Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

Published by suttineejan977, 2021-09-08 11:14:42

Description: สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

1

2 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ท่ี ศธ 0210.4805/ วันท่ี กรกฎาคม 2564 เรื่อง รายงานสรุปผลการดาเนินงานการจัดกจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการเกษตรผสมผสาน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรียน ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ตามท่ี ผู้อานวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาอาเภอบางไทร ได้อนุมัติ โครงการเกษตรผสมผสานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ชวั่ โมง ข้าพเจ้านางสาวศุทธินี จันยะนัย ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล รับผิดขอบพื้นท่ีตาบลช้างน้อย ผู้รับผิดชอบ โครงการเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ชว่ั โมง ในวันท่ี 8 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคม หมทู่ ี่ 2 ตาบลช้างนอ้ ย อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา โดยมีเปา้ หมาย ประชาชนในตาบลกระแชง จานวน 8 คน ในประชาชนในตาบล ช้างน้อย 8 คน บัดนี้ โครงการ ดังกล่าว ได้ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผลการจัดโครงการ เกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) ดงั เอกสารรูปเล่มแนบทา้ ยนี้ จงึ เรยี นมาเพื่อทราบ (นางสาวศุทธินี จนั ยะนยั ) ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐิติพร พาส)ี หัวหนา้ งานการศกึ ษาต่อเน่ือง  ทราบ  อ่นื ๆ ………………………….. (นางสาวมกุ ดา แขง็ แรง) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอภาชี รกั ษาการในตาแหนง่ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอบางไทร

3 คานา กศน.ตาบลช้างน้อย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสง่ เสริมใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ความ ความเข้าใจกฎหมาย รฐั ธรรมนูญและสามารถดาเนินชีวิตเป็นพลเมอื งท่ีดีในสังคมได้ และเพ่ือให้ผูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ที่ ได้รบั ไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั และถ่ายทอดความรู้ให้คนในชุมชนได้ ทาง กศน.ตาบลช้างน้อย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร หวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ การจัดกจิ กรรม โครงการเกษตรผสมผสานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จะเป็นประโยชน์กบั ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมในครัง้ น้ีไม่มากกน็ ้อย และหากการจดั โครงการ ในคร้ังนี้มีข้อบกพร่องประการใด กศน.ตาบลช้างน้อย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอบางไทร ขออภยั ไว้ ณ ที่น้ี รายงานสรุปฉบบั นี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมินผล โครงการเพือ่ เป็นการเพม่ิ พนู ความรู้และเปน็ แนวทางในการจัดทาโครงการในคร้งั ต่อไป นางสาวศทุ ธินี จันยะนัย 27 กรกฎาคม 2564

สารบญั 4 เร่อื ง หนา้ บนั ทกึ ข้อความ คานา 1 สารบัญ 10 บทท่ี 1 บทนา 18 บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข้อง 21 บทท่ี 3 สรุปผลการดาเนนิ งาน 23 บทที่ 4 แบบสอบถามความพงึ พอใจ 33 บทท่ี 5 สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ 34 ภาคผนวก 35 รูปภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจดั การศกึ ษาต่อเนื่อง บรรณานกุ รม คณะผู้จัดทา

5 บทที่ 1 บทนา 1. โครงการ : เกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) 2. ความสอดคลอ้ งกับนโยบาย นโยบายและจุดเนน้ การดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จดุ เน้นการดาเนนิ งาน ขอ้ 1. นอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสูก่ ารปฏิบัติ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ท้ังดิน น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุต่าง ๆ และ สง่ เสรมิ การใชพ้ ลงั งานทดแทนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง 1. ด้านการจดั การศึกษาและการเรยี นรู 1.3 การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 4) การจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ กษตรผสมผสานหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผ่านกระบวนการ เรียนรูตลอดชีวติ ในรูปแบบตา่ งๆ ใหก้ บั ประชาชน เพื่อเสริมสรา้ งภูมคิ ุ้มกัน สามารถยืนหยดั อยู่ไดอย่างมนั่ คง และมีการ บรหิ ารจดั การ ความเสีย่ งอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสูความสมดลุ และยง่ั ยนื จุดเนนการ ดาเนนิ งานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. สงสรมิ การจดั การศึกษาและการเรียนรูตลอดชวี ติ สาหรับประชาชนที่เหมาะสมกับทุกชวงวัย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวตั กรรมและผลิตภณั ฑท่มี คี ณุ ภาพ มคี วามหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรับบริการ และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพื่อนาไปใชในการพฒั นาอาชพี ได 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล งเรียนรู และรูปแบบการจัด การศกึ ษาและการเรยี นรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพือ่ ประโยชนตอการจัดการศกึ ษาทเี่ หมาะสมกับทกุ กลุม เปาหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผู เรียน และสภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนในอนาคต 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย การเรียนรู ทุกช วงวัย และศูนย การเรียนรู ต นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหสามารถ “เรียนรูไดอยางท่ัวถงึ ทุกท่ี ทุกเวลา”

6 จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เม่ือเดือนธันวาคม 2546 ส่งผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพรกระจายของเช้ือไวรัสดังกลาว อาทิ กาหนดใหมี การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานท่ีของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ที่มีผูเขารวมเป็นจานวน มากการปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกาหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การ จัดการเรียนรูแบบออนไลน การจัดการเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึงการสื่อสารแบบทางไกลหรือดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส ในสวนของสานักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงานในภารกิจตอเนื่องตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวติ ประจาวัน และการจดั การเรียนรูเพ่อื รองรับการชวี ิตแบบปกตวิ ิถใี หม (New Normal) ซึง่ กจิ กรรมการเรยี นรูตาง ๆ ไดให ความสาคัญกับการดาเนินงานตามมาตรการการปองกันการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกประเภทหากมีความจาเปนตองมาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทาง สถานศึกษาตองมีมาตรการปองกันที่เขมงวด มีเจลแอลกอฮอลลางมือ ผูรับบริการตองใสหนากากอนามัยหรือ หนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคลเนนการใชสื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลนในการจัดการ เรียนการสอน 2. ดานหลกั สตู ร ส่ือรูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมินผลงานบริการทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพอื่ สงเสริมการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลักสูตรทองถิน่ ท่สี อดคลองกับสภาพบรบิ ทของพ้ืนทีแ่ ละความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในทีส่ อดคลองกบั บรบิ ทและภารกิจของ กศน. มากข้นึ เพื่อพรอมรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบคุ ลากรใหมคี วามรู ความเขาใจ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเน่ืองโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด

7 6. ดานบคุ ลากรระบบการบริหารจดั การ และการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอานวย ความสะดวกในการเรียนรูเพ่อื ใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรูท่ีมปี ระสทิ ธิภาพอยางแทจริง 4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกบั การจัดการศึกษาใหสามารถจดั รูปแบบการเรียนรูไดอย างมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมคี วามรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และประเมนิ ผล และการวิจยั เบอ้ื งตน 5) พฒั นาศกั ยภาพบุคลากร ทร่ี บั ผิดชอบการบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรู ใหมคี วามรูความสามารถ และมคี วามเปนมอื อาชพี ในการจัดบรกิ ารสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชีวติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหาร การดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมีประสิทธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือขายท้ังในและตาง ประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการทางานรวมกัน ในรูปแบบท่ีหลากหลายอยางตอเนื่องอาทิ การแขงขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาประสิทธภิ าพ ในการทางาน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวนถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่วประเทศอยางเป็น ระบบเพ่ือใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใชเปนเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารการวางแผน การปฏิบตั ิงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมี ประสิทธภิ าพ 2) เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคมุ และเรงรัดการ เบกิ จายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายที่กาหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยง กันท่ัวประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน และการบรหิ ารจดั การอยางมปี ระสิทธิภาพ

8 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศ และตางประเทศ รวมทัง้ สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชมุ ชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิดความ รวมมอื ในการสงเสรมิ สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรยี นรูใหกบั ประชาชนอยางมคี ุณภาพ 7) พฒั นาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏิบัติราชการใหทนั สมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติ มชิ อบ บรหิ ารจัดการบนขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรงใส 6.4 การกากับ นเิ ทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเชอื่ มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขายทั้งระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาท่ีเกย่ี วของทุกระดับ พฒั นาระบบกลไกการกากบั ติดตามและรายงาน ผลการนานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องไดอยางมี ประสิทธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกากับนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธิภาพ 4) พฒั นากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคารบั รองการปฏิบตั ิราชการประจาปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงาน กศน.ใหดาเนนิ ไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาทก่ี าหนด 3. หลักการและเหตุผล สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายและจุดเน้นการ ดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จุดเน้นการดาเนินงาน ข้อท่ี 1 น้อมนาพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ข้อ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ท้ังดิน น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุต่าง ๆ และส่งเสริม การใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพ และภารกิจต่อเน่ือง ด้านการ จดั การศึกษาและการเรยี นรู้ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรยี นรูตลอดชวี ิต ในรูปแบบ ต่างๆ ใหก้ บั ประชาชน เพอื่ เสริมสรา้ งภูมิคมุ้ กัน สามารถยืนหยดั อย่ไู ดอย่างมน่ั คง และมีการบริหาร จดั การ ความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศ สูความสมดลุ และยง่ั ยนื กศน.อาเภอบางไทร เป็นหนว่ ยงานจดั กิจกรรม ไดเ้ ห็นความสาคญั ของการสรา้ งการรบั รใู้ นเรือ่ งเกษตร ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) เพ่ือให้ประชาชนไดน้ าไปปรบั ใช้ใน ชวี ิตประจาวนั จงึ ไดจ้ ัดโครงการนข้ี ึ้น

9 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพือ่ ให้ประชาชนทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั การดาเนนิ ชวี ติ ตามโดยใช้ เกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) และสามารถนาความรู้ไป ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 4.2 เพือ่ ใหป้ ระชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการสามารถเรยี นรู้ และเขา้ ใจถึงวิธีการปลูกผักสวนครวั และการ ดแู ลรกั ษา บารุงผักท่ปี ลกู ได้ และการใช้พืน้ ที่ให้ไดป้ ระโยชน์สงู สุด 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนทวั่ ไป ตาบลกระแชง จานวน 8 คน และตาบลชา้ งน้อยจานวน 8 คน รวมท้งั สิ้น 16 คน 5.2 เชงิ คุณภาพ ประชาชนรอ้ ยละ 80 ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ มคี วามรู้ ความเข้าใจในเกษตรผสมผสานตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) ประชาชนรอ้ ยละ 80 ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการเรยี นรู้ และเขา้ ใจถึงวิธีการทา โคก หนอง นา และ สามารถใช้พื้นท่ใี หไ้ ด้ประโยชน์สงู สดุ

10 6. วธิ ดี าเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ ดาเนินการ ประมาณ 1. ขัน้ วางแผน - เพอ่ื กาหนดกิจกรรมและ ครู กศน. 2 คน กศน.อาเภอ วันท่ี - (Plan) ผู้รับผดิ ชอบ ตาบล บางไทร 17 – 21 - ประชมุ ชแี้ จงผู้เก่ยี วขอ้ ง- ทราบบทบาทหนา้ ท่ีและ พฤษภาคม - จดั ทาโครงการ ข้ันตอนการดาเนนิ งาน 2564 - แต่งต้งั คณะ - เพ่อื เสนอใหผ้ ู้บรหิ ารอนมุ ัติ ดาเนินงาน โครงการ 2.ขนั้ ดาเนินการ (Do) - เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ ประชาชน 16 ศาลา 8 1,600 2.1 อบรมให้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ทว่ั ไปใน คน ประชาคม มิถนุ ายน บาท ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตาบล หมู่ท่ี 2 2564 ความรู้ กล่าวถึงท่ีมา กระแชง - เพื่อให้ได้ฝึกปฏิบัติตาม และตาบล ตาบล แลประโยชนข์ องหลกั แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจ ช้างนอ้ ย ชา้ งน้อย พอเพยี ง ปรชั ญาของเศรษฐกิจ - เพ่ือจดั กระบวนการ การทาเกษตรผสมผสานตาม พอเพียง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง (โคก หนอง นา 2.2 วิทยากร โมเดล) อธิบายท่มี าของ หลกั สูตรเกษตร ผสมผสานตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล)

11 กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นท่ีดาเนินการ ระยะเวล งบ เปา้ หมาย 16 คน า ประมาณ 3. วิธีการดาเนนิ 1. เพ่ือใหป้ ระชาชน ที่เข้า ประชาชน ศาลาประชาคม 8 1,600 งานตามโครงการ รว่ มโครงการมคี วามรู้ ความ ทว่ั ไปใน - อบรมเกษตร เข้าใจ เก่ียวกบั เกษตร ตาบล หมู่ที่ 2 ตาบล มถิ ุนายน บาท ผสมผสานตาม ผสมผสานตามหลกั ปรชั ญา กระแชง หลกั ปรัชญาของ ของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก และตาบล ชา้ งน้อย 2564 เศรษฐกจิ พอเพียง หนอง นา โมเดล) ชา้ งน้อย (โคก หนอง นา 2 คน กศน.อาเภอ 15-25 โมเดล) - งาน บางไทร มิถนุ ายน - 4. ข้นั ปรับปรุง - สรุปผลการดาเนินงาน/ วชิ าการ 2564 แก้ไข ( Action ) แนวทางการวางแผนพัฒนา - งานนิเทศ ประเมินผล 4.1 ปรับปรงุ ปรับปรงุ การจดั กจิ กรรมครั้ง และพัฒนาการ ต่อไป ดาเนินงาน 4.2 นาปญั หา/ อปุ สรรคและ ข้อเสนอแนะ ใน การจัดกจิ กรรมมา เป็นแนวทาง ในการวางแผน พัฒนาปรับปรุงใน การ การจัดกิจกรรม ครง้ั ต่อไป 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2564 แผนงาน:พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากร มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผูร้ ับบริการการศึกษานอกระบบ กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน (เศรษฐกจิ พอเพยี ง) รหัสงบประมาณ 2000236004000000 รหสั กจิ กรรมหลัก 200021400P2730 แหล่งของเงิน 6411200จานวนเงนิ 1,600.- บาท (หนง่ึ พนั หกร้อยบาทถ้วน) ประมาณการคา่ ใช้จ่ายดงั นี้ 7.1 คา่ อาหารกลางวัน 16 คน X 1 ม้ือ X 50 บาท เป็นเงนิ 800 บาท 7.2 คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 16 คน X 2 มือ้ X 25 บาท เป็นเงนิ 800 บาท รวมเปน็ เงนิ 1,600 บาท หมายเหตุ ขอถวั จา่ ยตามท่ีจา่ ยจรงิ ทุกรายการ

12 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-มี.ค.64) (เม.ย.-พ.ค.64) (มิ.ย.-ก.ย.64) - อบรมเกษตรผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) - - 1,600 บาท - ณ ศาลาประชาคม หมทู่ ี่ 2 ตาบลช้างนอ้ ย - - 1,600 บาท - รวม 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ 9.1 นางสาวปิยรัตน์ สขุ สมพืช 9.2 นางสาวศุทธินี จนั ยะนยั 10. เครอื ขา่ ย 10.1 สานักงานเกษตรอาเภอ 10.2 แหล่งเรียนร้ตู ้นแบบ โคก หนอง นา โมเดล 10.3 ปราชญช์ าวบา้ น/ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น 10.4 องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลกระแชง 11. โครงการท่เี ก่ยี วขอ้ ง - 12. ผลลพั ธ์ 12.1 ประชาชนทเี่ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเร่อื งเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) และนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 12.2 ประชาชนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการเรยี นรู้ และเข้าใจถงึ วธิ กี ารปลูกผักสวนครวั และการดแู ลรกั ษา บารุงผกั ทปี่ ลูกได้ และสามารถใชพ้ น้ื ท่ีใหไ้ ด้ประโยชน์สงู สุด 13. ดชั นชี ี้วัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลติ 13.1.1 รอ้ ยละ 80 ของประชาชนทเี่ ข้ารว่ มโครงการ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเรื่องเกษตร ผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) และนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน 13.1.1 ประชาชนร้อยละ 80 ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการเรียนรู้ และเข้าใจถงึ วิธีการปลูกผักสวนครัว และการดูแลรักษา บารุงผกั ที่ปลกู ได้ และสามารถใช้พืน้ ทใี่ หไ้ ดป้ ระโยชน์สูงสุด

13 13.2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ 13.2.1 ประชาชนทเี่ ข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเรอื่ งเกษตรผสมผสานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน 13.2.1 ประชาชนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการเรียนรู้ และเข้าใจถงึ วธิ ีการปลูกผักสวนครวั และการดูแล รกั ษา บารงุ ผักทีป่ ลกู ได้ และสามารถใชพ้ ้นื ท่ีใหไ้ ดป้ ระโยชน์สงู สุด 14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบบนั ทึก 14.2 แบบประเมินความพึงพอใจ 14.3 แบบตดิ ตามผเู้ รยี น

14 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการการเรียนรู้หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเกษตรผสมผสาน โคก หนอง นา โมเดล ไดเ้ สนอแนวคิด หลักการและเอกสารที่ เกยี่ วขอ้ ง ตามลาดับดงั ต่อไปนี้ 1. ความสาคัญของการจัดและส่งกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ท่มี าและความสาคญั ของกิจกรรม 3. โคก หนอง นา โมเดล 1. ความสาคัญของการจัดและส่งกระบวนการเรียนร้ตู ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ ระดับครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดับรฐั ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบ ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และ ขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วย ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เปน็ อยา่ งดี ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิ ดังน้ี 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผ้อู นื่ เช่น การผลติ และการบริโภคทีอ่ ยใู่ นระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทาน้ันๆ อย่าง รอบคอบ 3. ภูมคิ ุ้มกนั หมายถึง การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกดิ ข้ึน โดยคานึงถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต โดยมี เง่ือนไข ของการตดั สนิ ใจและดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพยี ง 2 ประการ ดงั น้ี 1. เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบ ที่จะนาความรู้เหลา่ นน้ั มาพิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏิบัติ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซ่ือสัตย์ สจุ ริตและมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชวี ติ

15 2. ที่มาและความสาคญั ของกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง การปลกู ผกั ปลอดสารพิษ พืชผักเป็นพืชอาหารท่ีคนไทยนิยมนา มาใช้รบั ประทานกนั มากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาการทัง้ วิตามิน และแร่ธาตุต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ร่างกายสงู แตค่ ่านยิ มในการบริโภคผกั นั้น มักจะเลือกบริโภคผักท่สี วยงาม ไมม่ ีรอ่ งรอยการทา ลายของหนอนและแมลงศัตรพู ืช จึงทา ใหเ้ กษตรกรทปี่ ลกู ผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกนั และ กาจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณท่ีมาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เม่ือผู้ซ้ือนา มาบริโภค แล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษท่ีตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว เกษตรกรจึงควร หนั มา ทาการปลูกผกั ปลอกภยั จากสารพษิ โดยนา เอาวธิ กี ารป้องกนั และกา จดั ศัตรูพืชหลายวิธีมาประยกุ ต์ใช้ ร่วมกัน เป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภค และสงิ่ แวดลอ้ ม ขอ้ ดขี องการปลกู ผักปลอดภัยจากสารพษิ 1. ทา ใหไ้ ด้พชื ผกั ที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกคา้ ง เกดิ ความปลอดภยั แกผ่ บู้ ริโภค 2. ช่วยใหเ้ กษตรกรผปู้ ลูกผักมสี ขุ ภาพอนามยั ท่ีดีขึน้ เนื่องจากไม่มีการฉีดพน่ สารเคมีป้องกนั และกาจัด ศัตรพู ชื ทา ให้เกษตรกรปลอดภยั จากสารพษิ เหล่านดี้ ้วย 3. ลดต้นทนุ การผลิตของเกษตรกรด้านค่าใชจ้ ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกนั และกา จัดศัตรูพืช 4. ลดปรมิ าณการนา เข้าสารเคมีปอ้ งกนั และกา จัดศัตรพู ืช 5. เกษตรกรจะมรี ายไดเ้ พ่ิมมากขน้ึ เน่ืองจากผลผลติ ทีไ่ ดม้ ีคณุ ภาพ ทา ให้สามารถขายผลผลติ ไดใ้ น ราคาสงู ขน้ึ 6. ลดปริมาณสารเคมีป้องกนั และกา จดั ศตั รพู ืชที่จะปนเป้ือนเขา้ ไปในอากาศและน้า ซึง่ เป็นการ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละลดมลพษิ ของสิ่งแวดลอ้ มได้ทางหน่งึ

16 1. โคก หนอง นา โมเดล แนวคดิ การจดั การนา้ \"โคก หนอง นา โมเดล\" นี้ เปน็ การทาเกษตรในพนื้ ท่ีขนาดจากัด หรอื ขนาดเล็ก เปน็ การกักเกบ็ น้าไว้ทัง้ บนดิน (ด้วยหนอง คลองไส้ไก่ และคันนา) และใต้ดิน (ดว้ ยปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง) ตามแนวพระราชดารขิ องในหลวง ร.9 โดยเฉพาะในพนื้ ทจ่ี ากัด อยา่ งน้อยเพียง 3 ไร่ หรือ แล้วแตข่ นาด ของที่ดนิ ตามสภาพความเหมาะสมก็ได้ เมื่อปี 2561 มีแบบมาตรฐาน โคก หนอง นา โมเดล จานวนประมาณ 40 แบบให้กรมพฒั นาที่ดนิ ไว้แจกจา่ ยประชาชน ทั้ง 40 แบบ เป็นโมเดลตน้ แบบสาหรบั ทด่ี นิ ขนาดแบบ 3 ไร่ 5 ไร่ หรอื 10-15 ไร่ ท่ีเปน็ โมเดลพืน้ ท่ขี นาดเลก็ มีองคป์ ระกอบดังน้ี (1) โคก - ดนิ ทข่ี ดุ ทาหนองนา้ นน้ั ให้นามาทาโคก บนโคกปลูก “ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทาง พระราชดาริ - ปลกู พชื ผกั สวนครัว เล้ียงหมู เล้ียงไก่ เลี้ยงปลา ทาใหพ้ ออยู่ พอกิน พอใช้ พอรม่ เยน็ เป็นเศรษฐกิจ พอเพียงขัน้ พ้นื ฐาน ก่อนเขา้ สู่ข้ันก้าวหนา้ คือ ทาบุญ ทาทาน เกบ็ รักษา ค้าขาย และเช่ือมโยงเป็นเครือขา่ ย - ปลูกท่ีอยอู่ าศยั ใหส้ อดคล้องกับสภาพภูมปิ ระเทศ และภมู ิอากาศ (2) หนอง - ขุดหนองเพ่ือกักเกบ็ นา้ ไว้ใช้ยามหน้าแลง้ หรือจาเป็น และเป็นทรี่ ับนา้ ยามนา้ ทว่ ม (หลุมขนมครก)

17 - ขุด “คลองไสไ้ ก”่ หรือคลองระบายน้ารอบพนื้ ท่ีตามภูมิปัญญาชาวบา้ น โดยขุดใหค้ ดเคี้ยวไปตามพ้ืนท่ีเพอื่ ให้ น้ากระจายเต็มพืน้ ทีเ่ พ่ิมความชุ่มช้ืน ลดพลังงานในการรดน้าตน้ ไม้ - ทา ฝายทดนา้ เพ่ือเกบ็ นา้ เข้าไว้ในพนื้ ที่ใหม้ ากที่สดุ โดยเฉพาะเมื่อพนื้ ท่ีโดยรอบไม่มีการกักเก็บน้า น้าจะ หลากลงมายังหนองน้า และคลองไสไ้ ก่ ใหท้ าฝายทดน้าเก็บไว้ใชย้ ามหนา้ แล้ง - พัฒนาแหลง่ น้าในพน้ื ที่ ท้งั การขุดลอก หนอง คูคลอง เพ่ือกกั เก็บน้าไว้ใช้ยามหน้าแลง้ และเพม่ิ การระบาย นา้ ยามนา้ หลาก (3) นา - พน้ื ทีน่ าน้นั ให้ปลกู ข้าวอินทรียพ์ ้ืนบา้ น โดยเร่ิมจากการฟื้นฟดู นิ ด้วยการทาเกษตรอนิ ทรีย์ยัง่ ยืน คืนชีวิต เล็กๆ หรือจลุ นิ ทรยี ก์ ลบั คนื แผน่ ดนิ ใชก้ ารควบคุมปริมาณน้าในนาเพ่ือคุมหญา้ ทาใหป้ ลอดสารเคมไี ด้ ปลอดภยั ทัง้ คนปลูก คนกนิ - ยกคันนาใหม้ ีความสงู และกวา้ ง เพ่ือใชเ้ ป็นทรี่ ับนา้ ยามนา้ ท่วม ปลูกพชื อาหารตามคันนา โดยความรว่ มมอื ของมลู นธิ ิกสกิ รรมธรรมชาติและคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหาร ลาดกระบงั จึงไดม้ ีการออกแบบพื้นที่กสกิ รรมโดยอาศยั “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นแนวคดิ หลกั ในการ จดั การพนื้ ท่ี ในบรเิ วณพ้ืนทีล่ ุ่มน้าป่าสัก แหลง่ น้าขนาดใหญท่ สี่ าคญั ทส่ี ุดของเมืองไทย หลักสตู รตอ่ เนือ่ ง

18 หลักสูตรเกษตรผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ช่วั โมง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ความเป็นมา แนวทางการพฒั นาตามยุทธศาสตรข์ องแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมในประเดน็ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสร้าง จติ สานึกรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ มมีคุณธรรม จริยธรรมและนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ าร ปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวิต จากการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งพระองค์ท่านได้พระราชทานแนวความคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือท่ีเรามัก เรียกกันในปัจจุบันว่า “ศาสตร์พระราชา”ให้กับพสกนิกรชาวไทย ซ่ึงองค์ความรู้ดังกล่าวสามารถนามาปรับใช้ ในชีวิตประจาวันได้ทุกเรื่อง การเรียนรู้การทาบัญชีครวั เรือนก็เป็นอีกแขนงหนึ่งของศาสตร์พระราชาที่เป็นอีก ความรู้หน่ึงที่สนับสนุนแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานที่สาคัญเป็นรูปธรรมที่สามารถ ดาเนนิ การไดใ้ นทนั ทเี พอื่ เปน็ การเรียนรตู้ ้นทุนในทุกๆกิจกรรมในชวี ิตประจาวัน หลกั การของหลักสตู ร 1. เป็นหลกั สูตรทมี่ ีความยนื หยุ่นในเนื้อหาสาระการเรยี นรู้และกระบวนการจดั การเรยี นรู้ 2. มุ่งพัฒนาให้ผเู้ รยี นไดร้ บั การศึกษาเพื่อพฒั นาแนวคิดในการบรหิ ารต้นทนุ และความเสี่ยง เป็น บุคคลทมี่ ีคณุ ธรรมและความซ่ือสตั ย์และมจี ติ สานึกความรับผดิ ชอบต่อตนเอง ผ้อู ่นื และสงั คม 3. เนน้ การฝกึ ปฏบิ ตั ิจริง เพ่ือให้ผู้เรยี นเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปประกอบการ พจิ ารณาศกั ยภาพของอาชีพในการทาเกษตรผสมผสานอยา่ งมน่ั คงและย่ังยนื จุดม่งุ หมาย 1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเกิดทักษะความรู้ ความเขา้ ใจ ความชานาญในหลกั สูตรเกษตรผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) 2. เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถนาไปสนบั สนนุ การทาหลกั สตู รเกษตรผสมผสานตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) และสามารถสร้างรายได้ไดอ้ ย่างมั่นคง 3. เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถทาการเกษตรผสมผสานอย่างยั่งยืน เป้าหมาย ประชาชนที่สนใจ ตาบลกระแชง จานวน 8 คน และตาบลช้างนอ้ ย จานวน 8 คน รวม 16 คน ระยะเวลา จานวน 6 ชว่ั โมง รายละเอียดโครงสร้างหลักสตู รการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

19 หลกั สตู รเกษตรผสมผสานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ชั่วโมง เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา การจัดกระบวนการ ชวั่ โมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1. เรียนรู้ 1.1 เพ่ือให้มีความรู้ความ 1.หลักปรชั ญา 1.1 วทิ ยากร 1 หลกั เข้าใจกระบวนการจัดการ ของเศรษฐกจิ กลา่ วถึงทีม่ าและ ชัว่ โมง ปรชั ญา เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ประโยชน์ของหลัก ของ พอเพียงและหลักการทรง 2.หลักการทรง ปรัชญาของ เศรษฐกิจ งานในพระบาทสมเด็จพระ งานของ เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพียง บรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ พระบาทสมเด็จ 1.2 วทิ ยากรอธิบาย พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ม ห า ร า ช พระบรมชน ทีม่ าหลกั สูตรเกษตร บรมนาถบพติ ร กาธิเบศร มหา ผสมผสานตามหลัก ปรัชญาของ ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เศรษฐกจิ พอเพยี ง เดชมหาราช (โคก หนอง นา บรมนาถบพิตร โมเดล) 3.การทาเกษตร ผสมผสาน 2. 2.1 เพอ่ื ให้ได้ฝกึ ปฏบิ ัติตาม 1.การทา 2.1 ผู้เขา้ อบรม ฝึก 5 ช่วั โมง กิจกรรม แนวทางปรชั ญาของ เกษตร ปฏบิ ัติการเรียนรู้ ชว่ั โมง การเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ผสมผสานใน การทาเกษตร การทา 2.2 เพือ่ จัดกระบวนการ รูปแบบโคก ผสมผสานตามหลัก หลักสูตร การทาเกษตรผสมผสานตาม หนอง นา ปรัชญาของ เกษตร หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ โมเดล เศรษฐกจิ พอเพียง ผสมผสาน พอเพยี ง (โคก หนอง นา (โคก หนอง นา ตามหลัก โมเดล) 1.1 การทา โมเดล) และศึกษา ปรัชญา เกษตร จากตน้ แบบโคก ของ ผสมผสาน หนองนาโมเดล เศรษฐกจิ 1.3 การทา พอเพียง พ้ืนทใ่ี ห้เปน็ โคก (โคก เพ่อื บรหิ าร หนอง นา จัดการน้า โมเดล) เรื่อง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา

20 การจัดกระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ เรยี นรู้ 1.4 การขุด หนองใช้เกบ็ นา้ ในหน้าแลง้ 1.5 การนาท่ี นามาถมเป็น โคก สาหรับ พืน้ ที่อยู่อาศัย 1.6 การ เพาะปลกู และการเล้ยี ง สัตว์แบบ เกษตร ผสมผสาน สื่อการเรยี นรู้ 1. บุคคล /วิทยากร 2. ตวั อย่างต้นแบบโคกหนองนาโมเดล 3. เอกสารประกอบการเรียน 4. ฝกึ ปฏบิ ัติจริง การวดั ผลประเมนิ ผล 1. แบบประเมินความพึงพอใจ 2. แบบประเมนิ การจดั การศึกษาต่อเนื่อง 3. แบบตดิ ตามผู้จบหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ือง 4. แบบรายงานการจดั การศึกษาต่อเนื่อง

21 เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร 1. มีเวลาเรยี นและฝึกปฏบิ ตั ิตามหลักสูตร ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 3. มผี ลการประเมินช้ินงานโดยวทิ ยากรไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80

22 บทท่ี 3 สรุปผลการดาเนินงาน ข้ันตอนการดาเนนิ งานในการจดั กจิ กรรมพฒั นาสงั คมและเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 16 คน (ตาบลกระแชง 8 คน ตาบลชา้ งนอ้ ย 8 คน) วันที่ 8 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 2 ตาบลชา้ งน้อย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา มดี ังนี้ 1. ขัน้ วางแผน (Plan) 1.1 สารวจความตอ้ งการ วิเคราะห์ความตอ้ งการ ของกลมุ่ เปา้ หมาย 1.2 ประชุมชีแ้ จงผู้เก่ียวข้องและแตง่ ต้ังคณะ ดาเนินงาน 1.3 จดั ทาหลักสตู ร/ อนุมัตหิ ลักสูตร 1.4 ประสานเครอื ข่าย 2. ขัน้ ดาเนินการ (Do) ดาเนนิ การจดั กจิ กรรม 2.1 จัดฝึกอบรม โครงการเกษตรผสมผสานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง(โคก หนอง นา โมเดล) 6 ช่วั โมง เป้าหมาย ตาบลกระแชงจานวน 8 คน ตาบลชา้ งน้อยจานวน 8 คน รวมจานวน 16 คน วันท่ี 8 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคม หมูท่ ่ี 2 ตาบลช้างนอ้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 3. ข้นั ตรวจสอบ (Check) 3.1 ประเมินความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์) 3.2 การนเิ ทศติดตามผล 4. ขั้นปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action) 4.1 นาผลการนเิ ทศมาปรบั ปรุงพฒั นา

23 ข้อมูลผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ เปา้ หมายผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ (ตาบลช้างนอ้ ย) จานวนทงั้ หมด 8 คน 1. เพศ เพศชาย จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.5 เพศหญงิ จานวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 62.5 รวม จานวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00 2. อายุ คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 โดยมีอายเุ ฉลยี่ ต้งั แต่ ตา่ กว่า 15 ปี จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 อายุ 15 -29 ปี จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 อายุ 30 - 39 ปี จานวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 37.50 อายุ 40 - 49 ปี จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 อายุ 50 - 59 ปี จานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 12.50 และอายุ 60 ปีข้นึ ไป จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 รวม จานวน 8 คน 3. ระดับการศึกษา จานวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00 ต่ากวา่ ประถมศึกษา จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ประถมศึกษา จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.50 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.50 อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จานวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 00.00 ปรญิ ญาตรี จานวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00 รวม 4. ผเู้ ข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉล่ียประกอบอาชพี รับราชการ จานวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00 คดิ เปน็ ร้อยละ 25.00 รับจา้ ง จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 เกษตรกร จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00 คา้ ขาย จานวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น จานวน 0 คน อาชีพอน่ื ๆ จานวน 2 คน รวม จานวน 8 คน

24 ผลการดาเนินงาน 1. จานวนผู้เข้ารว่ มโครงการฯ ทตี่ ั้งเปา้ หมายตาบลกระแชงไว้ จานวน 8 คน จดั ได้ 8 คน ประกอบ อาชีพตามกลุ่มเป้าหมายตาบลกระแชง 8 คน 2. วิทยากรใหค้ วามรู้ โดยวธิ ีการบรรยาย วิธกี ารสาธติ และวธิ ีการฝกึ ปฏิบัตจิ ริง 3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทท่ี 4 แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ตั ิงาน งบประมาณในการจัดกิจกรรมพัฒนาสังคมและชมุ ชน มจี านวนจากัด ขอ้ เสนอแนะ จัดสรรงบประมาณใหเ้ พียงพอตอ่ จานวนผเู้ รียน

25 บทที่ 4 สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ เกษตรผสมผสานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (โคก หนอง นา โมเดล) ในวนั ท่ี 8 มถิ ุนายน 2564 สถานท่จี ดั ศาลาประชาคม หม่ทู ่ี 2 ตาบลชา้ งน้อย อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ข้อมูลพน้ื ฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ คาชี้แจง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 2 ตอน ตอนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป คาชี้แจง โปรดใส่เครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ ง  ทตี่ รงกบั ข้อมลู ของท่านเพยี งช่องเดียว เพศ  ชาย  หญงิ อายุ  ตา่ กวา่ 15 ปี  15-29 ปี  30-39 ปี  40-49 ปี  50-59 ปี  60 ปขี น้ึ ไป ระดับการศึกษา  ต่ากว่าประถมศกึ ษา ประถมศึกษา  มธั ยมศกึ ษาตอนต้น  มธั ยมศึกษาตอนปลาย  อนุปริญญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สูงกวา่ ปริญญาตรี  อ่ืนๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชีพ  ผนู้ าท้องถ่ิน  อบต./เทศบาล  พนักงานรฐั วสิ าหกิจ  ทหารกองประจาการ  เกษตรกร  รับราชการ  ค้าขาย  รบั จา้ ง  อสม.  แรงงานต่างดา้ ว  พอ่ บ้าน/แม่บ้าน  อื่นๆ โปรดระบุ..........................

26 ตอนท่ี 2 ด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ าร คาช้แี จง โปรดใสเ่ ครื่องหมาย  ลงในช่อง  ทีต่ รงกบั ความคิดเห็นของท่านเพยี งช่องเดยี ว ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก ปาน นอ้ ย ทีส่ ดุ มาก กลาง น้อย ที่สดุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปัจจบุ นั ทนั สมยั 4 เน้อื หามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 9 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรือ่ งทถี่ ่ายทอด 11 วิทยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก 14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

27 บทท่ี 5 สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ เกษตรผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ชั่วโมง ในวนั ท่ี 8 มิถุนายน 2564 สถานทีจ่ ดั ณ ศาลาประชาคม หมูท่ ่ี 2 ตาบลช้างน้อย อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไป ผเู้ ขา้ อบรม เกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ช่ัวโมง เป้าหมาย 8 คน จดั ได้ 8 คน 1. เพศ เพศชาย จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.5 เพศหญงิ จานวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 62.5 รวม จานวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 8 7 6 5 4 3 2 1 0 คน ชาย หญิง รวม

28 2. อายุ คดิ เป็นร้อยละ 00.00 โดยมีอายเุ ฉลี่ยตัง้ แต่ ต่ากวา่ 15 ปี จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 อายุ 15 -29 ปี จานวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 อายุ 30 - 39 ปี จานวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.50 อายุ 40 - 49 ปี จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 อายุ 50 - 59 ปี จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50 และอายุ 60 ปีขึน้ ไป จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 รวม จานวน 8 คน 8 ชาย 7 หญิง 6 รวม 5 4 รวม 3 ชาย 2 1 0 ต่ากวา่ 15 ปี 15-29 30-39 40-49 50-59 60 ปีขนึ้ ไป รวม

29 3. ระดับการศกึ ษา จานวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 ตา่ กว่าประถมศกึ ษา จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.00 ประถมศึกษา จานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 มธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50 อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จานวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 ปริญญาตรี จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน 8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 รวม 8 7 6 5 4 3 ชาย 2 หญิง 1 รวม 0 รวม ชาย

30 4. ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการฯ โดยเฉลยี่ ประกอบอาชีพ รบั ราชการ จานวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.00 รบั จ้าง จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00 คดิ เป็นรอ้ ยละ 00.00 เกษตรกร จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 คิดเป็นร้อยละ 25.00 ค้าขาย จานวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 พ่อบา้ น/แม่บา้ น จานวน 0 คน อาชีพอ่ืน ๆ จานวน 2 คน รวม จานวน 8 คน

31 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจตอ่ การจัดโครงการเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) ในวันท่ี 8 มถิ ุนายน 2564 สถานทจ่ี ดั ณ ศาลาประชาคม หมทู่ ี่ 2 ตาบลชา้ งนอ้ ย อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เป้าหมาย(ตาบลกระแชง) 8 คน จัดได้ 8 คน ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนือ้ หา มาก ปาน น้อย 1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ ทส่ี ดุ มาก กลาง น้อย ทส่ี ุด 2 เน้อื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนือ้ หาปจั จบุ นั ทันสมยั 62 - - - 4 เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชีวิต 62 - - - ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 71 - - - 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 71 - - - 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 8- - - - 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย 62 - - - 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 71 - - - ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 8- - - - 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องทถี่ า่ ยทอด 8- - - - 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ่อื เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนรว่ มและซกั ถาม 71 - - - ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 8- - - - 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก 8- - - - 14 การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 62 - - - 53 - - - 62 - - -

32 สว่ นประเมินผลความพึงพอใจดว้ ยเกณฑค์ ะแนนเฉลีย่ รวม มคี า่ คะแนน 1 คะแนนและเกณฑ์ระดับความพึงพอใจเป็นน้ี มคี า่ คะแนน 2 มีค่าคะแนน 3 ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปรบั ปรงุ มคี า่ คะแนน 4 ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ พอใช้ มีคา่ คะแนน 5 ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ดี ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก และค่าคะแนนเฉล่ียมเี กณฑด์ งั น้ี หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ปรับปรุง คะแนนเฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น พอใช้ คะแนนเฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ดี คะแนนเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00

33 สรปุ ความพึงพอใจในภาพรวม จากการจดั โครงการเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 10 ช่ัวโมง ในวนั ท่ี 8 มิถุนายน 2564 สถานท่จี ดั ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 2 ตาบลชา้ งนอ้ ย อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา จานวน 8 คน พบวา่ แบบสอบถามทั้ง 15 ข้อ ผู้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจในระดับ “ดีมาก” ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา มาก ปาน นอ้ ย 1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ ท่สี ุด มาก กลาง น้อย ทส่ี ดุ 2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เน้ือหาปจั จบุ นั ทันสมยั 71 - - - 4 เนื้อหามปี ระโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ิต 62 - - - 71 - - - 71 - - - 7 6 5 4 3 นอ้ ยที่สดุ มากที่สดุ 2 นอ้ ย 1 ปานกลาง 0 มาก มาก มากที่สดุ ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ

34 ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม มาก ปาน นอ้ ย 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม ทีส่ ดุ มาก กลาง น้อย ทสี่ ุด 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8- - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย 62 - - - 9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 71 - - - 8- - - - 8- - - - 8 7 6 5 4 3 นอ้ ยท่ีสดุ นอ้ ย 2 ปานกลาง มากท่ีสดุ 1 มาก มาก 0 มากที่สดุ ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ

35 ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร มาก ปาน นอ้ ย 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถา่ ยทอด ที่สดุ มาก กลาง นอ้ ย ท่ีสุด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซักถาม 71 - - - 8- - - - 8- - - - 8 7 6 5 4 นอ้ ยที่สดุ มากท่ีสดุ 3 นอ้ ย มาก 2 ปานกลาง 1 มาก 0 ปานกลาง มากท่ีสดุ นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ

36 ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก มาก ปาน น้อย 13 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก ทีส่ ดุ มาก กลาง น้อย ทสี่ ดุ 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา 62 - - - 53 - - - 71 - - - 14 12 10 8 6 นอ้ ยท่ีสดุ 4 นอ้ ย มากที่สดุ ปานกลาง 2 มาก มาก 0 ปานกลาง มากท่ีสดุ นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ

37

38 ภาพประกอบการจัดกิจกรรม เกษตรผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) จานวน 6 ช่ัวโมง ในวนั ที่ 8 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 สถานท่ีจัด ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 2 ตาบลชา้ งน้อย อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

39 บรรณานกุ รม สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอเมอื งสโุ ขทัย https://district.cdd.go.th/muang-sukhothai

ทีป่ รึกษา คณะผูจ้ ัดทา นางสาวมกุ ดา แข็งแรง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอภาชี นางสาววิชชุตา แกว้ โมรา รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร นางสาวหทยั รตั น์ ศิรแิ ก้ว บรรณารกั ษช์ านาญการ นางสาวฐิติพร พาสี ครู ครูผูช้ ว่ ย คณะทางาน/ผ้รู วบรวมข้อมูล/สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พิมพร์ ูปเล่ม นางสาวศทุ ธินี จันยะนยั ครู กศน.ตาบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook