแผน่ (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 48) ภาพท่ี 5.16 ไมโครมิเตอร์วดั รอยยน่ (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 53)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 239ภาพท่ี 5.17 ไมโครมิเตอร์วดั ขนาดพิกดั(ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 61)ภาพที่ 5.18 ไมโครมิเตอร์แกนวดั รูปตวั วี(ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 54)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 2405.3.1 หน้าทแี่ ละส่วนและกอบของไมโครมเิ ตอร์วดั นอกไมโครมิเตอร์วดั นอก ประกอบดว้ ยส่วนประกอบที่สาคญั ดงั ภาพที่ 5.19 นตั ลอ็ กแกนรับ แกนวดั ปลอกสเกลหลกั ปลอกหมุน ปลอกหมนุ กระทบเล่ือน วดั โครง ภาพท่ี 5.19 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 5.19 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์ทาหนา้ ท่ีต่างๆ ดงั น้ี 5.3.1.1 โครง (Frame) เป็ นชิ้นส่ วนท่ีมีลักษณะเป็ นรู ปตัวซี (C) โดยโครงของไมโครมิเตอร์จะทาหนา้ ที่เป็ นชิ้นส่วนหลกั ที่จะนาชิ้นส่วนอื่นๆ มาประกอบรวมกนั โครงไมโครมิเตอร์มีหลายขนาด สามารถเลือกใช้ตามขนาดความโตของชิ้นงานท่ีต้องการวดั เช่น 0-25 มิลลิเมตร, 25-50มิลลิเมตร หรือ 0-1 นิ้ว และ 1-2 นิ้ว เป็นตน้ 5.3.1.2 แกนรับ (Anvil) เป็ นชิ้นส่วนท่ียึดยู่กบั โครงไมโครมิเตอร์ด้วยการสวมอดั ที่ผวิ สัมผสั ของแกนรับทาดว้ ยทงั สเตนคาร์ไบด์ (Tungsten Carbide) ซ่ึงเป็ นโลหะแขง็ และทนการสึกหรอไดด้ ี แกนรับทาหนา้ ที่รองรับชิ้นงานขณะทาการวดั 5.3.1.3 แกนวดั (Spindle) ทาหนา้ ท่ีเคล่ือนที่เขา้ ไปวดั ขนาดของชิ้นงาน แกนวดั มีขนาดเทา่ กบั แกนรับ ที่ผวิ สัมผสั ทาดว้ ยทงั สเตนคาร์ไบด์ ส่วนท่ีเป็นเกลียวของแกนวดั ติดอยกู่ บั ปลอกหมุนวดัเมื่อหมุนปลอกหมุนวดั แกนวดั ก็จะเคล่ือนเขา้ หรือเคลื่อนออกตามทิศทางที่หมุน 5.3.1.4 ลนตั ล็อก (Lock Nut) ใช้สาหรับยึดแกนวดั ให้แน่นไม่ให้เคล่ือนท่ี หรือคลายเพ่ือใหแ้ กนวดั เคลื่อนที่
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 241 5.3.1.5 ปลอกสเกลหลกั (Sleeve) ทาหน้าที่บอกค่าปริมาณของสิ่งท่ีวดั โดยมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรหรือเป็นนิ้ว ซ่ึงมีขีดมาตราหลกั ติดอยทู่ ่ีปลอกสเกล 5.3.1.6 ปลอกหมุนวดั (Thimble) ทาหน้าท่ีบอกค่าความละเอียดของปริมาณที่วดั ท่ีได้จากปลอกสเกลหลกั โดยปลอกหมุนวดั น้ีจะแบ่งออกเป็ นส่วนๆ หรือช่องท่ีเท่าๆ กนั ถา้ ใช้วดั หน่วยวดั ท่ีเป็นนิ้วจะแบง่ ส่วนเป็น 25 ช่อง และถา้ หน่วยวดั เป็นมิลลิเมตรจะแบ่งเป็น 50 ช่อง 5.3.1.7 หัวหมุนกระทบเลื่อน (Ratchet Stop) ทาหน้าที่เพื่อให้หน้าสัมผสั ของแกนวดัสัมผสั กับผิวงานด้วยแรงกดท่ีพอเหมาะและเท่าๆ กันทุกคร้ังท่ีวดั คือใช้แรงกดระหว่างผิวสัมผสัประมาณ 0.5-1 กิโลกรัมแรง หรือการหมุนใหห้ วั หมุนกระทบเลื่อนเกิดเสียงดงั คลิกข้ึน 1 คร้ัง5.3.2 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมเิ ตอร์วดั นอกระบบเมตริก ไมโครมิเตอร์วดั นอกระบบเมตริกโดยทว่ั ๆ ไปสามารถวดั ค่าความละเอียดได้ 2 ค่า คือ ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร และค่าความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร โดยการวดั จะทาการหมุนปลอกหมุนวดัเพ่ือให้เกลียวของไมโครมิเตอร์หมุนและมีระยะทางการเคล่ือนท่ีตามความยาวท่ีหมุน เกลียวของไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกมีระยะพิตช์ เท่ากบั 0.5 มิลลิเมตร เมื่อหมุนเกลียวตามเขม็ นาฬิกา 1 รอบ แกนของไมโครมิเตอร์จะเคล่ือนท่ีออกไปเท่ากบั 0.5 มิลลิเมตร หรือเท่ากบั ระยะพติ ซ์การเคล่ือนท่ีของเส้นรอบเกลียวกจ็ ะเคล่ือนท่ี 0.5 มิลลิเมตร ท้งั น้ีเพราะเกลียวเป็นเกลียวปากเดียว ดงั ภาพที่ 5.201 ระยะพิตซ์ = 0.5 มม. หมนุ 1 รอบ ภาพท่ี 5.20 แสดงเกลียวไมโครมิเตอร์ระยะพิตช์ 0.5 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) ไมโครมิเตอร์วดั นอกระบบเมตริก ประกอบดว้ ยสเกลท่ีใชใ้ นการอ่านค่า 2 สเกล คือ สเกลหลกัและสเกลเลื่อน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1) สเกลหลักมีขีดสเกลแสดงค่าการวดั มีหน่วยการวดั เป็ นมิลลิเมตร โดยขีดสเกลเริ่มตน้ จาก 0-25 มิลลิเมตร หรือตามช่วงการวดั ของไมโครมิเตอร์ บนขีดสเกลหลกั 1 ช่อง มีค่าเท่ากบั1 มิลลิเมตร และระหวา่ งช่อง 1 มิลลิเมตร มีขีดสเกลที่ส้ันกวา่ อยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงโดยอยูร่ ะหวา่ งกลางช่อง 1 มิลลิเมตร ซ่ึงมีคา่ ขีดละ 0.5 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 5.21
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 242(ก) สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ (ข) สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ ค่าความละเอียด 0.01 มม. ค่าความละเอียด 0.001 มม.ภาพที่ 5.21 สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) สเกลเล่ือนของไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก มีค่าความละเอียดในการวดั 2 ค่า คือ ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร และ 0.001 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 5.22 0.01 มม.(ก) สเกลเลื่อนของไมโครมเิ ตอร์ระบบเมตริก คา่ ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร 0.001 มม.(ข) สเกลเลื่อนของไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก คา่ ความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร ภาพที่ 5.23 สเกลเล่ือนของไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 243 5.3.2.1 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ค่าความละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตร 1) สเกลหลกั แบ่งขีดสเกลออกเป็ นขีดสเกลดา้ นบนเส้นอา้ งอิง และขีดสเกลดา้ นล่างเส้นอา้ งอิง โดยขีดสเกลดา้ นบนเส้นอา้ งอิงหน่ึงขีดมีค่า เท่ากบั 1 มิลลิเมตร และมีตวั เลขกากบั ในทุกๆ 5มิลลิเมตร เช่น 5, 10, 15 มิลลิเมตร ฯลฯ สาหรับขีดสเกลด้านล่างเส้นอา้ งอิงมีค่าขีดละ 0.5 มิลลิเมตรและไมม่ ีตวั เลขกากบั ดงั ภาพท่ี 5.23เสน้ อา้ งอิง 1 มม. 0.5 มม.ภาพท่ี 5.23 สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)2) สเกลเล่ือน แบ่งสเกลออกเป็ น 50 ช่อง (50 ขีด) ตามเส้นรอบวงของปลอกหมุนวดัดงั น้ันถ้าหมุนเกลียวของปลอกหมุนวดั ไป 1 รอบ (50 ขีด) แกนวดั ของไมโครมิเตอร์จะเคลื่อนที่ไปเท่ากบั 0.5 มิลลิเมตร ถา้ หมุนเกลียวไป 1/2 รอบ (25 ขีด) แกนวดั จะเคลื่อนที่ เท่ากบั 0.25 มิลลิเมตรและถา้ หมุนเกลียวไป 1/50 รอบ (1 ขีด) แกนวดั จะเคล่ือนที่เท่ากบั 0.01 มิลลิเมตร ซ่ึงน้นั ก็คือค่าความละเอียดของไมโครมิเตอร์น้ี ดงั ภาพที่ 5.24 0.01 มม. 15 10 20 5 25 0 30 45 35 40 0.5 มม. หมนุ ครบ 1 1 มม. รอบภาพท่ี 5.24 สเกลเลื่อนของไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 244 ข้นั ตอนการอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ตอนที่ 1 อา่ นค่าจากสเกลหลกั ที่อยเู่ หนือเส้นอา้ งอิงก่อน โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ อยรู่ ะหวา่ งขีดสเกลใด เช่น 1, 5, 10, 20 มิลลิเมตร เป็นตน้ ข้ันตอนที่ 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั หลกั ท่ีอยูด่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิง โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ ผา่ นขีดสเกลหลกั ที่อยูด่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงไปหรือไม่ ถา้ ผา่ นขีดสเกลหลกัที่อยูด่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงแลว้ ให้บวกค่าเพ่ิมอีก 0.50 มิลลิเมตร แต่หากยงั ไม่ผา่ นขีดสเกลหลกั ท่ีอยู่ดา้ นล่างของเส้นอา้ งอิงไมต่ อ้ งบวกคา่ เพ่ิม ข้นั ตอนท่ี 3 อ่านคา่ จากสเกลของปลอกหมุนวดั โดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั วา่ ตรงกบั เส้นอา้ งอิงท่ีขีดใด หรือหากไม่ตรงขีดสเกลใดเป็ นขีดสเกลท่ีอยดู่ า้ นล่างและใกลเ้ ส้นอา้ งอิงมากท่ีสุด เช่น 0.01, 0.05, 0.19, 0.25, 0.49 เป็นตน้ ข้นั ตอนที่ 4 นาค่าท้งั 3 ที่อ่านไดม้ ารวมกนั จะเป็ นค่าท่ีอ่านไดจ้ ากไมโครมิเตอร์น้นัตวั อย่างที่ 5.1 จากภาพท่ี 5.25 ค่าท่ีอา่ นไดม้ ีขนาดเท่าใด A C B ภาพที่ 5.25 การอ่านค่าไมโครมิเตอร์วดั นอกค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 5.25 การอา่ นค่าไมโครมิเตอร์วดั นอกคา่ ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี 1) ข้นั ตอนที่ 1 อ่านคา่ จากสเกลหลกั ที่อยูด่ า้ นบนของเส้นอา้ งอิงที่จุด A โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ เลยขีดจานวนเต็มของสเกลหลกั ดา้ นบนขีดใดและมีค่าเท่าใด ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี5.1 มีคา่ เทา่ กบั 5 มิลลิเมตร 2) ข้นั ตอนท่ี 2 อา่ นค่าจากสเกลหลกั ที่อยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงท่ีจุด B โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั ว่าเลยขีดสเกลหลกั ท่ีอยู่ดา้ นล่างของเส้นอา้ งอิงหรือไม่ ซ่ึงในตวั อยา่ งที่ 5.1 ได้ผา่ นขีดสเกลท่ีอยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงแลว้ ดงั น้นั ค่าที่อ่านไดต้ อ้ งบวกเพิ่มอีก 0.50 มิลลิเมตร
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 2453) ข้นั ตอนท่ี 3 อ่านค่าจากสเกลของปลอกหมุนวดั ที่จุด C โดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั วา่ ตรงกบั เส้นอา้ งอิงที่ขีดใด หรือหากไม่ตรงขีดสเกลใด ก็จะอา่ นค่าขีดสเกลที่อยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิงมากท่ีสุด ซ่ึงในตวั อยา่ งที่ 5.1 ขีดสเกลของปลอกหมุนวดั ขีดที่ 28ตรงกบั เส้นอา้ งอิง ดงั น้นั จึงอ่านค่าไดเ้ ทา่ กบั 0.28 มิลลิเมตร4) ข้นั ตอนท่ี 4 นาคา่ ท้งั 3 มารวมกนั จะไดด้ งั น้ีค่าที่อ่านได้ จากสเกลหลกั ท่ีจุด A เทา่ กบั 5 มิลลิเมตรคา่ ท่ีอ่านได้ จากสเกลเล่ือนท่ีจุด B เทา่ กบั 0.50 มิลลิเมตรคา่ ที่อา่ นได้ จากสเกลเลื่อนที่จุด C เทา่ กบั 0.28 มิลลิเมตรดงั น้นั ค่าที่อ่านได้ เท่ากบั 5.78 มิลลิเมตร 5.3.2.2 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมเิ ตอร์ค่าความละเอยี ด 0.001 มิลลเิ มตร 1) สเกลหลักมีหลักการแบ่งขีดสเกลเช่นเดียวกับหลักการแบ่งขีดสเกลของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร แต่มีความแตกต่างกนั คือ สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร มีขีดสเกลอยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิง ดงั ภาพท่ี 5.26เสน้ อา้ งอิง 0.5 มม. 1 มม.ภาพที่ 5.26 สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) สเกลเลื่อนมีหลักการแบ่งขีดสเกลเช่นเดียวกับหลักการแบ่งขีดสเกลของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร แต่แตกต่างกนั คือ มีสเกลเพิ่มข้ึนมาท่ีปลอกสเกลหลกัของไมโครมิเตอร์ เรียกวา่ “เวอร์เนียร์สเกล” (VernierScale) หรือสเกลช่วย มีลกั ษณะเป็ นขีดสเกลยาวตามแนวขนานกบั เส้นอา้ งอิงจานวน 10 ช่อง ซ่ึงเกิดจากการนาเอาขีดสเกลของปลอกหมุนวดั จานวน 9 ช่อง
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 246มาออกแบง่ เป็น 10 ช่อง เพื่อขยายค่าความละเอียดของสเกลท่ีปลอกหมุนวดั ออกไปอีก 10 เท่า คือ 0.001มิลลิเมตร ดงั ภาพท่ี 5.270 108 56 04 52 0.01 มม. 0 0.5 มม. 0.001 มม. 1 มม. 15 10 20 5 25 0 30 45 35 40 หมุนครบ 1 รอบภาพท่ี 5.27 สเกลเลื่อนของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) ข้นั ตอนการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ก่อน โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ อยู่ระหวา่ งขีดสเกลใด เช่น 1, 2.5, 10.5, 18, 22.5 มิลลิเมตร เป็นตน้ ข้นั ตอนที่ 2 อ่านคา่ จากสเกลของปลอกหมุนวดั โดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั วา่ ขีดใดอยดู่ า้ นล่างและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิง เช่น 0.02, 0.05, 0.22, 0.35, 0.49 มิลลิเมตร เป็นตน้ ข้ันตอนท่ี 3 อ่านค่าจากสเกลของเวอร์เนียร์สเกลท่ีอยู่บนก้านปลอกหมุนวดั โดยพิจารณาจากขีดสเกลท่ีปลอกหมุนวดั วา่ ตรงกบั ขีดสเกลใดของเวอร์เนียร์สเกล เช่น ขีดที่ 0.001, 0.003,0.005, 0.007 มิลลิเมตร เป็นตน้ ข้นั ตอนท่ี 4 นาค่าท้งั 3 ที่อา่ นไดม้ ารวมกนั จะเป็ นค่าท่ีอา่ นไดจ้ ากไมโครมิเตอร์น้นั
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 247ตวั อย่างท่ี 5.2 จากภาพท่ี 5.28 คา่ ท่ีอ่านไดม้ ีขนาดเท่าใด C B A ภาพท่ี 5.28 การอ่านคา่ ไมโครมิเตอร์วดั นอกคา่ ความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพที่ 5.28 การอ่านค่าไมโครมิเตอร์วดั นอกคา่ ความละเอียด 0.001 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี 1) ข้นั ตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ท่ีจุด A ก่อน โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั ว่าเลยขีดจานวนเต็มของสเกลหลักขีดใดและมีค่าเท่าใด ซ่ึงในตัวอย่างที่ 5.2 มีค่าเท่ากับ 5.50มิลลิเมตร 2) ข้นั ตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลของปลอกหมุนวดั ที่จุด B โดยพิจารณาจากขีดสเกลท่ีปลอกหมุนวดั วา่ ขีดใดอยดู่ า้ นล่างและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิง ซ่ึงในตวั อยา่ งที่ 5.2 ขีดสเกลของปลอกหมุนวดัขีดท่ี 28 อยดู่ า้ นล่างและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิง ดงั น้นั จึงอ่านค่าไดเ้ ท่ากบั 0.28 มิลลิเมตร 3) ข้นั ตอนท่ี 3 อ่านค่าจากสเกลของเวอร์เนียร์สเกลท่ีอยูบ่ นกา้ นปลอกหมุนวดั ที่จุด Cโดยพิจารณาจากขีดสเกลใดๆ ที่ปลอกหมุนวดั วา่ ตรงกบั ขีดสเกลใดของเวอร์เนียร์สเกล ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี5.2 ขีดสเกลใดๆ ท่ีปลอกหมุนวดั ตรงกบั ขีดเวอร์เนียร์สเกลขีดท่ี 3 ท่ีอยู่บนกา้ นปลอกหมุนวดั ดงั น้ันจึงอา่ นคา่ ไดเ้ ท่ากบั 0.003 มิลลิเมตร 4) ข้นั ตอนที่ 4 นาค่าท้งั 3 มารวมกนั จะไดด้ งั น้ี ค่าท่ีอา่ นได้ จากสเกลหลกั ท่ีจุด A เท่ากบั 5.5 มิลลิเมตร ค่าที่อ่านได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด B เท่ากบั 0.28 มิลลิเมตร คา่ ที่อา่ นได้ จากสเกลเล่ือนท่ีจุด C เท่ากบั 0.003 มิลลิเมตร ดงั น้นั ค่าท่ีอ่านได้ เท่ากบั 5.783 มิลลิเมตร
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 2485.3.3 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมเิ ตอร์วดั นอกระบบองั กฤษไมโครมิเตอร์วดั นอกระบบองั กฤษสามารถวดั ค่าความละเอียดได้ 2 ค่า คือ ค่าความละเอียด0.001 นิ้ว และค่าความละเอียด 0.0001 นิ้ว โดยการหมุนปลอกหมุนวดั เพ่ือให้เกลียวของไมโครมิเตอร์หมุน และมีระยะทางการเคลื่อนที่ตามความยาวท่ีหมุนเกลียวของไมโครมิเตอร์ระบบองั กฤษมีระยะพิตช์ของเกลียว เท่ากับ 40 เกลียวต่อความยาว 1 นิ้ว ดังน้ันเมื่อหมุนเกลียวตามเข็มนาฬิกา 1 รอบ แกนของไมโครมิเตอร์จะเคลื่อนที่ออกไป เท่ากบั 1/40 นิ้ว หรือ 0.025 นิ้ว ซ่ึงเท่ากบั ระยะพิตซ์การเคล่ือนที่ของเส้นรอบเกลียวก็เคลื่อนท่ี 1/40 นิ้ว หรือ 0.025 นิ้ว ดงั ภาพที่ 5.29ระยะพิตซ์ = 1/40 นิ้ว หรือ 0.025 นิ้ว หมุน 1 รอบ ภาพท่ี 5.29 แสดงเกลียวไมโครมิเตอร์ระยะพติ ช์ 1/40นิ้ว หรือ 0.025นิ้ว (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) ไมโครมิเตอร์วดั นอกระบบองั กฤษประกอบดว้ ยสเกลท่ีใชใ้ นการอ่านค่า 2 สเกล คือ สเกลหลกัและสเกลเลื่อน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1) สเกลหลกั มีขีดสเกลแสดงค่าการวดั มีหน่วยการวดั เป็ น นิ้ว โดยขีดสเกลเร่ิมตน้ จาก0-1 นิ้ว หรือตามช่วงการวดั ของไมโครมิเตอร์ บนขีดสเกลหลกั 1 นิ้วนามาแบ่งออกเป็ น40ช่องหรือ 40ขีด โดยทุกๆ 4 ขีด (ขีดละ 0.025 นิ้ว) มีตวั เลขกาหนดไวค้ ือ 0, 1, 2, 3,…,0 ตามลาดบั ซ่ึงทุกๆ 4 ขีดมีขนาด เทา่ กบั 0.100, 0.200, 0.300 นิ้ว ตามลาดบั ดงั ภาพที่ 5.30
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 249(ก) สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ (ข) สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ คา่ ความละเอียด 0.001 นิ้ว ค่าความละเอียด 0.0001 นิ้วภาพท่ี 5.30 สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ระบบองั กฤษ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) สเกลเล่ือนของไมโครมิเตอร์ระบบองั กฤษ มีค่าความละเอียดในการวดั 2 ค่า คือค่าความละเอียด 0.001 นิ้ว และ 0.0001 นิ้ว ดงั ภาพท่ี 5.310.001 นิ้ว 0.0001 นิ้ว(ก) สเกลเล่ือนของไมโครมเิ ตอร์ระบบองั กฤษ 0.001 นิ้ว คา่ ความละเอียด 0.001 นิ้ว (ข) สเกลเล่ือนของไมโครมิเตอร์ระบบองั กฤษ ค่าความละเอียด 0.0001 นิ้วภาพท่ี 5.31 สเกลเลื่อนของไมโครมิเตอร์ระบบองั กฤษ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 5.3.3.1 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ค่าความละเอยี ด 0.001 นิว้ 1) สเกลหลกั แบ่งขีดสเกลออกเป็ นขีดสเกลด้านบนเส้นอา้ งอิง และขีดสเกลด้านล่างเส้นอา้ งอิง โดยขีดสเกลดา้ นบนเส้นอา้ งอิงหน่ึงขีดใหญ่มีค่าเท่ากบั 0.1 นิ้ว และขีดสเกลยอ่ ยมีค่าเท่ากบัขีดละ 0.05 นิ้ว โดยขีดสเกลใหญ่มีตวั เลขกากบั ในทุกๆ 0.1 นิ้ว คือ 0.100, 0.200, 0.300, …, 1.000 นิ้ว
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 250สาหรับขีดสเกลด้านล่างเส้นอา้ งอิงมีท้งั หมดจานวน 40 ขีดสเกล โดยแต่ละขีดสเกลมีค่าขีดสเกลละ0.025 นิ้ว ซ่ึงในทุกๆ 4 ขีดสเกล มีคา่ เท่ากบั 0.100 นิ้ว และไม่มีตวั เลขกากบั ดงั ภาพที่ 5.32เสน้ อา้ งอิง 0.025 นิ้ว 0.050 นิ้ว 0.075 นิ้ว 0.100 นิ้วภาพที่ 5.32 สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.001 นิ้ว (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) สเกลเล่ือน แบ่งสเกลออกเป็ น 25 ช่อง (25 ขีด) ตามเส้นรอบวงของปลอกหมุนวดัดงั น้ันถา้ หมุนเกลียวของปลอกหมุนวดั ไป 1 รอบ (25 ขีด) แกนวดั ของไมโครมิเตอร์ก็จะเคล่ือนท่ีไปเท่ากบั 0.025 นิ้ว ถา้ หมุนเกลียวไป 1/25 รอบ (1 ขีด) แกนวดั จะเคล่ือนที่ เท่ากบั 0.001 นิ้ว ซ่ึงน้นั ก็คือค่าความละเอียดของไมโครมิเตอร์น้ี ดงั ภาพท่ี 5.33 0.001 นิ้ว 0.025 นิ้ว 5 0.050 นิ้ว 10 0.075 นิ้ว 0.100 นิ้ว 0 15 20 หมนุ ครบ 1 รอบภาพท่ี 5.33 สเกลเล่ือนของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.001 นิ้ว (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 251 ข้นั ตอนการอ่านคา่ ไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.001 นิ้ว มีข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 อา่ นค่าจากสเกลหลกั ท่ีอยเู่ หนือเส้นอา้ งอิงก่อน โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ อยรู่ ะหวา่ งขีดสเกลใด เช่น 0.100, 0.300, 0.600, 0.900 นิ้ว เป็นตน้ ข้ันตอนที่ 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ที่อยู่ดา้ นล่างของเส้นอา้ งอิง โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ ผา่ นขีดสเกลหลกั ท่ีอยูด่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงไปขีดท่ีเท่าใด ถา้ ผา่ นขีดสเกลหลกั ท่ีอยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงขีดใดแลว้ ให้บวกค่าเพ่ิม คือ ผา่ นไป 1 ขีดสเกล เทา่ กบั 0.025 นิ้ว ผา่ นไป 2ขีดสเกล เท่ากบั 0.050 นิ้ว และผา่ นไป 3 ขีดสเกล เท่ากบั 0.075 นิ้ว แต่หากยงั ไม่ผา่ นขีดสเกลหลกั ที่อยู่ดา้ นล่างของเส้นอา้ งอิงไมต่ อ้ งบวกคา่ เพิม่ ข้นั ตอนท่ี 3 อา่ นค่าจากสเกลของปลอกหมุนวดั โดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั ว่าตรงกบั เส้นอา้ งอิงที่ขีดใด หรือหากไม่ตรงขีดสเกลใดก็จะอ่านค่าขีดสเกลที่อยูด่ ้านล่างของเส้นอา้ งอิงและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิงมากที่สุด เช่น 0.001, 0.005, 0.022, 0.024 นิ้ว เป็นตน้ ข้นั ตอนที่ 4 นาค่าท้งั 3 ท่ีอ่านไดม้ ารวมกนั จะเป็ นคา่ ที่อ่านไดจ้ ากไมโครมิเตอร์น้นัตัวอย่างที่ 5.3 จากภาพที่ 5.34 ค่าที่อา่ นไดม้ ีขนาดเท่าใด A C B ภาพท่ี 5.34 การอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 5.34 การอ่านค่าไมโครมิเตอร์วดั นอกค่าความละเอียด 0.001 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ี 1) ข้นั ตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ท่ีอยดู่ า้ นบนของเส้นอา้ งอิง ท่ีจุด A โดยพจิ ารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ เลยขีดจานวนเต็มของสเกลหลกั ดา้ นบนขีดใดและมีค่าเท่าใด ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี5.3 มีคา่ เท่ากบั 0.400 นิ้ว
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 2522) ข้นั ตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ท่ีอยูด่ ้านล่างของเส้นอา้ งอิง ที่จุด B โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ เลยขีดสเกลหลกั ท่ีอยูด่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงหรือไม่ ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี 5.3ไดผ้ า่ นขีดสเกลที่อยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงแลว้ ขีดท่ี 1 ดงั น้นั คา่ ที่อ่านไดต้ อ้ งบวกเพม่ิ อีก 0.025 นิ้ว3) ข้นั ตอนที่ 3 อ่านค่าจากสเกลของปลอกหมุนวดั ท่ีจุด C โดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั วา่ ตรงกบั เส้นอา้ งอิงที่ขีดใด หรือหากไม่ตรงขีดสเกลใด ก็จะอ่านค่าขีดสเกลที่อยูด่ า้ นบนของเส้นอา้ งอิงและอยูใ่ กลเ้ ส้นอา้ งอิงมากท่ีสุด ซ่ึงในตวั อย่างที่ 5.3 ขีดสเกลของปลอกหมุนวดั ขีดท่ี 6ตรงกบั เส้นอา้ งอิง ดงั น้นั จึงอ่านคา่ ไดเ้ ทา่ กบั 0.006 นิ้ว4) ข้นั ตอนท่ี 4 นาค่าท้งั 3 มารวมกนั จะไดด้ งั น้ีคา่ ที่อา่ นได้ จากสเกลหลกั ท่ีจุด A เท่ากบั 0.400 นิ้วค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลเล่ือนที่จุด B เท่ากบั 0.025 นิ้วคา่ ที่อ่านได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด C เท่ากบั 0.006 นิ้วดงั น้นั คา่ ที่อ่านได้ เทา่ กบั 0.431 นิ้ว 5.3.3.2 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมเิ ตอร์ค่าความละเอยี ด 0.0001 นิว้ 1) สเกลหลัก มีหลักการแบ่งขีดสเกลเช่นเดียวกับหลักการแบ่งขีดสเกลของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.001 นิ้ว แต่มีความแตกต่างกนั คือ สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.0001 นิ้ว มีขีดสเกลอยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิง ดงั ภาพท่ี 5.35 เสน้ อา้ งอิง 0.025 นิ้ว 0.050 นิ้ว 0.075 นิ้ว 0.100 นิ้ว ภาพที่ 5.35 สเกลหลกั ของไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.0001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2) สเกลเล่ือน มีหลักการแบ่งขีดสเกลเช่นเดียวกับหลักการแบ่งขีดสเกลของไมโครมิเตอร์ ค่าความละเอียด 0.001 นิ้ว แต่แตกต่างกนั คือ มีสเกลเพ่ิมข้ึนบนกา้ นปลอกหมุนวดั ของ
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 253ไมโครมิเตอร์ เรียกว่า “เวอร์เนียร์สเกล” หรือสเกลช่วย มีลกั ษณะเป็ นขีดสเกลยาวตามแนวขนานกบั เส้นอา้ งอิงจานวน 10 ช่อง ซ่ึงเกิดจากการนาเอาขีดสเกลของปลอกหมุนวดั จานวน 9 ช่อง มาแบ่งเป็ น 10ช่อง เพอ่ื ขยายค่าความละเอียดของสเกลท่ีปลอกหมุนวดั ออกไปอีก 10 เท่า คือ 0.0001 นิ้ว ดงั ภาพที่ 5.360 1086 542 0 5 0 0.025 นิ้ว 5 0.050 นิ้ว 10 0.075 นิ้ว 0.100 นิ้ว 0 15 20 หมนุ ครบ 1 รอบภาพท่ี 5.36 สเกลเล่ือนของไมโครมิเตอร์คา่ ความละเอียด 0.0001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) ข้นั ตอนการอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.0001 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ี ข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ก่อน โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ อยู่ระหวา่ งขีดสเกลใด เช่น 0.125, 0.350, 0.675, 0.950 นิ้ว เป็นตน้ ข้นั ตอนที่ 2 อา่ นคา่ จากสเกลของปลอกหมุนวดั โดยพิจารณาจากขีดสเกลท่ีปลอกหมุนวดั วา่ ขีดใดอยดู่ า้ นล่างและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิง เช่น 0.001, 0.005, 0.022, 0.024 นิ้ว เป็นตน้ ข้ันตอนท่ี 3 อ่านค่าจากสเกลของเวอร์เนียร์สเกลที่อยู่บนก้านปลอกหมุนวัดโดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั ว่าตรงกบั ขีดสเกลใดของเวอร์เนียร์สเกล เช่น ขีดท่ี 0.0001,0.0003, 0.0005, 0.0007 นิ้ว เป็นตน้ ข้นั ตอนท่ี 4 นาคา่ ท้งั 3 ที่อา่ นไดม้ ารวมกนั จะเป็ นค่าท่ีอา่ นไดจ้ ากไมโครมิเตอร์น้นั
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 254ตวั อย่างท่ี 5.4 จากภาพที่ 5.37 ค่าท่ีอ่านไดม้ ีขนาดเท่าใด C B Aภาพที่ 5.37 การอ่านค่าไมโครมิเตอร์ค่าความละเอียด 0.0001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพท่ี 5.37 การอ่านค่าไมโครมิเตอร์วดั นอกค่าความละเอียด 0.0001 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ี1) ข้นั ตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ท่ีจุด A ก่อน โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ เลยขีดจานวนเตม็ ของสเกลหลกั ขีดใดและมีคา่ เทา่ ใด ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี 5.4 มีค่าเท่ากบั 0.200 นิ้ว2) ข้นั ตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลของปลอกหมุนวดั ที่จุด B โดยพิจารณาจากขีดสเกลท่ีปลอกหมุนวดั วา่ ขีดใดอยดู่ า้ นล่างและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิง ซ่ึงในตวั อยา่ งที่ 5.4 ขีดสเกลของปลอกหมุนวดัขีดที่ 16 อยดู่ า้ นล่างและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิง ดงั น้นั จึงอ่านคา่ ไดเ้ ท่ากบั 0.016 นิ้ว3) ข้นั ตอนที่ 3 อ่านค่าจากสเกลของเวอร์เนียร์สเกลท่ีอยู่บนกา้ นปลอกหมุนวดั ที่จุด Cโดยพิจารณาจากขีดสเกลใดๆ ท่ีปลอกหมุนวดั วา่ ตรงกบั ขีดสเกลใดของเวอร์เนียร์สเกล ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี5.4 ขีดสเกลใดๆ ที่ปลอกหมุนวดั ตรงกบั ขีดเวอร์เนียร์สเกลขีดที่ 3 ท่ีอยูบ่ นกา้ นปลอกหมุนวดั ดงั น้นั จึงอ่านค่าไดเ้ ทา่ กบั 0.0003 นิ้ว4) ข้นั ตอนที่ 4 นาค่าท้งั 3 มารวมกนั จะไดด้ งั น้ีคา่ ท่ีอ่านได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เท่ากบั 0.2000 นิ้วคา่ ที่อา่ นได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด B เท่ากบั 0.0160 นิ้วค่าที่อ่านได้ จากสเกลเลื่อนที่จุด C เทา่ กบั 0.0003 นิ้วดงั น้นั ค่าท่ีอ่านได้ เท่ากบั 0.2163 นิ้ว
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 255 5.3.4 การใช้งานไมโครมเิ ตอร์วดั นอก การใชไ้ มโครมิเตอร์วดั นอกวดั ชิ้นงาน มีวธิ ีในการใชใ้ นกรณีต่างๆ ดงั น้ี 5.3.4.1 เม่ือชิ้นงานและไมโครมิเตอร์มีขนาดเล็กสามารถจบั ข้ึนมาได้ ให้จบั ชิ้นงานดว้ ยมือซา้ ยและมือขวาจบั ไมโครมิเตอร์ โดยใชน้ ิ้วหวั แมม่ ือและนิ้วหมุนปลอกหมุนวดั ดงั ภาพท่ี 5.38 ภาพที่ 5.38 การวดั ชิ้นงานขนาดเลก็ ใชม้ ือจบั ได้ (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 34) 5.3.4.2 เมื่อชิ้นงานจบั อยู่บนเครื่องจกั ร เช่น ชิ้นงานจบั ยึดอยู่กบั หัวจบั หรือหน้าจานของเครื่องกลึง ใหม้ ือซา้ ยจบั โครงและมือขวาหมุนปลอกหมุนวดั ดงั ภาพท่ี 5.39 ภาพที่ 5.39 การวดั ชิ้นงานท่ีจบั อยบู่ นเครื่องกลึง (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 34) 5.3.4.3 เม่ือใช้ในห้องประลองงานวดั ละเอียดเพื่อให้ได้ค่าวดั ท่ีถูกตอ้ งและป้องกันเคร่ืองมือวดั เสียหาย ให้ยึดไมโครมิเตอร์ดว้ ยแท่นยึดไมโครมิเตอร์ (Micrometer Stand) จากน้นั ทาการวดั โดยใชม้ ือซา้ ยจบั ชิ้นงานและมือขวาหมุนปลอกหมุนวดั ดงั ภาพท่ี 5.40
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 256 ภาพที่ 5.40 การวดั ชิ้นงานโดยยดึ ดว้ ยแท่นยดึ ไมโครมิเตอร์ (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 34) 5.3.5 ข้นั ตอนการใช้ไมโครมเิ ตอร์วดั นอก เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลการวดั ที่ถูกตอ้ ง ผวู้ ดั จะตอ้ งปฏิบตั ิการวดั ตามข้นั ตอนใหถ้ ูกตอ้ ง ดงั น้ี 5.3.5.1 ตรวจสอบสภาพไมโครมิเตอร์ และทาความสะอาดชิ้นงานก่อนวดั ทุกคร้ัง 5.3.5.2 หมุนปลอกหมุนวดั ให้แกนวดั ของไมโครมิเตอร์ขยายออกจนกระทง่ั มีขนาดมากกวา่ ขนาดชิ้นงาน 5.3.5.3 ใหแ้ กนรับสมั ผสั ผวิ งานก่อน โดยแนวการวดั จะตอ้ งต้งั ฉากกบั ผวิ งาน 5.3.5.4 หมุนปลอกหมุนวดั ใหแ้ กนวดั เขา้ ใกลช้ ิ้นงาน ประมาณ 1-2 มิลลิเมตร 5.3.5.5 หมุนหัวกระทบเล่ือนจนแกนวดั สัมผสั ชิ้นงานและมีเสียงดงั คลิกข้ึน 1 คร้ังจึงหยุดหมุนแลว้ อ่านค่าที่ไดจ้ ากการวดั หากการวดั น้ีไม่สามารถอ่านค่าไดใ้ นขณะทาการวดั ให้ทาการลอ็ กสเกลแลว้ ถอดไมโครมิเตอร์ออกมาอ่านคา่ วดั 5.3.6 ข้อควรระวงั ในการใช้งานไมโครมเิ ตอร์วดั นอก เพือ่ ไมใ่ ห้เกิดความผิดพลาดจากการใชไ้ มโครมิเตอร์ในการวดั ชิ้นงาน ผใู้ ชค้ วรจะทราบขอ้ ควรระวงั ต่างๆ ในการใชง้ านไมโครมิเตอร์ ดงั น้ี 5.3.6.1 ควรใชไ้ มโครมิเตอร์วดั ขนาดชิ้นงานที่มีผวิ เรียบ 5.3.6.2 ควรอ่านคา่ ที่วดั ไดบ้ นไมโครมิเตอร์วดั ขณะท่ีมีชิ้นงานอยู่ 5.3.6.3 หา้ มนาไมโครมิเตอร์ไปวดั ชิ้นงานในขณะที่มีการเคลื่อนท่ี หรือกาลงั หมุน 5.3.6.4 หา้ มนาไมโครมิเตอร์ไปวดั ชิ้นงานในขณะที่ชิ้นงานร้อน 5.3.6.5 ไมโครมิเตอร์ควรมีการตรวจสอบความเที่ยวตรงก่อนมีการนาไปใชง้ าน และมีการส่งสอบเทียบเมื่อครบตามกาหนดเวลา
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 257 5.3.6.6 ขณะวดั ชิ้นงานท่ีผิวขนานกนั จะตอ้ งให้แนวแกนวดั และแกนรับต้งั ฉากกบั ผิวของชิ้นงาน ดงั ภาพที่ 5.41แนวแกนวดั แนวแกนวดั(ก) แนวแกนรับและแกนวดั ท่ีถกู ตอ้ ง (ข) แนวแกนรับและแกนวดั ที่ไมถ่ กู ตอ้ งภาพท่ี 5.41 การสมั ผสั ผวิ ชิ้นงานของแกนรับและแกนวดั (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 5.3.6.7 ขณะวดั ชิ้นงานจะต้องให้แนวแกนของไมโครมิเตอร์อยู่ในแนวเดียวกับแนวแกนวดั เพราะอาจทาใหค้ ่าวดั ท่ีไดจ้ ะมากกวา่ ขนาดจริงของชิ้นงาน ดงั ภาพที่ 5.42 แกนของไมโครมิเตอร์ที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ภาพท่ี 5.42 แนวแกนวดั ของไมโครมิเตอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 258 5.3.6.8 งานทรงกระบอกกลม ผวิ ของชิ้นงานกลมไม่สามารถบงั คบั ผิวสัมผสั ของแกนวดั และแกนรับให้ต้งั ฉากกบั ผิวของชิ้นงานได้ ดงั น้นั ผูว้ ดั จะตอ้ งปรับแนวแกนของไมโครมิเตอร์เพื่อให้ได้ ค่าที่เหมาะสม ดงั ภาพท่ี 5.43 แกนของไมโครมิเตอร์ท่ีไม่ถูกตอ้ ง ภาพที่ 5.43 การวดั ทรงกระบอกกลมดว้ ยไมโครมิเตอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 5.3.6.9 ในการวดั ชิ้นงานทุกคร้ัง ให้ใช้ปลอกหมุนกระทบเล่ือนวดั ชิ้นงานแทนปลอกหมุนวดั เพราะการหมุนปลอกวดั อาจทาใหผ้ วิ ของชิ้นงานยบุ ทาใหค้ า่ วดั ท่ีไดผ้ ิดไป 5.3.6.10 การอ่านค่าบนสเกลจะต้องถือไมโครมิเตอร์ให้อยู่ในแนวต้งั ฉากกับแนวสายตาทางดา้ นหนา้ ดงั ภาพท่ี 5.44 เพอ่ื ป้องกนั ความคลาดเคลื่อนในการอ่าน ตาแหน่งการมองไม่ถูกตอ้ ง ตาแหน่งการมองท่ีถูกตอ้ ง ตาแหน่งการมองไมถ่ ูกตอ้ ง ภาพที่ 5.44 ตาแหน่งการอ่านตวั เลขบนสเกลไมโครมิเตอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 259 5.3.6.11 เมื่อยึดไมโครมิเตอร์บนขาต้งั ควรยึดในตาแหน่งท่ีเหมาะสม และไม่ควรยดึ แน่นเกินไป ดงั ภาพท่ี 5.45 (ก) ตาแหน่งการยดึ ที่ไมเ่ หมาะสม (ข) ตาแหน่งการยดึ ท่ีเหมาะสม (ค) ตาแหน่งการยดึ ท่ีไมเ่ หมาะสม ภาพที่ 5.45 การยดึ ไมโครมิเตอร์บนขาต้งั (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 5.3.7 การเกบ็ และการบารุงรักษาไมโครมเิ ตอร์วดั นอก 5.3.7.1 ทาความสะอาดผวิ แกนรับและแกนวดั ทุกคร้ัง ก่อนและหลงั การวดั 5.3.7.2 หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือน หล่น หรือกระแทก 5.3.7.3 เม่ือตอ้ งการให้แกนวดั เล่ือนเขา้ ออกอย่างรวดเร็วให้เลื่อนกบั ฝ่ ามือ ดงั ภาพที่5.46 เพ่อื ป้องกนั ความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึนกบั ไมโครมิเตอร์(ก) การเล่ือนแกนวดั ที่ไมถ่ ูกตอ้ ง (ข) การเล่ือนแกนวดั ที่ถกู ตอ้ งภาพท่ี 5.46 การเล่ือนแกนวดั ไมโครมิเตอร์เขา้ ออก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 260 5.3.7.4 ไมใ่ ชไ้ มโครมิเตอร์วดั ชิ้นงานผวิ ดิบหรือหยาบเกินไป 5.3.7.5 ไม่ปล่อยให้ไมโครมิเตอร์สกปรกขาดการหล่อลื่น ขาดการปรับแต่งและปล่อยใหห้ มุนวดั ฝืดหรือหลวมเกินไป 5.3.7.6 ไมเ่ กบ็ หรือวางไมโครมิเตอร์รวมกบั เคร่ืองมืออ่ืนๆ 5.3.7.7 การเก็บรักษาไมโครมิเตอร์ควรแยกไวต้ ่างหาก มีกล่องบรรจุและวางบนพ้ืนผิวที่อ่อนนุ่ม เช่น ผา้ นุ่ม หรือฟองน้า เป็นตน้ 5.3.7.8 เกบ็ ไวใ้ นท่ีมีความช้ืนต่า การระบายอากาศดี ไมม่ ีฝ่ นุ 5.3.7.9 ไมใ่ หไ้ มโครมิเตอร์ถูกแสงแดด 5.3.7.10 การเกบ็ ใหห้ มุนปลายหวั ท้งั 2 ใหห้ ่างจากกนั 0.1-10.0 มิลลิเมตร 5.3.7.11 ควรตรวจสอบผวิ สัมผสั ของแกนรับและแกนวดั อยเู่ สมอ 5.3.7.12 ก่อนเกบ็ ไมโครมิเตอร์ควรมีการชโลมสารกนั สนิมและสารหล่อล่ืนก่อนเสมอ5.4 ไมโครมิเตอร์วดั ใน ไมโครมิเตอร์วดั ใน (Inside Micrometers) ถูกออกแบบมาเพื่อใช้วดั ขนาดความโตภายในชิ้นงานเช่น ความโตของรูควา้ น ความกวา้ งของร่อง เป็ นตน้ ไมโครมิเตอร์วดั ในมีหลายชนิดและหลายขนาดมีระบบหน่วยการวดั ท้งั ระบบเมตริก และระบบองั กฤษ การแยกประเภทของไมโครมิเตอร์วดั ในแยกตามลกั ษณะการใชง้ านได้ 2 ประเภท คือ ไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน และไมโครมิเตอร์วดั ใน ดงั ภาพที่ 5.47(ก) ไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน (ข) ไมโครมิเตอร์วดั ในภาพที่ 5.47 ประเภทของไมโครมิเตอร์วดั ใน (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 110) นอกจากไมโครมิเตอร์วดั ในท้งั 2 แบบ ดงั กล่าวแลว้ ยงั มีไมโครมิเตอร์วดั ในแบบพิเศษชนิดต่างๆ ท่ีใชก้ บั ชิ้นงานท่ีมีรูปร่างซบั ซอ้ นและชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะพิเศษเฉพาะอยา่ ง ดงั ภาพท่ี 5.48 – 5.51
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 261 ภาพท่ี 5.48 แสดงลกั ษณะไมโครมิเตอร์วดั ในแบบ 3 ขา (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 198)ภาพท่ี 5.49 แสดงลกั ษณะไมโครมิเตอร์วดั ในแบบแกนวดั เด่ียว (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 104) ภาพท่ี 5.50 แสดงลกั ษณะไมโครมิเตอร์วดั ในแบบมีดา้ มจบั (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 106)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 262 ภาพที่ 5.51 แสดงลกั ษณะไมโครมิเตอร์วดั เกลียวใน (ท่ีมา : www.cdiweb.com/datasheets/mahr/44CB.pdf) 5.4.1 ไมโครมเิ ตอร์ปากวดั ใน ไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน (Inside Micrometer Caliper) มีลกั ษณะแตกต่างไปจากไมโครมิเตอร์วดั นอก คือ ไม่มีโครง (Frame) มีปากวดั หลกั และปากวดั เลื่อนที่มีลกั ษณะเป็ นเข้ียว มีสเกลวดั ที่เร่ิมตน้จากดา้ นขวามือไปทางซ้ายมือ ใชส้ าหรับวดั ขนาดชิ้นงานที่เป็ นรูควา้ นหรือร่องต่างๆ ท่ีมีความโตต้งั แต่5 มิลลิเมตร หรือ 0.2 นิ้ว 5.4.1.1 ส่วนและกอบของไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน ไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน ประกอบดว้ ยส่วนประกอบที่สาคญั ดงั ภาพท่ี 5.52 ปากวดั ปลอกสเกลหมุนวดัสกรูลอ็ ก แกนวดั ปลอกสเกลหลกั หวั หมุนกระทบเล่ือน ภาพที่ 5.52 ส่วนประกอบไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพท่ี 5.52 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน ประกอบดว้ ย 1) ปากวดั (Jaws) 2) ปลอกสเกลหลกั (Barrel Scale) 3) ปลอกสเกลหมุนวดั (Thimble Scale)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 263 4) หวั หมุนกระทบเลื่อน (Ratchet Stop) 5) สกรูล็อก (Clamp Screw) 6) แกนวดั (Spindle) 5.4.1.2 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน ไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน มีหน่วยการวดั ท้งั ระบบเมตริกและระบบองั กฤษ โดยมีหลกั การแบ่งสเกลและการอา่ นค่าของไมโครมิเตอร์เช่นเดียวกบั ไมโครมิเตอร์วดั นอก แต่ที่แตกต่างกนั คือ สเกลของไมโครมิเตอร์ปากวดั ในเริ่มตน้ จากดา้ นขวามือไปดา้ นซ้ายมือ และการหมุนปลอกหมุนวดั หมุนในทิศทางตามเขม็ นาฬิกา ดงั ภาพท่ี 5.53 (ก) ลกั ษณะสเกลของไมโครมิเตอร์วดั นอก (ข) ลกั ษณะสเกลของไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน ภาพท่ี 5.53 แสดงความแตกต่างของไมโครมิเตอร์วดั นอกและไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
ไ ม โ ค ร มิ เ ต อ ร์ | 264 5.4.1.3 การอ่านค่าไมโครมิเตอร์ปากวดั ใน สาหรับการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ปากวดั ในจะอ่านตามเขม็ นาฬิกาเช่นกนั และการอ่านค่าที่กา้ นปลอกของไมโครมิเตอร์ปากวดั ในจะอ่านจากขอบปลอกหมุนวดั ท่ีเล่ือนกบั สเกลท่ีผา่ นมาแลว้ดงั ตวั อยา่ งท่ี 5.5ตวั อย่างท่ี 5.5 จากภาพท่ี 5.54 คา่ ที่อ่านไดม้ ีขนาดเทา่ ใด A C B ภาพที่ 5.54 การอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ปากวดั ในคา่ ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพท่ี 5.54 การอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ปากวดั ในความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี 1) ข้นั ตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ท่ีอยดู่ า้ นบนของเส้นอา้ งอิง ที่จุด A โดยพจิ ารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ เลยขีดจานวนเต็มของสเกลหลกั ดา้ นบนขีดใดและมีค่าเท่าใด ซ่ึงในตวั อยา่ งท่ี5.5 ปลอกหมุนวดั เลขขีดสเกลท่ี 12 แต่ยงั ไม่ถึงขีดสเกลท่ี 13 ดังน้ันค่าท่ีอ่านได้จึงมีค่าเท่ากับ 12มิลลิเมตร 2) ข้นั ตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ท่ีอยูด่ ้านล่างของเส้นอา้ งอิง ที่จุด B โดยพิจารณาจากขอบของปลอกหมุนวดั วา่ เลยขีดสเกลหลกั ที่อยดู่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงหรือไม่ ซ่ึงในตวั อยา่ งที่ 5.5ขอบของปลอกหมุนวดั ยงั คงไม่ผา่ นขีดสเกลท่ีอยูด่ า้ นล่างของเส้นอา้ งอิงแลว้ ดงั น้นั ค่าที่อ่านไดจ้ ึงมีค่าเทา่ กบั 0.00 มิลลิเมตร 3) ข้นั ตอนที่ 3 อ่านค่าจากสเกลของปลอกหมุนวดั ที่จุด C โดยพิจารณาจากขีดสเกลที่ปลอกหมุนวดั ว่าตรงกบั เส้นอา้ งอิงที่ขีดใด หรือหากไม่ตรงขีดสเกลใด ก็จะอ่านค่าจากขีดสเกลที่อยู่ดา้ นบนของเส้นอา้ งอิงและอยใู่ กลเ้ ส้นอา้ งอิงมากที่สุด ซ่ึงในตวั อยา่ งที่ 5.5 ขีดสเกลของปลอกหมุนวดัขีดที่ 38 ตรงกบั เส้นอา้ งอิง ดงั น้นั จึงอา่ นคา่ ไดเ้ ท่ากบั 0.38 มิลลิเมตร
Search