44 เสน้ ทาง/การเดนิ ทาง จากตัวเมืองสมุทรสงคราม ไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 325 (แม่กลอง-อัมพวา) ประมาณ 5 กม. เลยวัดบางกะพ้อม (ยังไม่ถึงตลาดอัมพวา) ให้สังเกตทางแยกซ้ายมือ เล้ียวซ้ายข้าม สะพานข้ามแม่น้ำแม่กลอง (สะพานสมเด็จพระศรีสุริเยนทร์) ตรงไปถึงสามแยกเล้ียวขวา ตรงไปผ่าน วัดภุมรินทร์ จนถึงสามแยก (มีวัดบางแคใหญ่อยู่ขวามือ) เลี้ยวขวา ตรงไปผ่านวัดบางแคน้อย วัด ปากนำ้ ขา้ มสะพานคลองแควออ้ ม สังเกตค่ายบางกุ้งอยู่ซา้ ยมอื จะเห็นแนวกำแพงของค่าย **************************** วดั อรญั ญิกาวาส จงั หวัดราชบุรี ชั้น/ท่ีตง้ั : ช้นั : วดั อรญั ญกิ าวาส เปน็ วัดราษฎร์ สงั กัดคณะสงฆธ์ รรมยุตกิ นกิ าย ทตี่ ั้ง: บ้านอรญั ญิก ตำบลเจดยี ์หัก อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 ข้อมลู การตดิ ตอ่ : โทร. 098-000-7170 ประวัตคิ วามเปน็ มา วัดอรัญญิกาวาส เป็นวดั เก่าแก่สรา้ งข้ึนในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ได้มี การบูรณะปฏิสังขรณ์ แล้วเปล่ียนชื่อใหม่ว่า “วัดจำเริญธรรมวิหาร”๓๘ เป็นวัดโบราณสมัยขอม ประมาณศตวรรษท่ี 10 ถึง 16 ที่บริเวณท่ีราบของท้องทุ่งเขางู๓๙ ซ่ึงเป็นสมรภูมิการสู้รบระหว่าง กองทัพของกรุงศรีอยธุ ยากับกองทัพพม่าหลายคร้ัง วัดน้ีรา้ งมาหลายยุคหลายสมัย ต่อมาเมือ่ สมัยของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 5 ทรงได้ให้พระยาธรรมจรัญญานุกูลมนตรี (จำเริญ บุรณศิริ) นิมนต์เจา้ คุณมหาสมณวงศ์ เจ้าอาวาสวัดมหาสมณารามท่ีเขาวงั เมอื งเพชรบุรี ลูกศิษย์ของสมเด็จพระ ๓๘ สัมภาษณ์ พระมหาณฐั ชัย อภวิ ฑฒโน, เจ้าอาวาส วดั อรัญญกิ ารวาส, 1 กุมภาพันธ์ 2564. ๓๙ สัมภาษณ์ พระมหาณัฐชยั อภวิ ฑฒโน, เจา้ อาวาส วดั อรญั ญิการวาส, 1 กุมภาพันธ์ 2564.
45 วันรัตพุทธสิริ ซ่ึงเป็นลูกศิษย์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 4 มาบูรณะวัดขึ้น ใหม่๔๐ ภายในบริเวณวัดมีหลักฐานทางด้านโบราณคดีที่สำคัญ ได้แก่ พระพุทธไสยาสน์ เป็น พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหลังพระปรางค์นอกระเบียงคดเป็นหินทรายแดง ปัจจุบันถูกโบกปูนทับ ลักษณะของพระพุทธไสยาสน์ประทับบนฐานส่ีเหล่ียมในลักษณะตะแคง ด้านขวายกพระหัตถข์ วาขึ้นรองรับพระเศียร และมีหมอนทรงสามเหลี่ยมรองรับพระกรอีกทีหนึ่ง เป็น ศิลปะสมัยกรุงศรีอยุธยา พระปรางค์ มีลักษณะเป็นพระปรางค์ก่ออิฐถือปูนศิลปะแบบอยุธยา มี ปรางค์ประธานขนาดใหญ่ต้ังอยู่ตรงกลาง ที่มุมมีปรางค์มุมขนาดเล็กทั้ง 4 ด้าน ปัจจุบันเหลืออยู่ เฉพาะปรางค์มุมด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้เพียงองค์เดียว ล้อมรอบด้วยระเบียงคดที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปหินทราย พุทธศิลปะแบบอยุธยา เจดีย์ เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูนทรงระฆังกลม 2 องค์ เป็น เจดีย์ศิลปะแบบลังกา ซ่ึงเป็นที่นิยมสร้างในศิลปะสุโขทัยและอยุธยา๔๑ ปัจจุบันวัดอรัญญิกาวาส เป็นศาสนสถานในพุทธศาสนาท่ียังมีการใช้ประโยชน์ กรมศิลปากรประกาศข้ึนทะเบียนเป็น โบราณสถาน และกำหนดเขตที่ดนิ โบราณสถาน ในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 115 ตอนพเิ ศษ 38 ง วนั ท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 มพี ้ืนที่โบราณสถาน 4 ไร่ 2 งาน สง่ิ ทน่ี ่าสนใจภายในวดั พระปรางค์ ลักษณะเป็นการก่ออิฐถือปูนแบบ มีลายสลักภาพต่าง ๆ เกี่ยวกับศาสนา พราหมณ์ เช่น พระนารายณ์ทรงครฑุ และภาพเทวดาต่าง ๆ ปรางค์องคเ์ ล็กชำรุดทรุดโทรมหมดแล้ว เหลือเฉพาะบางมุมด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้เพียงองค์เดียว ฐานพระประธานเป็นฐานบัวลูกฟักเรือน ธาตุมีซุ้มจระนำ ท้ัง 4 ด้าน หน้าบันของซุ้มปรางค์ตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น ส่วนยอดมีลักษณะ คล้ายฝักข้าวโพดมีกลีบขนุนปูนป้ันรูปเทพพนมตกแต่งยอดบนสุดมีนภศูลโลหะปักอยู่ โดยรอบพระ ปรางค์มีระเบียงคดลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนหันหน้าเข้าหาพระปรางค์ มีฐานส่ีเหล่ียม ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปหนิ ทรายแดง ปัจจบุ นั พอกด้วยปูนประทับน่งั ปางมารวิชัย 41 องค์ พระอุโบสถ ลักษณะก่ออิฐถือปูนหลังคาโครงไม้มุงกระเบ้ือง มีชายคาปีกนกคุมโดยรอบ ท้ัง 4 ด้าน ไม่มีช่อฟ้าใบระกา มีระเบียงเทียบประดับกระเบื้องเคลือบแบบจีน ผนังด้านหน้าและ ด้านหลังก่ออิฐถือปูนมีประตูทางเข้าด้านละ 2 ประตู บานประตูหน้าต่างเป็นไม้ พระอุโบสถมีกำแพง แก้วก่ออิฐถือปูนประดับกระเบื้องเคลือบแบบจีนล้อมรอบ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2438 สมัยรัชกาลท่ี 5 โดยพระยาทำบญุ ญานกุ ลู มนตรี เจริญบูรณะศริ มิ ีคำจารึกไว้ท่ีผนงั ๔๐ สมั ภาษณ์ พระมหาณัฐชัย อภิวฑฒโน, เจ้าอาวาส วดั อรัญญกิ ารวาส, 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2564. ๔๑ สมั ภาษณ์ พระมหาณัฐชัย อภวิ ฑฒโน, เจ้าอาวาส วดั อรัญญกิ ารวาส, 1 กมุ ภาพันธ์ 2564.
46 พ ระพุ ท ธ ไส ย าส น์ ตั้ งอ ยู่ ด้านหลังพระปรางค์ ลักษณะเป็นพระนอน ปูนขนาดใหญ่อยู่ทางทิศตะวันออกและหัน พระเศียรไปทางทิศใต้ พระองค์ท่ีเห็นอยู่ใน ปัจจุบันสร้างครอบพระนอนองค์เก่าสมัย ลพบุรี ซ่ึงของเดิมทำด้วยทรายแดงนอน ตะแคงขวายกพระหัตถ์รองรับพระเศียร มี การซ่อมโดยการให้เหลก็ ผูกลัดไว้มีบางส่วน ท่ีฉาบปูนไว้ นอกจากน้ียังมีรอยของแผ่นไม้ ที่พยุงองค์พระไว้ตอนพอกปูนแสดงให้เห็น วา่ การซอ่ มคร้ังหลังยงั ไมแ่ ล้วเสร็จ การซอ่ มพระพุทธไสยาสนย์ งั ไม่แลว้ เสร็จมาจนถงึ ปจั จบุ ัน เจดีย์ก่ออิฐถือปูน ทรงระฆังกลมต้ัง เรียงกันแต่ละองค์ประกอบไปด้วยฐานส่ีเหลี่ยม ฐานบัวกลมและมาลัยเถาสามช้ัน องค์ระฆังกลม ส่วนยอดจะมีบัลลังก์ส่ีเหลี่ยมรองรับปล้องไฉน และมียอดเป็นศิลปะสมัยอยุธยาปัจจุบันยังมีให้ เห็นอยู่ 2 องคอ์ ยู่ดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ หอพระพุทธบาทจำลอง ด้านในจะ มีพระพุทธรูปต่างๆท่ีพบภายในบริเวณวัด รอย พระพทุ ธบาทจำลอง คณุ ค่าทัง้ รปู ธรรมและนามธรรม
47 รูปธรรม: วัดอรัญญิกาวาส เป็นวัดเก่าแก่สร้างข้ึนในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่นอก กำแพงเมืองราชบุรีไปทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ในบริเวณท่ีราบของท้องทุ่งเขางู ปูชนียวัตถุที่ สำคัญ ได้แก่ พระพุทธไสยาสน์ เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหลังพระปรางค์ นอกระเบียงคต แกนเปน็ หินทรายแดงปจั จุบันถกู โบกปนู ทับ ลกั ษณะของพระพุทธไสยาสนป์ ระทับบน ฐานส่ีเหล่ียมในลักษณะตะแคงด้านขวายกพระหัตถ์ขวาขึ้นรองรับพระเศียร และมีหมอนทรง สามเหลี่ยมรองรับพระกรอีกทีหน่ึง เป็นศิลปะสมัยกรุงศรีอยุธยา พระปรางค์ สร้างขึ้นเม่ือ ปี พ.ศ. 2030 – 2035 ลักษณะเป็นพระปรางค์ก่ออิฐถือปูนศิลปะแบบอยุธยา มีปรางค์ประธานขนาดใหญ่ ต้ังอยู่ตรงกลาง ที่มุมมีปรางค์มุมขนาดเล็กท้ัง 4 ด้าน ปัจจุบันเหลืออยู่เฉพาะปรางค์มุมด้านทิศ ตะวันตกเฉียงใต้เพียงองค์เดียว ปรางค์ทั้งหมดล้อมรอบด้วยระเบียงคดที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหิน ทราย พุทธศิลปะแบบอยุธยา เจดีย์ เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูนทรงระฆังกลม 2 องค์ ตั้งอยู่ทางด้านหน้า ของวัด เป็นเจดีย์ศิลปะแบบลังกา ซ่ึงเป็นท่ีนิยมสร้างในศิลปะสุโขทัยและอยุธยา นอกจากนั้นยังมีกุฏิ ท่ีสวยงามตามแบบอย่างของสถาปัตยกรรมไทยในอดีตควรค่าแก่การบูรณะไว้เป็นมรดกทาง ศิลปวฒั นธรรม ดงั น้ัน นักท่องเที่ยวจะได้ชมงานศลิ ปกรรม โบราณสถาน โบราณวตั ถุสมัยสุโขทัย และ มรดกทางศลิ ปวัฒนธรรมท่ีทรงคุณค่าและหาดยู าก นามธรรม: ภายในวัดอรัญญิกาวาสมีพระพุทธไสยาสน์ เป็นพระนอนยาว ประมาณ 30 วา สร้างขึ้นครอบพระนอนหินทรายแดงยาวประมาณ 15 วา ที่เช่ือกันว่าสร้างมาในสมัย พ.ศ. 2030-2035 ปลายสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพระบรมราชาธิราชท่ี 3 - พระรามาธิบดีที่ 2 สมัย อยุธยาตอนต้น การสร้างพระพุทธไสยสาสน์ดังกล่าวของวัดอรัญญิกาวาส มีอิทธิพลมาจากคติการ สร้างพ ระพุ ท ธรูป ป างไส ยาส น์ ห รือป างป รินิ พ พ าน ก็เพ่ื อให้ พุ ท ธศาส นิ กชน ได้ รำลึกถึ งการเสด็ จ ปรินิพพานขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ขณะเดียวกันก็เพ่ือเป็นอนุสติเตือนใจให้ดำรงตนอยู่ในความไม่ ประมาท สังขารท้ังหลายเป็นสิ่งไม่เท่ียง แม้กระท่ังพระพุทธองค์ก็ยังเล่ียงไม่พ้น โดยยึดสาระสำคัญ สุดท้ายของคำสอนพระพุทธเจ้าท่ีมีต่อพระอานนท์ก็คือ “อานนท์ เราเคยบอกเธอแล้วมิใช่หรือว่า บุคคลย่อมต้องพลัดพรากจากสิ่งท่ีรักที่พึงใจเป็นธรรมดา หลีกเล่ียงไม่ได้ อานนท์ ชีวิตนี้มีความพลัด พรากเป็นท่ีสุด ส่ิงท้ังหลายมีความแตกไป ดับไป สลายไปเป็นธรรมดา” ดังน้ัน นักท่องเที่ยวจะได้ สักการะพระพุทธไสยาสน์และได้พุทธานุสติ ต้ังอยู่ในอปั ปมาทธรรม ดำรงตนอยู่สติในการพูดและการ กระทำ พฒั นาตนในหลกั ธรรมอื่น ๆ ยิ่ง ๆ ขึน้ กิจกรรม กิจกรรมพิเศษประจำปี: พิธีทำบุญ ตักบาตร ปฏิบัติธรรม ในวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา กจิ กรรมประจำวนั : สวดมนต์ ไหว้พระ ปฏบิ ตั ธิ รรม
48 กิจกรรมการท่องเที่ยว: สักการะ ขอพรพระพุทธไสยาสน์ ชมโบราณวัตถุ และ โบราณสถาน สงิ่ อำนวยความสะดวก : ลอนจอดรถ หอ้ งน้ำ ปา้ ยชท้ี างเข้าถึง สถานทีท่ อ่ งเท่ียวใกล้เคยี ง สถานท่ีท่องเที่ยวใกล้เคียงวัดอรัญญิกาวาส เข่น วัดมหาธาตุวรวิหาร (ห่างจากวัด อรัญญิกาวาส 4.9 กม.), วัดหนองหอย (ห่างจากวัดอรัญญิกาวาส 8.5), วัดพญาไม้ (ห่างจากวัด อรัญญิกาวาส 4.8 กม.), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร (ห่างจากวัดอรัญญิกาวาส 4.9 กม.), วัดคงคาราม (ห่างจากวัดอรัญญิกาวาส 26.2 กม.), วัดขนอน (ห่างจากวัดอรัญญิกาวาส 27.8 กม.), วดั ปา่ พระธาตเุ ขานอ้ ย (ห่างจากวัดอรญั ญิกาวาส 62.4 กม.), อุทยานหินเขางู (ห่างจากวัดอรญั ญิกา วาส 3.7 กม.),ถ้ำฤๅษี (ห่างจากวัดอรัญญิกาวาส 3.8 กม.), ถ้ำฝาโถ (ห่างจากวัดอรัญญิกาวาส 4 กม. ), ถำ้ จนี (หา่ งจากวดั อรญั ญิกาวาส 4.3 กม.), ถ้ำจาม (ห่างจากวัดอรัญญกิ าวาส 4.3 กม.) เป็นต้น เสน้ ทาง/การเดินทาง เส้นทางการเดินทางมาที่วัดอรัญญิกาวาส เริ่มจากแยกเขางู ใช้ทางหลวงหมายเลข 3087 ไปทาง อำเภอจอมบึงประมาณเกือบ 3 กม. พบทางแยกเข้าวัดทางขวา ให้เลี้ยวเข้าไป 300 ม. ************************** เสน้ ทางสายโบราณสถาน/โบราณวตั ถุ ในเมืองรอง (ภาคใต)้ เส้นทาง สายโบราณสถาน/โบราณวัตถุ คือเส้นทางที่ประกอบด้วยพระเจดีย์ (พระธาตุ) โบสถ์ วิหาร ปราสาท พระปรางค์ พระพทุ ธรูป หอไตร มีปรากฏในวดั ท่องเท่ยี วเมอื งรองภาคใต้ ดงั นี้ เจดีย์ มี 1. วดั พระบรมธาตุสวี อ.สวี จ.ชมุ พร 2. วัดชลธาราสงิ เห อ.ตากใบ จ.นราธวิ าส
วั ด พ ร ะ บ ร ม 49 ธาตสุ วี พระบรมธาตุสวี อ.สวี จ.ชมุ พร เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ของ จังหวัดชุมพร มีลักษณะทาง วัดชลธาราสิงเห สถาปัตยกรรมเป็นรูประฆัง อ .ต าก ใบ จ . คว่ำคล้ายพระบรมธาตุเจดีย์ นราธิวาส นครศรีธรรมราช พระอุโบสถ เป็น ศลิ ปะแบบรตั นโกสินทร์ สรา้ ง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ. 2430 หลังคาซ้อน 3 ชัน้ มีช่อ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบัน ประดับลวดลายปูนป้ัน เป็น รปู พระอนิ ทรท์ รงชา้ งเอราวณั วดั พระธาตสุ วี จัวหวัดชมุ พร ชน้ั /ทตี่ งั้ : ชน้ั : วดั พระธาตสุ วี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยตุ กิ นกิ าย ท่ีตัง้ : ตำบลสวี อำเภอสวี จังหวัดชุมพร 86130 ข้อมูลการติดต่อ : - โทร. 081- 087- 6539 - เฟสบุค๊ : วัดพระบรมธาตุสวี ประวัตคิ วามเปน็ มา
50 วดั พระธาตุสวีในปัจจุบัน เดิมเป็นวัดร้าง๔๒ ประมาณปีพ.ศ. 1803 กองทัพอโยธยา ได้ยก ทัพลงมารุกรานอาณาจักรนครศรีธรรมราชในสมัยของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชท่ี 8 และได้ปะทะกัน ท่ีเมืองกำเนิดนพคุณ (อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) กองทัพทั้งสองฝ่ายต่างรบพุ่งกันไม่ สามารถแพ้กันได้อย่างเด็ดขาด จึงทำสญั ญาสงบศึกต่อกัน พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชก็นำเสด็จทัพกลับ ขณะท่ีพักกองทัพอยู่ ณ วัดร้างเก่าแก่แห่งหน่ึงในเขตอำเภอสวีปัจจุบัน ซึ่งมีเพียงเจดีย์ชำรุดพังทลาย เป็นท่ีสังเกต ได้มีฝูงกามาจับกลุ่มวีปีก (กระพือปีก) อยู่ท่ีกองอิฐเจดีย์นั้น และมีกาเผือกตัวหนึ่งอยู่ใน ฝูงด้วย ส่งเสียงร้องเซ็งแซ่ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชทรงเห็นเป็นการผิดปกติ จึงให้ทหารรื้อกองอิฐ เจดีย์ ปรากฏว่าพบฐานเจดีย์ใหญ่ เม่ือขุดภายในองค์พระเจดีย์นั้น ได้พบผอบทองคำบรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุ จึงรับสั่งให้ทำการบูรณะเจดีย์จนเสรจ็ เรียบร้อย และโปรดให้จัดงานสมโภชเจดีย์ 7 วัน 7 คืน พร้อมทั้งพระราชทานนามเจดีย์นั้นว่า “พระธาตุกาวีปีก” ต่อมาคำว่า “ปีก” ถูกตัดหายไปเรียก กันว่า “พระธาตุกาวี” และก่อนท่ีจะเสด็จยกทัพกลับทรงห่วงใยพระบรมธาตุว่าจะไม่มีผู้ดูแลรักษา พระองค์จึงสั่งให้ตัดศีรษะนายทหารผู้หน่ึงมีช่ือว่า “เมือง” เซ่นสรวงบูชาไว้ในศาลเพียงตา ศาลน้ีจึง ได้รับการขนานนามว่า “พระเส้ือเมือง” ให้เป็นผู้เฝ้ารักษาอยู่คู่พระธาตุสวี สืบมาในปัจจุบัน๔๓ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2375) เกิดเมืองสวีข้ึน พระ ธาตุแห่งนี้จึงได้ช่ือว่า “พระธาตุสวี” อย่างเป็นทางการตั้งแต่นั้นมา ในปีพ.ศ. 2555 สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานผ้าห่มพระบรมธาตุสวเี ป็นคร้ังแรก ทั้งนี้ชาวอำเภอส วีได้จัดกิจกรรมสืบสานประเพณีวัฒนธรรมแห่ผ้าห่มพระบรมธาตุสวี เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ส่งเสริมให้ เป็นงานประเพณีท่ีคงอยู่คู่กับชาวอำเภอสวีและอำเภอใกล้เคียงต่อไป โดยจัดในวันอาสาฬหบูชาเป็น ประจำทกุ ปี พระธาตสุ วีเปน็ ปูชนียสถานที่สำคัญของชุมชน เน่ืองจากมีพระบรมสารรี กิ ธาตบุ รรจุอยู่ใน เจดีย์๔๔ ประชาชนในท้องถิ่นมีความศรัทธา และให้ความเคารพพระธาตุในฐานะส่ิงศักด์ิสิทธิ์ คู่บ้านคเู่ มอื งของชาวอำเภอสวแี ละอำเภอใกลเ้ คียง สงิ่ ที่นา่ สนใจภายในวดั พ ระบรม ธาตุสวี เป็นโบราณสถาน ที่เก่าแก่ของจังหวัดชุมพร มี ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ๔๒ สัมภาษณ์ พระครจู นั ทปญั โญภาส, เจ้าอาวาส วดั พระธาตสุ วี, 3 กมุ ภาพันธ์ 2564. ๔๓ สัมภาษณ์ พระครูจนั ทปญั โญภาส, เจา้ อาวาส วัดพระธาตสุ ว,ี 3 กมุ ภาพันธ์ 2564. ๔๔ สมั ภาษณ์ พระครจู ันทปัญโญภาส, เจ้าอาวาส วดั พระธาตุสวี, 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2564.
51 สถาปตั ยกรรมเป็นรูประฆังคว่ำคล้ายพระบรมธาตุเจดยี ์นครศรีธรรมราช แต่มขี นาดเล็กกว่า เจดีย์เป็น ฐานส่ีเหล่ียมจตุรัส กว้างด้านละ 8.50 เมตร แต่ละด้านประดับด้วยเสาหลอก 6 ต้น เจาะซุ้มตกแต่ง ดว้ ยปูนปั้นรูปช้างโผล่ศีรษะและขาหน้าค้ำเจดีย์อยู่ด้านละ 3 ซุ้ม ยกเว้นด้านทิศใต้มีบันไดทางข้ึนจึงมี รูปช้างเพียง 2 ซุ้มสลับกับรูปยักษ์ปูนปั้นถือกระบองที่มุมฐานเจดีย์ทั้งส่ีด้านมีเจดีย์จำลอง ลักษณะ เลียนแบบองค์พระบรมธาตุประดับอยทู่ ้งั สมี่ มุ ฐานชั้นบนเปน็ ฐานสเี่ หลยี่ มจตุรัสลอ้ กับฐานชั้นลา่ ง แต่ ละด้านตกแต่งด้วยเสาหลอกด้านประดับเจดีย์จำลอง ถัดข้ึนไปเป็นมาลัยแก้วและองค์ระฆังทรงกลม เหนือองค์ระฆังเป็นเสาก้านฉัตร บัวถลา ปล้องไฉนทำเป็นบัวถลาซ้อนกัน 7 ชั้น บนสุดเป็นปลียอด และเม็ดน้ำค้าง ศาลพระเสื้อเมือง เดิม เป็นอาคารไม้ก่อเปน็ โรงเรือนปดิ ทึบ ขาดความสวยงามตอ่ มากรมศลิ ปกร ร่วมกับวัดพระธาตุสวีได้บูรณ ะ อ อ ก แ บ บ อ าค ารให ม่ ทั้ งห ม ด เนื่องจากอาคารของเดิมโครงสร้าง หลังคา ถูกปลวกและแมลงกัด ทำลายจนไม้หมดสภาพการใช้งาน ก ร ะ เบื้ อ งห ลั ง ค า ร่ั ว แ ต ก ร้ า ว โดยทั่ วไป ผนั งก่ออิฐแต กร้าว ทั้งหมด กรมศิลปกรจึงได้ออกแบบ อาคารศาลพระเสื้อเมืองใหม่ เพื่อให้สภาพภูมิสถาปัตยกรรมทั่วไปสอดคล้องกับพระธาตุสวี อาคาร พระเส้ือเมืองหลงั ใหม่เป็นอาคารทรงไทยหลังคาจว่ั หลังคามงุ กระเบื้องดินเผาเคลือบสี ผนงั ก่ออิฐฉาบ ปูน ดา้ นหน้ามีราวระเบยี งลวดบัว และลูกมะหวดซีเมนต์ พ้ืนอาคารปดู ้วยแผ่นหินออ่ น สำหรับเจ้าพ่อ เส้อื เมือง เป็นประติมากรรมปนู ปน้ั อิทธพิ ลศลิ ปะจีน พิพิธภัณฑ์วัดพระ บรมธาตุสวี สร้างข้ึนเมื่อปีพ.ศ 2558 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็น แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ และเช่ือมโยงกบั พระบรมธาตุสวี รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบ ศรีวิชัยอาคารด้านหน้าจัดแสดง
52 พ เร่ืองราวความเป็นมาของพิพิธภัณฑ์ ส่วนอาคารด้านหลังจัดแสดงเร่ืองราวต่าง ๆ อาทิ ประวัติพระ บรมธาตุสวี และศาลพระเส้ือเมือง พระเจ้าศรีธรรมโศกราช และตำนานพระบรมธาตุสวี พร้อมชม โบราณวตั ถุทสี่ ำคญั คือ ยอดพระบรมธาตุ และเพชรน้ำคา้ งช้ินเดิมท่ีทำด้วยรปู ปูนปั้นและพระพุทธรูป ต่าง ๆ ท่ีถูกค้นพบในบริเวณพระธาตุ นอกจากนี้ยังมีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ในสมัยโบราณ รวมทั้งวิถชี วี ิตตา่ ง ๆ ของชาวบา้ นอกี ดว้ ย ระพุท ธ รู ป สุพรร ณรังสี พระพุ ทธรูป หิ น ทราย โบ รา ณ คณุ คา่ ทง้ั รูปธรรมและนามธรรม รูปธรรม: วัดพระธาตุสวี เป็นแหล่งสักการะพระธาตุ และแหล่งศึกษาเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ของจังหวัดชุมพร นักท่องเที่ยวจะได้สักการะพระบรมธาตุสวี ซ่ึงเป็นท่ีรวมพลังศรัทธา รวมพลังจิตใจ รวมพลังศักด์ิสิทธ์ิ มีคุณค่าทางจิตใจ เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวอำเภอสวีและพ้ืนท่ี อำเภอใกล้เคียง ซ่ึงสามารถเดินทางมาสักการบูชาได้ตลอดทั้งปี รวมถึงนักท่องเท่ียวสามารถเดินทาง มาสัมผัสกิจกรรมท่องเท่ียวได้ในวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมปฏิบัติธรรม กิจกรรมพักผ่อนหย่อนใจ และกจิ กรรมสืบสานประเพณวี ฒั นธรรมแห่ผา้ ห่มพระบรมธาตสุ วี นามธรรม: พระบรมธาตุสวี คอื พระเจดียศ์ ักด์ิสทิ ธิ์คู่กบั จงั หวัดชุมพร เป็นสัญลักษณ์ แห่งยิ่งใหญ่และความดีงาม เป็นศูนย์รวมแห่งคณุ ความดีหลายอย่าง เช่น กตญั ญูกตเวทติ าธรรม (คน ไทยส่วนใหญ่สำนึกในคุณความดีของบรรพบุรุษ จึงสร้างเจดีย์เป็นที่บรรจุอัฐิธาตุ แม้ท่านเหล่าน้ันจะ เสียชีวิตไปแล้ว ลูกหลานก็ยังอยากท่ีจะยกย่องเชิดชู ประกาศคุณความดีของตนให้โลกรู้ เป็นการ แสดงกตัญญูกตเวทิตาธรรม) ศรัทธา (เจดีย์ท่ีสำคญั ในประเทศไทยลว้ นมพี ระบรมสารีริกธาตุของพระ สัมมาสัมพุทธเจา้ บรรจุอยู่ หรือมีพระบรมธาตุ) นักท่องเทีย่ วนอกจากจะได้กราบไหว้บูชาเจดีย์แลว้ ได้ ความรสู้ ึกเหมอื นกบั วา่ ได้ส่ิงศกั ดิส์ ิทธิค์ อยคุ้มครองปอ้ งกันอันตราย มสี ิรมิ งคลอยู่ในตัวแล้ว ยังได้ชอ่ื ว่า บูชาพระธรรมคำสอนทม่ี พี ระเจดีย์เป็นตวั แทน แล้วน้อมนำไปประพฤตปิ ฏบิ ัตเิ พอื่ ชวี ติ ที่ดีย่งิ ข้นึ
53 กจิ กรรม กจิ กรรมพิเศษประจำปี: งานแหผ่ ้าห่มพระบรมธาตุสวี ตรงกับวนั อาสาฬหบชู าเป็นประจำ ทุกปี กจิ กรรมประจำวนั : สวดมนต์ ไหวพ้ ระ ปฏิบตั ธิ รรม กิจกรรมการท่องเที่ยว: สักการะพระธาตุสวี, ชมพิพิธภัณฑ์วัดพระบรมธาตุสวี แหล่ง รวบรวมขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์ทงั้ หมดภายในวัดเพือ่ ศึกษาเรยี นรู้ประวตั ิศาสตร์ของวัด สงิ่ อำนวยความสะดวก: ลานจอดรถ หอ้ งนำ้ ปา้ ยสัญลกั ษณช์ ้ีทาง สถานที่ทอ่ งเทย่ี วทีใ่ กล้เคยี ง สถานที่ท่องเท่ียวที่ใกล้เคียงวัดพระธาตุสวี เช่น วัดพระธาตุถ้ำขวัญเมือง (ห่างจากวัด พระธาตุสวี 8 กม. ), สวนนายดำ (ห่างจากวัดพระธาตุสวี 25 กม.), ถ้ำเขาเกรียบ (ห่างจากวัดพระ ธาตุสวี 60 กม. ), บ่อนำ้ พุร้อนถ้ำเขาพลู (หา่ งจากวดั พระธาตุสวี 63.4 กม.) เป็นต้น เสน้ ทาง/การเดินทาง วัดพระธาตุสวีตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำสวี ห่างจากตัวเมืองประมาณ 47 กิโลเมตร ตามทางหลวง หมายเลข 41 ชุมพร-หลังสวน แล้วแยกซ้ายไปตามถนนลาดยาง ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตรก็จะ ถึงพระธาตุสวี รถยนต์ส่วนตัวจากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 35 และให้เล้ียวซ้ายที่ทางต่าง ระดับวังมะนาว เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 4 ขับต่อไปจนถึงจังหวัดชุมพร และให้เปล่ียนเส้นทางไปยัง ทางหลวงหมายเลข 41 และขับตรงไประยะทางประมาณ 34 กิโลเมตร ให้กลับรถที่ใต้สะพานข้าม แม่นำ้ สวี ขับไปอกี 500 เมตร จุดหมายอยู่ทางดา้ นซ้ายมอื ********************************** วดั ชลธาราสงิ เห จงั หวัดนราธิวาส ชน้ั / ท่ีตงั้ ช้ัน: วัดชลธาราสิงเห เป็นพระอารามหลวงช้ันพิเศษ สงั กดั คณะสงฆ์มหานิกาย ทีต่ ้งั : หมทู่ ี่ 3 ตำบลเจ๊ะเห ริมฝงั่ แม่น้ำตากใบ อำเภอตากใบ จงั หวัดนราธิวาส 96110 ขอ้ มลู การตดิ ตอ่ : - โทร. 073-581-238 - เฟสบุค๊ : วดั ชลธาราสิงเห พระอารามหลวง ประวัตคิ วามเปน็ มา
54 วัดชลธาราสิงเหเดิมชื่อว่า \"วัดท่าพรุ\" หรือ \"วัดเจ๊ะเห\" เร่ิมสร้างต้ังแต่ปลายสมัย รัชกาลท่ี 4 ปีพ.ศ. 2403๔๕ ซึ่งสมัยน้ันมาเลเซียถูกเรียกว่า “มลายู” เป็นเมืองข้ึนของอังกฤษ ในขณะ ทฝี่ ั่งกลันตนั น้ีเป็นของไทย ในอดีตเมื่ออำเภอตากใบยังเป็นส่วนหน่ึงของรัฐกลันตนั ในครั้งน้ันพระคุณ โอภาสพทุ ธคุณ (พุด) ได้เดินทางมาถงึ บริเวณดังกล่าว เห็นวา่ พืน้ ท่ีเป็นป่ากว้างว่างเปล่าไมม่ ีผู้คนอาศัย ท่ีดินตดิ ริมแม่น้ำตากใบมีทิวทัศน์สวยงามและเหมาะสมต่อการสร้างวัด พระคุณโอภาสพุทธคุณ (พุด) จึงขอท่ีดินเพื่อจะสร้างวัดจากพระยากลันตัน ต่อมาขุนสมานธาตุวฤทธิ์ นายอำเภอคนแรกของตากใบ ได้เปล่ียนชื่อวัดเป็น “วัดชลธาราสิงเห”๔๖ วัดชลธาราสิงเหมีส่วนเก่ียวพันกับกรณีแบ่งแยกดินแดน ตากใบระหว่างประเทศสยาม (ไทย) กับประเทศมลายูซึ่งเป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษในขณะน้ัน โดยที่วัดนี้มีบทบาทสำคัญทางประวัติศาสตร์ช่วงท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเขตแดน๔๗ จากสนธิสัญญา อังกฤษ–สยาม ปีพ.ศ. 2452 ซ่ึงตรงกับในสมัยรัชกาลที่ 5 อังกฤษได้พยายามที่จะผนวกจังหวัด นราธวิ าสให้เข้าไปเป็นสว่ นหน่ึงของสหภาพมาลายาด้วย โดยอา้ งการปักปันเขตแดนโดยใชส้ ันเขาและ แมน่ ้ำเปน็ แนวตามหลักสากล เข้ามาถึงบ้านปลกั เล็กเลยจากวัดชลธาราสงิ เห 25 กิโลเมตร ซึง่ เส้นแบ่ง เขตแดนรัฐ กลันตันกับประเทศไทยจะอยทู่ ่ีตำบลบ้านสะปอม ในเขตอำเภอเมืองและอำเภอตากใบใน ปัจจุบัน แต่รัฐบาลสยามได้ยกเอาพระพุทธศาสนา วัด และศิลปะในวัดเป็นเคร่ืองต่อรองการแบ่งปัน เขต สดุ ท้ายองั กฤษยอมจำนนต่อเหตผุ ล และยอมรบั ให้เป็นจังหวัดนราธิวาสในประเทศไทยต่อไป โดย ใช้แม่น้ำโก-ลกตรงบริเวณท่ีไหลผ่านเมืองตากใบ (แม่น้ำตากใบ) เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ซ่ึงมีผลให้ 4 อำเภอชายแดนไทย คือ อำเภอตากใบ อำเภอแว้ง อำเภอสุไหงปาดี และ อำเภอสุไหงโก-ลก ไม่ต้อง ผนวกเป็นส่วนหนึ่งของประเทศมาเลเซีย วัดชลธาราสิงเหจึงเป็นท่ีรู้จักในอีกนามหน่ึงว่า \"วัดพิทักษ์ แผ่นดินไทย\"๔๘ วัดชลธาราสิงเห ไดร้ ับการยกข้ึนเป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันท่ี 22 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 กรมศิลปากรได้ประกาศข้ึนทะเบียนวัดชลธาราสิงเหเป็นโบราณสถานของ ชาติเม่ือวันท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2516 และได้ดำเนินการบรูณะปรับภูมิทัศน์โบราณสถานอย่าง ตอ่ เนือ่ งมาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2527 มาจวบจนปจั จบุ ัน สงิ่ ทีน่ า่ สนใจภายในวดั พ ระอุ โบ ส ถ เป็ น ศิ ล ป ะ แ บ บ รัตนโกสินทร์ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ. 2430 หลังคา ๔๕ สัมภาษณ์ พระครูโอภาสชลธาร, เจา้ อาวาส วัดชลธาราสงิ เห, 7 กมุ ภาพันธ์ 2564. ๔๖ สมั ภาษณ์ พระครโู อภาสชลธาร, เจ้าอาวาส วดั ชลธาราสิงเห, 7 กุมภาพนั ธ์ 2564. ๔๗ สัมภาษณ์ พระครูโอภาสชลธาร, เจ้าอาวาส วัดชลธาราสงิ เห, 7 กุมภาพันธ์ 2564. ๔๘ สัมภาษณ์ พระครูโอภาสชลธาร, เจา้ อาวาส วัดชลธาราสงิ เห, 7 กุมภาพันธ์ 2564.
55 ซ้อน 3 ชั้น มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบัน ประดับลวดลายปูนป้ัน เป็นรูปพระอินทร์ทรงช้าง เอราวัณ ภายในพระอุโบสถประดิษฐานพระประธานเป็นรูปปางมารวิชัยภายในซุ้มเรือนแก้ว จิตรกรรมฝาผนังเป็นสีฝุ่น เขียนโดยพระภิกษุชาวสงขลา ลายเทพชุมนุม ภาพวิถีชวี ิตความเป็นอยู่ของ ชาวชนบทภาคใต้ในอดีต ไตรภูมิ และลำดับภาพพุทธประวัติ เร่ิมจากมุมด้านทิศใต้มาทางทิศ ตะวันออก โดยแบ่งฝาผนังในแนวตั้งเป็น 4 ช่องเสา ในแต่ละช่องเสายังแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ บน กลางและล่าง ตอนบนสุดเป็นวทิ ยาธร ต่อมาเปน็ เทพชุมนุม 1 ชน้ั น่ังประณมหตั ถถ์ อื ดอกไม้ ถดั ลงมา เป็นช่องสี่เหล่ียมซ้อนกัน 2 ช้ัน เขียนภาพพุทธประวัติเร่ิมต้ังแต่ตอนลาพระนางยโสธราและราหุล แล้วเรียงลำดับเร่ืองจนถึงตอนประทับรอยพระพุทธบาท ด้านหน้าพระประธานมีภาพตอน พระพทุ ธเจา้ เสด็จลงจากดาวดงึ ส์ เป็นภาพขนาดใหญ่ ผนังด้านลา่ งเปน็ พ้ืนทวี่ า่ งมีแตภ่ าพมณฑปเหนือ เศียรพระ เพดานเขียนลายบนพื้นแดง และยังเป็นท่ีประดิษฐานพระประธานปิดทองท้ังองค์ ทำให้ไม่ เห็นลักษณะเดิมท่ีพระโอษฐ์เป็นสีแดง พระเกศาเป็นสีดำ ประดิษฐานอยู่บนบุษบกทรงสอบสูง 1.5 เมตร จากลักษณะบุษบก สันนิษฐานว่าเป็นพระมอญ ตามผนังประดับด้วยเครื่องถ้วยสังคโลกจาก ประเทศจีน กุฏิสิทธิสารประดิษฐ์ หรือ กุฏิ พระครูสิทธิสารวิหารวัตร (อาคารพิพิธภัณฑ์ วัดชลธาราสิงเห) สร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2498 โดยพระครูสิทธิสารวิหารวัตร เป็นอาคารไม้ ยกพ้ืนสูง หลังคาทรงป้ันหยามุงกระเบ้ืองดิน เผา มีหลังคาซ้อนกันหลายช้ัน ตรงยอด หลังคาและปลายมุมหลังคาทำเป็นรูปตัวนาค และหางหงส์ ภายในกุฏิตกแต่งด้วยภาพ จิตรกรรม เช่น บริเวณหน้าบันเป็นภาพพระ พุทธประวัติตอนปรินิพพาน บานประตูเป็น ภาพทวารบาล ฝ้าเพดานตกแต่งด้วยรูปพระอาทิตย์ พระจันทร์และเหล่าเทวดา ปัจจุบันได้รับการขึ้น ทะเบียนจากกรมศิลปากรให้เป็นพิพธิ ภณั ฑสถานวัดชลธาราสิงเหเพ่ือเกบ็ โบราณวัตถุชิ้นสำคญั ของวัด กุฏหิ ลงั น้ีใชเ้ ปน็ อาคารพิพธิ ภัณฑว์ ดั ชลธารา สิงเหตง้ั แต่ ปพี .ศ. 2553 กุฏิพระครูวิมลถาปนกิจ สร้าง ขึ้นในปีพ.ศ. 2482 เป็นกุฏิไม้ยกพ้ืนสูง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของกุฏิสิทธิสาร ประดิษฐ์ หลังคาทรงป้ันหยามุงกระเบื้องดิน
56 เผา มีไม้ฉลุประดับหลังคา ตอนหน้าเป็นมุข หลังคามุขประดับช่อฟ้าและหางหงส์ ภายในกุฏิตกแต่ง ดว้ ยจิตรกรรมแสดงฝีมือช่างพื้นถ่นิ ภาคใต้ เช่น รูปพระจันทรท์ รงราชรถเทียมม้า และพระอาทิตย์ทรง ราชรถเทยี มราชสหี ์ เปน็ ตน้ วหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ ตั้งอยู่บริเวณ หน้าเจดีย์ เป็น วิหารคลุมพระไสยาสน์มีขนาดกว้าง 5.90 เมตร ยาว 9.90 เมตร สร้างโดยพระครูสิทธิ สารวิหารวัตรเมื่อปี พ.ศ. 2484 ภายในวหิ าร มีพระพุทธไสยาสน์ประดิษฐานอยู่ตอนท้าย ของวิหารโถงและติดกบั ฐานเจดีย์เป็นอาคาร เครื่องก่อ มีฝาผนังทั้งสี่ด้าน มีประตูทางเข้า ทางทิศตะวันตก (สันนิษฐานว่าอาคารโถง น่าจะเป็นการต่อเติมในสมัยหลัง) องค์พระ พุทธไสยาสน์เป็นพระพุทธรูปปูนป้ัน ประดับด้วยกระจกสีทองโดยประทับอยู่บนนาค ประดิษฐานอยู่ ในคูหาทีป่ ระดบั ดว้ ยเครื่องถว้ ยยโุ รป จีน และ ญ่ีปนุ่ หอพระนารายณ์ เป็นอาคารเคร่ืองก่อ ขนาด 5.45 เมตร ยาว 6.30 เมตร มีมุขขนาด กว้าง 3.40 เมตร ยาว 4.06 เมตร มีหน้าต่างด้านละ 1 ช่อง ทางด้านหน้าทางทิศตะวันออกมีประตู 3 บาน หลังคาทรงมณฑป 4 ชั้นยอดแหลม มุงกระเบ้ืองดินเผาเกาะยอ ฐานสี่เหล่ียมก่ออิฐ มุมหลังคา แต่ละช้นั ประดับดว้ ยหัวนาค ส่วนยอดของหลังคาหลอ่ ด้วยปูนซเี มนต์ ตรงหน้าบนั มีจารกึ “ปฏสิ งั ขรณ์ พ.ศ. 2499” เพดานมุขมี 2 ห้อง ตกแต่งลวดลายเป็นภาพดวงดารา ภายในมณฑปมีรูปพระนารายณ์ 4 กร บนฐานชุกชีมีพระพุทธรูปปางมารวิชัย 3 องค์ เพดานด้านในประธานตกแต่งลายดวงดารา พื้น หลงั ประดับด้วยภาพผีเส้ือ หงส์ ชอ่ ดอกไม้และดาวดวงเลก็ ๆกระจายอยู่ทวั่ ไป พ้ืนหลงั มีสขี าว ตกแต่ง ลวดลายดอกไม้ร่วง คอสองเป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ คานตกแต่งลายก้านปู ด้านนอกมีการตกแต่งลาย เขียนสีและประดับกระจก กรมศิลปากรได้เข้ามาบูรณะตัวหลังคาและโครงสร้างหอพระนารายณ์ในปี พ.ศ. 2541 เจดีย์ เป็นเจดยี ์ก่ออิฐถือปูนทรงระฆังบนฐานส่ีเหล่ียม ขนาด 4.55 เมตร ยาว 5.50 เมตร ทรงฐานสูงมีลานประทักษิณรอบเจดีย์ มีพนักก้ันเป็นขอบลายประทักษิณ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นสมัย ครูจันทร์เป็นเจ้าอาวาส (ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2456 - 2462) แต่สร้างไม่เสร็จ จากนั้นมา สร้างอีกคร้ังในปี พ.ศ. 2484 ลักษณะตัวเจดีย์เป็นทรงระฆังก่ออิฐถือปูนบนฐานทรงสี่เหล่ียมทรงสูง
57 ล้อมรอบด้วยลานประทักษิณ ต่อข้ึนไปเป็นบัลลังก์ ก้านฉัตร ไม่มีเสาหาน แล้วเป็นแผ่นปล้องไฉนลด หลั่นกนั ไปเปน็ รูปทรงกรวยจนถึงปลยี อดและลูกแกว้ พลับพลาท่ีประทับในรัชกาลท่ี 6 สร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกล้าเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ 6 ได้เสด็จประพาสวดั ชลธาราสงิ เห และทรงโปรดเกลา้ ฯให้สร้างพลับพลาริม แม่น้ำตากใบเป็นท่ีประทับ เพื่อสำหรับทอดพระเนตรการแข่งเรือยาวในอดีต ซึ่งปัจจุบันยังคงอยู่ใน สภาพท่ีสมบูรณ์ เปน็ พื้นที่ริมแมน่ ้ำสำหรับนักทอ่ งเท่ยี ว โดยสามารถชมทัศนียภาพรอบของแม่น้ำตาก ใบ และยงั สามารถมองเห็นเกาะยาวของจังหวดั นราธวิ าสได้ หอระฆังจตุรมุข ตั้งอยู่บริเวณหมู่กุฏิสิทธสิ ารประดิษฐ์ เดิมเป็นหอไตรกลางน้ำ เม่ือชำรุด จึงได้ย้ายมาสร้างบนบกและดัดแปลงกลายเป็นหอระฆัง โดยมีลักษณะเป็นอาคารไม้ สูง 2 ชั้น ยอด มณฑปมงุ กระเบ้อื งดินเผาประดับช่อฟา้ และหางหง หอระฆัง (หอกลอง) ภายในวัดชลธาราสิงเห มีหอระฆัง 2 หลัง โดยหอระฆังทางด้าน ตะวันออกของกุฏิเจ้าอาวาสมีลักษณะเป็นหอระฆัง 3 ช้ัน หลังทรงมณฑป ฝาผนังหอระฆังชั้นบนเป็น ฝาไม้ มีช่องหน้าต่างขนาดเล็ก มีลวดลายประดับคล้ายฝาผนังกุฏิเจ้าอาวาส โดยภายในหอระฆังมี ระฆัง 2 ใบ ศาลาธรรม เป็นสถาปัตยกรรมศิลปะภาคใต้และผสมอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมจีน มีการตกแต่งดว้ ยใบระกา หางหงส์และปูนปัน้ คณุ คา่ ทง้ั รปู ธรรมและนามธรรม รูปธรรม: วัดชลธาราสิงเห เป็นวัดเก่าแก่สร้างข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 เป็นวัดท่ีมีความสำคัญกับประวัติศาสตร์ของชาติไทย มีลักษณะพหุลักษณ์ ทางศิลปกรรมที่มีมายาวนาน เหมาะสมต่อการเป็นหล่งเรียนรู้ สืบเนื่องจากเป็นวัดเก่าแก่มีคุณค่าทาง วิชาการ และมีมรดกศิลปะอันภาคภูมิใจของท้องถ่ิน ภายในบริเวณวัดมีส่ิงก่อสร้างทางพุทธศาสนา ศลิ ปะฝมี ือแบบไทยปักษใ์ ต้ เปน็ จุดเดน่ และงดงามหลายช้ิน เชน่ พระอโุ บสถทส่ี รา้ งในสมัยรัชการที่ 5 มภี าพจิตรกรรมฝาผนังทงี่ ดงามและถ่ายทอดรปู แบบชีวติ วัฒนธรรมความเป็นอย่ทู อ้ งถิ่นปักษใ์ ต้ไว้โดด เด่น นอกจากนั้นยังมีศาลาธรรมเก่าแก่เป็นศิลปะปักษ์ใต้ผสมสถาปัตยกรรมจีน โดยอาคาร สถาปัตยกรรมแต่ละหลังจะมีเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่น เป็นสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานความเป็นพุทธ มุสลิม และจีน ภูมิทัศน์รอบวัดเป็นบรรยากาศริมน้ำ นักท่องเที่ยวสามารถมาสร้างประสบการณ์ ท่องเที่ยว โดยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วัดแห่งน้ี ชมพิพิธภัณฑ์ท่ีมีความสำคัญต้ังแต่สมัยอดีต นอกจากนั้นภายในวัดชลธาราสิงเหยังมีบรรยากาศทางธรรมชาติให้นักท่องเท่ียวได้เรียนรู้อีกมากมาย เช่น มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์และเป็นพื้นที่อนุบาลสัตว์น้ำจากป่าชายเลนท่ีปลูกริมชายฝ่ัง แม่น้ำของบริเวณวัด มีสภาพแวดล้อมและธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรชายฝ่ัง ซ่ึง จัดเป็นส่วนหนงึ่ ในการอนุรักษว์ ถิ ชี ีวิตดั้งเดมิ ของภาคใตต้ อนลา่ งของประเทศไทย เปน็ ตน้
58 นามธรรม: วัดชลธาราสิงเหเป็นวัดหนึ่งที่มีมรดกศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า เป็น สถาบันศาสนาที่สำคัญในพ้ืนที่ชายแดนภาคใต้ เป็นแหล่งท่องเท่ียวศิลปวัฒนธรรมที่มีนักท่องเท่ียว เดินทางมาเย่ียมชมจำนวนมาก คนในชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ มกับกิจกรรมต่าง ๆ ปัจจบุ ันบรรยากาศใน วัดจะเงียบสงบเหมาะแก่การหนีความวุ่นวาย ทำจิตใจให้สงบ อีกทั้งยังมีส่ิงก่อสร้างศิลปะแบบไทย ภาคใต้เป็นจุดเด่นและงดงาม อาทิ ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภายในพระอุโบสถ ซึ่งเป็นเรื่องพระเจ้าสิบ ชาติและเรื่องความเป็นอยู่ของคนในสมัยน้ัน ศาลาการเปรียญ ศิลปะแบบใต้ผสมกับสถาปัตยกรรม แบบจีน สวยงามแปลกตา พระวหิ าร หลังเกา่ ดา้ นหลังวดั ผนังประดับด้วยเคร่ืองถ้วยสังคโลกทีเ่ ก่าแก่ และมีรูปป้ันพระนารายณ์สก่ี ร และ พระพุทธไสยาสน์ จงึ นับไดว้ ่ามีคุณค่าสำหรบั นักทอ่ งเท่ยี วทว่ั ไปได้ เรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ร่วมปฏิบัติศาสนกิจ (สำหรับผู้นับถือศาสนาพุทธ) และพัฒนา ตนเองให้เจรญิ ตามหลักไตรสิกขา คอื ศีล สมาธิ และปัญญา กจิ กรรม กิจกรรมพิเศษประจำปี: ทำบุญประเพณีวันสงกรานต์วันที่ 13 เมษายน ของทุกปี กจิ กรรมประจำวนั : ไหวพ้ ระ สวดมนต์ ปฏบิ ตั ิธรรม และเทศนาธรรมในวนั พระ กิจกรรมการท่องเที่ยว: สักการะ ขอพร ชมพระอุโบสถเก่าท่ีสร้างข้ึนในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว จิตรกรรมฝาผนังที่มคี วามงดงามและถ่ายทอดรูปแบบชีวิต วัฒนธรรมความเป็นอยู่ท้องถ่ินของชาวใต้, ศาลาธรรมรุ่นเก่าที่มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมภาคใต้ ผสมอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมจีน, วิหารเก่าท่ีมีประติมากรรมปูนปั้นรูปพระนารายณ์ 4 กร วัตถุ โบราณเก่าแก่ เช่น เคร่ืองถ้วยชามสมัยราชวงศ์ซ้อง, พระพุทธปางไสยาสน์ที่มีพญานาคสองตัวทำ หน้าทค่ี อยป้องกนั เป็นตน้ สิง่ อำนวยความสะดวก: ลานจอดรถ หอ้ งน้ำ ปา้ ยสัญลักษณ์ชที้ าง สถานทท่ี ่องเท่ยี วทีใ่ กล้เคยี ง สถานท่ีท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียงวดั ชลธาราสิงเห เช่น วัดเขากง (ห่างจากวัดชล ธาราสิงเห 31 กม.), วัดโกลกเทพวิมล (ห่างจากวัดชลธาราสิงเห 29 กม.), เกาะยาว “สะพานคอย 100 ปี” (ห่างจากวัดชลธาราสงิ เห 700 ม.), ด่านตากใบ (ห่างจากวดั ชลธาราสิงเห 1.2 กม.), ด่านสุ ไหงโก-ลก (ห่างจากวัดชลธาราสิงเห 27.82 กม.), อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว (อ่าวมะนาว) (ห่าง จากวดั ชลธาราสงิ เห 28 กม.) เป็นตน้ เสน้ ทาง/การเดนิ ทาง การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 4084 นราธิวาส-ตากใบ ถึงสี่แยกตลาดอำเภอ ตากใบ เลี้ยวซา้ ย 100 เมตร จะถึงปากทางเขา้ วัด หรือนง่ั รถโดยสารประจำทางเส้นที่จะไปอำเภอตาก
59 ใบ มีรถสองแถว รถตู้ และรถบัส ขึ้นที่สถานีขนส่งนราธิวาส ลงสามแยกอำเภอตากใบ เดินเข้าไปอีก 500 เมตร ******************************************
60 คณะนกั วิจยั หวั หนา้ ชุดโครงการวจิ ัย, หัวหนา้ โครงการวจิ ัยยอ่ ยที่ 1 1. พระมหาทวี มหาปญโฺ ญ (ละลง), ผศ. ดร. หวั หนา้ โครงการวจิ ยั ยอ่ ยที่ 2 2. ดร.อุดม จนั ทมิ า หัวหน้าโครงการวจิ ัยย่อยท่ี 3 3. ดร.กรรณิการ์ ขาวเงิน หัวหน้าโครงการวิจัยยอ่ ยท่ี 4 4. ผศ. ดร.สุนทราภรณ์ เตชะพะโลกุล นักวจิ ยั 5. พระมหาวฒั นา ปญฺญาทีโป (คำเคน), ดร. 6. พระมหาณัฐพงษ์ ฐติ ปญฺโญ (นาคถ้ำ), ดร. 7. ดร.แมช่ เี บญจวรรณ วงษ์ชแู ก้ว 8. ดร.วิไลพร อ่นุ เจา้ บา้ น 9. ดร.คชาภรณ์ วรวงศพ์ ิสิฐกลุ 10. ดร.ลาวัณย์ บรรเจดิ รุ่งขจร 11. นายชยั ณรงค์ ขาวเงิน 12. นายบดินทรภ์ ทั ร์ สายบุตร 13. นายพชรวีร์ ทองประยรู
61
Search