Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Description: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Search

Read the Text Version

เศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ



การคา ระหวา งประเทศ เกิดขึน้ มาจากการที่ประเทศทง้ั หลายในโลกมที รัพยากร มาก-นอย แตกตา งกัน การผลติ สนิ คา ของแตละประเทศจงึ มีตน ทุน การผลติ แตกตา งกนั ประเทศใดสามารถผลิตสนิ คาทีเ่ ปน ที่ตอ งการและจําหนา ย ในราคาทีแ่ ขง ขันกบั ประเทศอ่ืนได ก็สามารถสรา งรายไดเขา ประเทศมาก ซ่ึงการจะขายสนิ คาไดม ากนอ ยเพยี งใดสง่ิ สาํ คัญขึ้นอยู กบั ปจ จัยการผลติ ท่มี อี ยขู องแตละประเทศ

ประโยชนของการคา ระหวา งประเทศ • ชว ยเปดโอกาสใหแ ตล ะประเทศสามารถบรโิ ภคสนิ คา และบริการไดห ลากหลาย สรางรายไดเขาประเทศจาํ นวนมหาศาล • พฒั นาเศรษฐกิจใหม กี ารขยายตัวอยางรวดเรว็ • ผผู ลิตมกี ารพัฒนาคุณภาพสินคา และบริการใหด ีข้ึนอยเู สมอ • ตนทุนในการผลติ สินคา และบรกิ ารจะลดลง • ราคาของสนิ คา และบริการจะถกู ลง • ผูบรโิ ภคสามารถเลอื กซ้ือสนิ คา และบรกิ ารไดห ลากหลาย มรี าคาถกู และคุณภาพดี

นโยบายการคาระหวา งประเทศ นโยบายการคา เสรี • เปนนโยบายทเี่ ปด ใหมีการติดตอ คา ขายไดโดยเสรี • ไมม อี ุปสรรคในเร่อื งของภาษี ในการคาขายระหวา งประเทศ นโยบายคมุ ครอง • เปน นโยบายทร่ี ัฐเขา มาแทรกแซงในอุตสาหกรรม บางประเภท • มีการใชมาตรการตางๆ เพอื่ รกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ • การดําเนินการของรฐั มีหลายลกั ษณะ เชน การจัดเก็บภาษี นาํ เขา-สงออก การหามนาํ เขา การกําหนดโควตานําเขา



การลงทนุ การลงทนุ มีความสาํ คญั ตอ การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ • ชวยกระตนุ เศรษฐกิจ ทําใหเ ศรษฐกิจขยายตวั • ชวยสรางรายไดเ ขาประเทศอยา งมาก

การใหก ูย มื และการลงทนุ ในหลักทรพั ย • แรงจงู ใจทท่ี าํ ใหผลู งทุนตัดสนิ ใจใหการกูยมื หรอื ลงทนุ ในหลกั ทรพั ย ในตา งประเทศ คอื อตั ราผลตอบแทนทค่ี าดวาจะไดรับมากกวา การ ลงทุนในประเทศ • การลงทนุ ทําไดหลายลกั ษณะ เชน การซื้อพันธบตั ร การซือ้ เงนิ ตรา ตา งประเทศ เปน ตน • การลงทุนมีความเสี่ยงสูงเนื่องจากความผนั ผวนทางเศรษฐกิจที่ เปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็ว

ตัวอยาง นายเดวิดนาํ เงนิ มาลงทุนซ้ือพันธบตั รไทย มูลคา 50,000 บาท โดยอัตราแลกเปล่ียนขณะน้นั เทากบั 25 บาท ตอ 1 ดอลลาร มูลคาพนั ธบัตร ในขณะนนั้ จงึ เทากบั 2,000 ดอลลาร ตอ มาคาเงนิ บาทแข็งตัวขนึ้ เปน 20 บาท ตอ 1 ดอลลาร มูลคา พนั ธบัตร จะ เทากับ 2,500 นายเดวิดกจ็ ะไดก าํ ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

การลงทุนโดยตรง • เปนการลงทุนทีบ่ รษิ ัทของประเทศหนง่ึ กอ ตั้งหรอื ขยายสาขาไปยงั อกี ประเทศหน่ึง • การลงทนุ มีลกั ษณะสําคัญอยูทก่ี ารโอนทรพั ยากรระหวางประเทศ และการเขาควบคมุ กิจการท่ีลงทนุ • แรงจงู ใจในการลงทุน คือ การไดรบั ผลตอบแทนสูงสุด และเพื่อ กระจายความเสยี่ งทางธุรกจิ • เปนการลงทุนในระยะยาว มักเกยี่ วของกับองคก รธรุ กจิ ขนาดใหญ คือ บรรษัทขา มชาติ

ตัวอยาง บรษิ ัทผลติ รถยนตรายใหญแหง หน่ึงของญี่ปนุ เขามาลงทุน สรา งโรงงานผลิตรถยนตในประเทศไทย เพราะเลง็ เหน็ วาเปนฐาน การผลติ ทส่ี ําคัญในภมู ภิ าคเอเชยี มีอตั ราคา จา งแรงงานถกู จงึ ชวย ลดตน ทุนการผลติ และเพมิ่ กําไร



เงินตราตา งประเทศ • การติดตอ คาขายระหวางประเทศ ผูซือ้ มักไมน ําเงินสกุลของตน ไปชําระเงนิ เพราะผขู ายมกั จะไมร บั จึงจาํ เปน ตองอาศัยเงินตรา ตา งประเทศทเี่ ปน ทย่ี อมรับทว่ั ไปมาใชใ นการชาํ ระ เรียกวา เงิน สกลุ หลกั เชน เงนิ ดอลลารส หรฐั เงนิ ยโู ร เงินปอนด เงนิ เยน



การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตางประเทศ • ประเทศตางๆ จะกําหนดกฎเกณฑใ นการซื้อขายเงินตราตางประเทศ เรียกวา ระบบอัตราแลกเปลี่ยน • หนว ยงานท่มี ีหนา ท่ีกํากบั ดูแลระบบอัตราแลกเปล่ยี น คอื ธนาคารกลาง • ระบบอตั ราแลกเปล่ยี นมี 2 ระบบ คอื ระบบอตั ราแลกเปลีย่ นคงที่ และแบบลอยตัว • ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ สวนใหญมักเปนแบบยดื หยุน • ระบบอตั ราแลกเปล่ยี นแบบยดื หยนุ อาจมีการแทรกแซงจากธนาคารกลาง เพือ่ รกั ษาเสถียรภาพทางเงนิ



ดลุ การชาํ ระเงนิ ผลสรุปของการทําธุรกรรมทางเศรษฐกิจ ระหวา ง ผูท่ีมถี ่นิ ฐานในประเทศ กับผทู ่มี ถี ่ินฐานในตา งประเทศ ใน ชวงระยะเวลาใดเวลาหนงึ่ ดุลการชาํ ระเงินประกอบดวย • ดุลบัญชเี ดินสะพัด • ดุลบญั ชีเงินทนุ

ดุลบญั ชเี ดินสะพดั ผลรวมสทุ ธขิ องดุลการคา ดลุ บรกิ าร ดลุ รายได และดุลเงินโอนและบริจาค • ดลุ การคา เปนผลตางสุทธิระหวางมูลคาสินคา ออก กับมลู คาสินคา เขา • ดลุ บรกิ าร เปนผลตา งสทุ ธทิ แ่ี สดงถึงการคา บรกิ ารระหวางประเทศ เชน คาขนสง คา ทองเทีย่ ว คา เครอื่ งหมายการคา • ดลุ รายได ประกอบดวยผลตอบแทนการจางงาน และรายไดจากการ ลงทนุ • ดลุ เงนิ โอนและบริจาค คอื เงินโอนหรือเงนิ ชว ยเหลือตางๆ ท่ีผมู ถี ่ินฐาน ในประเทศไดรับจากผูมถี ิน่ ฐานในตางประเทศ

ดลุ บญั ชเี งินทุน 1. บญั ชเี งินทนุ รายรับและรายจา ยทีเ่ กดิ จากการโอนยายทนุ ทง้ั ในรูป ตัวเงนิ และทไ่ี มใ ชต ัวเงิน เชน • ทุนใหเปลาในรูปสินคา ทนุ • การโอนทรัพยส นิ ถาวร • การยกเลิกหน้ี • การซอื้ ขายทรัพยส ินทไี่ มก อ ใหเ กิดการผลติ • ทรพั ยสินทางการเงิน เชน ทด่ี ิน สทิ ธบิ ัตร เครือ่ งหมายการคา

ดลุ บญั ชีเงนิ ทนุ 2. บัญชีการเงนิ ธุรกรรมท่ีกอ ใหเกดิ การเปลย่ี นแปลงในสินทรพั ยและหน้สี นิ ทางการเงินระหวางประเทศ ครอบคลุมไปถงึ การลงทุนโดยตรง จากตางประเทศ การลงทุนในหลกั ทรพั ย และการลงทนุ อื่นๆ



วิวฒั นาการการเปดเสรที างเศรษฐกจิ ของไทย • เรมิ่ ขึน้ ภายหลงั จากการทําสนธสิ ัญญาเบาวร งิ กบั อังกฤษในสมยั รชั กาลที่ 4 • การทาํ สนธสิ ัญญาเบาวร งิ สงผลใหไทยตองยกเลกิ การผกู ขาด ทางการคา ของ พระคลงั สนิ คา • มีการเปด ใหช าวตางชาติเขามาลงทุนอยางเสรี สง ผลใหไ ทยเขา เปนสวนหนึ่งของเศรษฐกจิ โลกจนถงึ ปจจบุ ัน

ปจ จยั ทมี่ ผี ลตอ การเปด เสรภี าพทางเศรษฐกจิ ของไทย 1. นโยบายสง เสรมิ การลงทนุ • รฐั บาลออก พ.ร.บ. สงเสรมิ การลงทนุ เพอ่ื กิจกรรอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2503 เงินลงทุนจากตางประเทศจงึ หลงั่ ไหลเขา มามากข้ึน • การเร่มิ ใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบับท่ี 1 เมือ่ พ.ศ. 2504 ทม่ี ุงสงเสริมการลงทนุ ภายในประเทศและลดการพงึ่ พาสนิ คา จาก ตา งประเทศลง • นับตง้ั แตแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 3 เปนตนมา รัฐมนี โยบายสง เสริมการ ลงทนุ เพ่ือสงออก มกี ารกําหนดพ้นื ที่ลงทนุ ที่จะไดรับสิทธิประโยชน การลงทนุ จากตางชาติจงึ เพิม่ มากข้ึน

2. ผลกระทบจากเศรษฐกจิ ภายนอก • การทําสนธสิ ัญญาเบาวร ิงกับองั กฤษ สง ผลใหไ ทยตอ งเปดประเทศใหต า งชาติ เขา มาลงทุนอยางเสรี • ในกรณีของประเทศญ่ปี ุนทตี่ องประสบภาวะคา เงนิ เยนแขง็ ใน พ.ศ.2528 สินคาสง ออกมรี าคาสูงขึ้น จงึ มีการยายฐานการผลติ ไปยังประเทศตางๆ ใน อาเซยี น ซ่งึ ไทยกไ็ ดรับประโยชนจากการหลง่ั ไหลของนักลงทุนตา งชาติ จาํ นวนมาก

3. การมีสว นรวมในระบบเศรษฐกจิ และการเมอื งของโลก • การเขา รว มเศรษฐกจิ โลกระดบั พหภุ าคี เชน ธนาคารโลก กองทุนการเงนิ ระหวางประเทศ • การเขา รว มกลมุ ระดบั ภมู ภิ าค เชน ประชาคมอาเซียน เขตการคา เสรอี าเซียนหรอื อาฟตา สมาชิกความรว มมอื ทางเศรษฐกจิ เอเชยี – แปซิฟก หรอื เอเปก • การเขา รว มกลมุ ระดบั อนภุ ูมภิ าค เชน กลมุ เศรษฐกิจ 3 ฝาย อนิ โดนเี ซยี – ไทย – มาเลเซยี โครงการความรวมมอื ทางเศรษฐกิจในอนภุ มู ภิ าคลุมแมน้าํ โขง

ผลดีจากการเปด เสรีการคาตอเศรษฐกจิ ไทย 1. ชวยใหเศรษฐกจิ มกี ารเจริญเตบิ โต 2. ทาํ ใหม กี ารตดิ ตอคาขายและการลงทนุ มากขนึ้ 3. กอ ใหเกิดการจัดสรรทรพั ยากรอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ชวยเพิม่ การผลิตและการสงออกมากข้ึน 5. มกี ารจา งงานเพิ่มข้นึ ประชาชนมรี ายไดเ พม่ิ ข้นึ

ผลกระทบจากการเปดเสรกี ารคา ตอเศรษฐกจิ ไทย 1. เกดิ การพงึ่ พาทางเศรษฐกิจอนั สง ผลตอ ราคาสินคาและอัตราเงนิ เฟอ ในประเทศ 2. เกดิ การครอบงาํ จากตางชาติ ทําใหผูประกอบการไทยเสียเปรียบทาง เศรษฐกิจ 3. เกดิ ความไมเ ปน ธรรมในการกระจายรายได 4. เกดิ ความเส่อื มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. สงผลใหกระทบตอ ภาคเกษตรกรรมทีต่ องแขง ขันกับประเทศอ่นื ๆ มากข้นึ 6. สง ผลกระทบตอ โครงสรางการผลติ ในภาคอตุ สาหกรรม 7. สงผลตอภาคการคา และบริการท้ังขนาดกลางและขนาดยอ ม



การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ มวี ัตถุประสงคเพอ่ื ประโยชนท างการคา เพอื่ ความ รว มมอื ในการแกไ ขปญ หา และรกั ษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจ มเี ปาหมายสาํ คญั เพอ่ื ลดและเลกิ อปุ สรรคทางการคาระหวา งกัน ทั้งดานภาษีและไมใชภ าษศี ลุ กากร

องคการการคา โลก ความเปน มา นโยบายทางเศรษฐกจิ • พัฒนามาจากขอ ตกลงทั่วไปวา ดวย • กําหนดใหใชมาตรการทางคา ระหวา ง พกิ ดั ประเทศโดยไมเลือกปฏบิ ตั ิ อตั ราภาษศี ุลกากรและการคา (GATT) • หามใชม าตรการจํากัดการนาํ เขา และ • กอตั้งในป พ.ศ. 2538 มีสํานกั งาน สง ออก ทกุ ชนิด ยกเวน กรณฉี ุกเฉินและ ใหญอยูท ีก่ รุงเจนวี า ประเทศ จาํ เปน สวติ เซอรแ ลนด • มกี ารรวมกลมุ ทางการคาเพอื่ ลดภาษี • มีวตั ถปุ ระสงค เพือ่ เปนเวทใี นการ ระหวา งกนั ได เจรจาลดอปุ สรรคและขอกดี กนั ทาง • มีกระบวนการยตุ ิขอพพิ าททางการคา การคา สนบั สนนุ ใหก ารคาโลกเปน ไป • ใหส ิทธิพิเศษแกป ระเทศกําลังพฒั นา โดยเสรีบนพื้นฐานของการแขง ขนั ที่ เทาเทียมกัน

สหภาพยโุ รป ความเปน มา นโยบายทางเศรษฐกจิ • เดมิ เรียกประชาคมยโุ รป (EEC) • ยกเลกิ ภาษีศุลกากร มาตรการจาํ กดั กอตงั้ ขึ้นในป พ.ศ. 2500 โดยกลมุ ปริมาณและคาธรรมเนียมทเ่ี กบ็ จาก ประเทศเบเนลกั ซ ฝรั่งเศส เยอรมนี การนําเขา -สง ออก ปรบั พิกัดอตั ราภาษี และอิตาลี ศุลกากร • มีวัตถปุ ระสงค เพอ่ื • ใชเงนิ ตราสกุลเดียวกัน เรยี กวา สกุล - ลดอปุ สรรคทางการคา ระหวา งกัน ยูโร และมีธนาคารกลางยโุ รปทาํ - รวมกนั ขจัดอปุ สรรคทางการคา หนาท่รี บั ผดิ ชอบนโยบายการเงนิ กับภายนอก - รักษาระดับดลุ การคา และทําให เศรษฐกจิ ขยายตัว

ขอ ตกลงการคา เสรอี เมรกิ าเหนอื ความเปน มา นโยบายทางเศรษฐกจิ • กอ ตง้ั ข้ึนในป พ.ศ. 2535 ประเทศ • ยกเลกิ ภาษศี ุลกากร ขยายโควตาการ สมาชกิ ประกอบดวย แคนาดา สงออก ไมน ํามาตรฐานความปลอดภัย สหรัฐอเมริกา และเมก็ ซโิ ก ของสินคา • มวี ตั ถปุ ระสงค เพ่ือ มาเปน ขออางกีดกันทางการคา - ลดอปุ สรรคทางการคาระหวา งกนั • ปอ งกนั การละเมิดทรพั ยส นิ ทางปญญา - คุมครองทรัพยสนิ ทางปญญา ขยาย • จดั ต้งั คณะกรรมการทาํ หนาท่ีเจรจา ศกั ยภาพการแขงขนั กับตลาดอ่นื และระงบั ขอ พิพาทดานมาตรฐาน - กระตนุ การเติบโตทางเศรษฐกิจและ สง่ิ แวดลอ ม สขุ ภาพ และความปลอดภัย การจางงาน • ใหค วามคุม ครองสินคาเกษตรแกประเทศ สมาชิกเปน พิเศษ

กลุมความรว มมอื ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชยี -แปซิฟก ความเปน มา นโยบายทางเศรษฐกจิ • กอตง้ั ในป พ.ศ. 2532 • พัฒนาและสง เสริมระบบการคาพหภุ าคี • มีวตั ถุประสงค เพือ่ • สนบั สนนุ การขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของ - สงเสริมความเจรญิ เติบโตทาง ภูมภิ าคและของโลก เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชีย-แปซิฟก • ลดอุปสรรคและอาํ นวยความสะดวก -พฒั นาและสง เสรมิ ระบบการคา ดา นการคา การบรอการ และการลงทนุ หลายฝา ย ระหวางประเทศสมาชกิ โดยใหส อดคลอง - ขยายความรวมมอื ในสาขาเศรษฐกจิ กบั กฎเกณฑข อง WTO ท่สี นใจรว มกัน • สงเสริมความรว มมือทางดานการเงิน - ลดอปุ สรรคดา นการคา และการ การคลงั ในการแกไขวิกฤติเศรษฐกจิ ลงทนุ ระหวา งกนั

ประชาคมอาเซยี น ความเปน มา นโยบายทางเศรษฐกจิ • กอ ต้งั ในป พ.ศ. 2510 • มงุ ใหเ กดิ การไหลเวียนอยา งเสรีของสนิ คา • เดมิ อาเซียนเนน ความรวมมือดา น การบรกิ าร การลงทุน เงินทุน การพฒั นา การเมืองเปนหลัก ตอมาจงึ เปลยี่ นไป เศรษฐกจิ เนน ความรวมมือดา นเศรษฐกิจ • ลดปญ หาความยากจนและความเหล่อื มลา้ํ • มีประเทศสมาชกิ 10 ประเทศ ทางสังคม • ในป พ.ศ. 2558 จะมีการจัดต้ังเปน • จดั ต้ังใหอ าเซยี นเปน ตลาดเดียวและเปน ประชาคมอาเซยี น ฐานการผลิต • ชว ยเหลอื ประเทศสมาชิกใหม เพ่อื ลดชอ งวา งระดับการพฒั นา • สงเสริมความรวมมอื ในนโยบายการเงนิ การพฒั นาโครงสรา งพืน้ ฐาน และการคมนาคม การพัฒนาความรว มมือ ดา นการเกษตร พลังงาน

กลมุ ประเทศผสู ง ออกนา้ํ มนั ความเปน มา นโยบายทางเศรษฐกจิ • กอ ตั้งในป พ.ศ. 2503 • มกี ารกาํ หนดโควตาการผลิตแก • มีวัตถุประสงค เพือ่ ประเทศสมาชิก ทําใหส ามารถ - เปนตวั กลางประสานงาน กําหนดราคานํ้ามัน ดา นนโยบายนาํ้ มนั ระหวางประเทศ ในตลาดโลกได ผูผลติ นาํ้ มัน ในการรักษาระดบั ราคา ใหมีความเปนธรรม - สรางความม่นั คงแก ประเทศผผู ลิตปโ ตรเลยี ม

ธนาคารระหวา งประเทศเพอื่ การบรู ณะและพฒั นาหรอื ธนาคารโลก ความเปน มา ประเทศไทยกบั ธนาคารโลก • กอตง้ั ในป พ.ศ. 2488 • พ.ศ. 2492 ไทยเขาเปนสมาชกิ ของ • มวี ตั ถุประสงค เพือ่ ธนาคารโลก - แกไ ขปญหาความยากจน • พ.ศ. 2493 ไทยไดร บั เงินกูกอ นแรก - ยกระดบั มาตรฐานความเปน อยู เพือ่ นาํ มาสรา งทางรถไฟ พฒั นาทาเรอื ของประชาชนในประเทศกาํ ลังพัฒนา โดย และพัฒนาระบบชลประทานลมุ แมน้ํา เนนใหเกดิ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม เจาพระยา ทยี่ ั่งยืน • พ.ศ. 2500-2501 ธนาคารโลกเขา มาชว ย จดั ทาํ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ตอ มาจงึ ไดเปน แนวทางการจดั ทําแผนพัฒนาเศรษฐกจิ แหง ชาติฉบับที่ 1 จนถึงปจจุบัน

ธนาคารเพอ่ื การพฒั นาเอเชยี ความเปน มา ประเทศไทยกบั ธนาคาร เพ่ือการพฒั นาเอเชยี • กอ ต้ังในป พ.ศ. 2509 • ไทยเปน ผรู ว มกอ ตั้งธนาคาร • มีวัตถปุ ระสงค เพอ่ื เพ่อื การพัฒนาเอเชีย และเปนผถู ือหุน - เปนแหลงเงินทุนสาํ หรบั ประเทศ รายใหญอ ันดบั ที่ 17 ในภูมภิ าคเอเชยี และแปซฟิ ก • ไทยใหความรวมมอื ในรปู แบบตา งๆ - มงุ ใหค วามสาํ คัญกับการแกไข เชน การสมทบเงินทนุ การใหความ ปญ หาความยากจนและพฒั นาคุณภาพ ชว ยเหลอื ทางเทคนิค การพฒั นาลุมน้าํ ชวี ติ เปนเปา หมายหลัก โขง เปน ตน - คํานงึ ถงึ การพัฒนาเศรษฐกจิ ควบคู กับการพัฒนาสงั คม

การประชุมสหประชาชาตวิ า ดว ยการคา และการพฒั นา ความเปน มา ประเทศไทยกบั องั คถ ดั • กอตง้ั ในป พ.ศ. 2507 • เปน หนง่ึ ในสมาชิกผูกอ ตัง้ และเปน • มีวัตถปุ ระสงค เพอ่ื หนึ่งในประเทศกําลังพัฒนา - เปน องคก รชาํ นญั พเิ ศษภายใต ท่มี ีบทบาทนาํ ในองคกรน้ี กรอบสหประชาชาตทิ ่ีเชอื่ มโยงมติ ิ • ใหความชวยเหลือประเทศตางๆ ใน ดานการพฒั นาเขา กับการคา ระหวาง เอเชยี เพ่ือยกระดับความสามารถ ประเทศ ในการปรับตัว เชน ลาว กมั พชู า พมา บงั กลาเทศ ปากสี ถาน - ใหความสาํ คัญกับการพฒั นา เพือ่ เสริมสรางขดี ความสามารถของ ประเทศกาํ ลงั พฒั นาใหพ รอ มและทนั ตอ การแขงขันในเวทเี ศรษฐกิจระหวา ง ประเทศ

เขตเศรษฐกจิ สามฝา ยอนิ โดนเี ซยี -มาเลเซยี -ไทย • มุงพัฒนาเศรษฐกิจบรเิ วณ 8 จงั หวดั ภาคใตของ ไทย ตอนเหนือและตะวนั ตกของมาเลเซีย และ เกาะสุมาตราของอินโดนเี ซยี • มีวัตถปุ ระสงค เพ่ือ - สงเสริมความสมั พนั ธทางเศรษฐกจิ ของ 3 ประเทศ ใหมกี ารใชท รพั ยากรรวมกนั อยา ง มปี ระสิทธิภาพและเกิดประโยชนส ูงสุด - มงุ เนน ใหม กี ารพัฒนาการเชือ่ มโยงดา น โครงสรา งพื้นฐาน

โครงการสเ่ี หลยี่ มเศรษฐกจิ หรอื โครงการความรว มมอื อนภุ ูมภิ าคลมุ นํา้ โขงตอนบน • เปนความรวมมือทางเศรษฐกจิ ระหวางมณฑลยูนนานของจีน พมา ลาว และไทย • มวี ตั ถุประสงค เพือ่ - รว มมือกันพัฒนาโครงสรา ง พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ เสน ทางคมนาคมทางบก ทางน้าํ ทางอากาศ - พัฒนาการทอ งเทย่ี ว การคา และการลงทนุ รว มกัน

ความรว มมอื ทางเศรษฐกจิ ในอนภุ าคลมุ แมน า้ํ โขง • เปน ความรวมมือของ 6 ประเทศ ที่แมน ้ําโขงไหล ผา นไดแ ก พมา ลาว ไทย กัมพูชา เวยี ดนาม และ มณฑลยนู นานของจีน • มีวตั ถปุ ระสงค เพื่อ - สง เสรมิ ใหเกดิ การขยายตัวทางดานการคา การลงทุน อตุ สาหกรรม การเกษตร - สนบั สนุน การจา งงานและยกระดบั ความ เปนอยูข องประชาชนใหดขี ้ึน - สง เสรมิ และพัฒนาความรวมมือทางเทคโนโลยี และการศึกษาระหวา งกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook