Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Description: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Search

Read the Text Version

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ไทย สมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น



เหตผุ ลของการตัง้ กรงุ รัตนโกสินทร์เป็นราชธานี • ท่ีต้งั กรงุ ธนบุรไี ม่เหมาะสม เพราะอยใู่ นท้องคุ้ง น้าเซาะตล่ิงพงั อยู่ เสมอ • บรเิ วณพระราชวังเดมิ ของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชคับแคบ ไม่สะดวกตอ่ การขยายพระราชวังให้กวา้ งออกไป • ฝง่ั กรุงเทพฯ มีชยั ภูมิเหมาะ เพราะมีแม่น้าเจา้ พระยาเปน็ คูเมืองท้ัง ดา้ นตะวันตกและด้านใต้ ประกอบกบั พื้นท่นี อกคูเมอื งเดมิ เป็นพื้นที่ ลุ่มทเ่ี กิดจากการตื้นเขินของทะเล ขา้ ศึกจะยกทพั มาด้านนี้ ไดย้ าก

แผนที่แสดงอาณาเขตของกรงุ รัตนโกสินทร์ สมัยรชั กาลท่ี 1

ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อความมนั่ คงและความเจรญิ ร่งุ เรอื ง พระปรีชาสามารถ ศนู ย์กลาง การมีลมมรสุม ของ ของอาณาจักร พดั ผา่ น ท้าให้ มเี สน้ ทางออก มฝี นตกชุก พระมหากษัตรยิ ์ สู่ทะเล การมีแม่นา้ หลาย การเปน็ ศูนย์ สายไหลผ่านออกสู่ รวมของการขยายตวั ปจั จัยทสี่ ่งผลตอ่ ทางด้านวฒั นธรรม ความม่ันคงและ ทะเลบรเิ วณ ความเจริญรงุ่ เรอื ง อ่าวไทย ของไทย



พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง • การบรหิ ารราชการแผ่นดินในสว่ นกลาง พระมหากษตั รยิ ์ กรม กรม กรม กรม กรม กรม มหาด กลา เมอื ง วัง ท่า นา ไทย โหม

• การบริหารราชการแผน่ ดินในสว่ นหัวเมอื ง การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในสว่ นหวั เมือง หวั เมืองช้นั ใน หัวเมอื ง หวั เมือง ชน้ั นอก ประเทศราช

• การบริหารราชการแผ่นดินในส่วนท้องที่ ยังคงประกอบด้วย หมู่บ้านหรือ บ้าน แต่ละหมู่บ้านจะมีผู้ใหญ่บ้านซ่ึงเจ้าเมืองแต่งตั้งเป็นหัวหน้า หลาย หมู่บ้านรวมเป็นต้าบล แต่ละต้าบล จะมีก้านันซึ่งเจ้าเมืองแต่งตั้งเป็นหัวหน้า หลายต้าบลรวมเป็นแขวง มีเจ้าแขวงเป็นหัวหน้าหลายแขวงรวมเป็นเมือง มี เจ้าเมืองเป็นผู้มีอ้านาจสูงสุดของเมืองนั้นๆ นอกจากนี้ ในการปกครอง บ้านเมืองยังมีการใช้กฎหมาย ที่เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง เป็นหลักเพ่ือ ความสงบเรยี บร้อยดว้ ย ภาพวาดรชั กาลท่ี 1 โปรดเกล้าฯ ให้ตรวจชาระกฎหมายขึ้นใหม่ เรียกวา่ กฎหมายตราสามดวง

พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ • การค้าภายในประเทศ ลักษณะเศรษฐกจิ เป็นแบบยังชพี โดยผลิตเพ่อื บรโิ ภคใน ครวั เรอื น หากเหลอื จึงนา้ ไปเสียภาษอี ากรให้แกท่ างราชการและนา้ ไปแลกเปลยี่ น ซอื้ ขายกนั • การค้ากับต่างประเทศ อย่ภู ายใต้การควบคมุ ของพระคลงั สินคา้ ที่ผกู ขาดการค้า กับตา่ งประเทศ จนกระท่งั สมัยรชั กาลที่ 3 ไทยทา้ สนธิสัญญาทางพระราชไมตรแี ละ การพาณิชยก์ ับอังกฤษ (ท่ีเรียกวา่ สนธิสัญญาเบอรน์ ีย์) และกบั สหรัฐอเมรกิ า ท้าให้ สนิ ค้าออกของไทย เชน่ ข้าว น้าตาล พริกไทย เป็นทต่ี อ้ งการของพ่อค้าต่างชาติ จา้ นวนมาก ภาพวาดรชั กาลท่ี 3 ทรงค้า สาเภาหลวง กบั ต่างประเทศ เพ่อื เพมิ่ พนู รายได้ให้แกป่ ระเทศ

พฒั นาการดา้ นสงั คม • โครงสร้างสงั คมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ พระมหากษตั รยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ ขนุ นาง • ทรงเปน็ พระประมขุ • เป็นเครอื ญาติของ • บคุ คลท่ีรบั ของราชอาณาจักร พระมหากษัตรยิ ์ ราชการแผ่นดิน ทรงไดร้ ับการยกย่อง มีศกั ดินาแตกต่าง มที งั้ ศกั ดินา ยศ ใหเ้ ป็นสมมตเิ ทพ กันไปตามฐานะ ราชทินนาม และทรงเปน็ และตา้ แหนง่ ธรรมราชา

ไพร่ ทาส พระภกิ ษสุ งฆ์ • ราษฎรที่ต้องถกู • บุคคลทีม่ ไิ ดม้ ี • บุคคลที่สืบทอด เกณฑ์แรงงาน กรรมสทิ ธใ์ิ น พระพทุ ธศาสนา ใหก้ ับทางราชการ แรงงานและชีวิต ซ่งึ ไดร้ บั การ ทง้ั ในยามปกติ ของตนเอง ยกย่องและ และยามสงคราม ต้องตกเปน็ ทาส ศรทั ธาจาก และต้องสังกดั ของนายจนกว่า บุคคลทกุ ชนชนั้ มูลนาย จะได้ไถ่ตัว

พัฒนาการดา้ นความสัมพันธ์กับรฐั เพ่ือนบา้ น ความสัมพนั ธก์ ับพม่า • ลักษณะความสมั พนั ธเ์ ป็นการเผชิญหนา้ ทางการทหาร โดยสงครามคร้งั สา้ คญั ที่สุด คือ สงครามเก้าทพั ใน พ.ศ. 2328 ซึง่ ตรงกบั สมัยรชั กาลที่ 1 • สมัยรชั กาลท่ี 2 และสมยั รชั กาลท่ี 3 แมค้ วามสัมพันธจ์ ะยงั เป็นการทา้ สงครามต่อกนั แตก่ ็ค่อยๆ ลดลงตามลา้ ดับ ท้ังนี้เพราะพมา่ ต้องหนั ไปเผชญิ หน้ากับการคุกคามของ ลัทธจิ กั รวรรดนิ ิยมตะวนั ตก คือ อังกฤษ พม่าจึงไมไ่ ดค้ กุ คามไทยอีก สมรภมู ทิ ่งุ ลาดหญ้า จ. กาญจนบรุ ี ซึ่งเปน็ สถานที่ท่ีมีความเกี่ยวข้องกับสงครามเก้าทพั

ความสมั พันธก์ บั ล้านนา พระเจ้ากาวิละ เจา้ เมอื ง • ลักษณะความสมั พนั ธ์เป็นพนั ธมติ รที่ดตี อ่ กัน เชียงใหม่ ทรงปกครองดูแล • สมัยรัชกาลที่ 1 ทรงสง่ กองทัพไปช่วยขับไล่ หวั เมืองเหนอื ทงั้ หมด พม่าออกจากลา้ นนา และชว่ ยปรบั ปรุงการ ปกครองภายในของลา้ นนาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ มากข้นึ ทรงสง่ เสรมิ และยกยอ่ งเจา้ เมอื งเชยี งใหม่ เช่น สถาปนาพระยากาวิละ ซึง่ รบชนะพมา่ ให้เปน็ พระเจ้าเชียงใหม่ • สมัยรชั กาลที่ 3 ทรงกระชับความสมั พนั ธ์ ใหแ้ นน่ แฟ้นมากข้ึน ดว้ ยการช่วยเหลอื กจิ การ ตา่ งๆ ในเมอื งเชยี งใหมใ่ หเ้ จริญก้าวหนา้

ความสมั พนั ธ์กบั ล้านช้าง • ลักษณะความสมั พันธม์ ีท้ังการเมือง การผูกไมตรี และ การเผชญิ หนา้ ทางทหาร • สมัยรชั กาลท่ี 1 ไทยสามารถขยายอทิ ธิพลเขา้ ไป ในล้านชา้ งไดม้ ากขึน้ (ซึง่ ลา้ นชา้ งแตกแยกเปน็ 3 ฝา่ ย คอื เวยี งจนั ทน์ หลวงพระบาง และ จา้ ปาศกั ด์ิ ต่างไม่ขนึ้ แก่กนั และตกเป็นประเทศราชของไทย มาตั้งแตป่ ลาย สมัยธนบุรจี นถึงตน้ รตั นโกสินทร์) • สมัยรัชกาลท่ี 3 เจ้าอนวุ งศ์แหง่ เวียงจนั ทนไ์ ดก้ อ่ กบฏขนึ้ เพื่อเป็นอสิ ระจากไทย แต่ไทยก็ปราบปรามลงไดใ้ น ท่สี ุด พระบรมราชานุสาวรยี ์เจา้ อนุวงศ์

ความสัมพนั ธก์ ับเขมร • ลักษณะความสมั พันธ์จะเป็นการเผชิญหนา้ ทางทหาร เพ่อื จะได้เขมรมาเปน็ รฐั กันชนระหว่างไทยกับญวน • สมัยรชั กาลท่ี 1 ไทยจดั การแตง่ ตั้งกษตั รยิ ์ขึน้ ปกครองเขมร • สมยั รัชกาลที่ 2 กษตั ริยเ์ ขมรหันไปฝกั ใฝญ่ วน ไทยจงึ เขา้ ไปแทรกแซง การเมอื งภายใน • สมยั รัชกาลที่ 3 ไทยกบั ญวนได้สรู้ บกนั ในดินแดนเขมร ผลการสู้รบปรากฏวา่ ไทยกบั ญวนปกครองเขมรรว่ มกนั ภาพวาดรชั กาลท่ี 3 โปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยาบดนิ ทรเดชายกทัพไปปราบญวน ทขี่ ยายอ้านาจเข้าไปในดินแดนเขมร

ความสัมพันธก์ บั หัวเมืองมอญ • ลกั ษณะความสัมพนั ธเ์ ป็นการผกู ไมตรแี ละอุปถมั ภพ์ วกมอญ • สมยั รัชกาลท่ี 1 ทรงน้ากองทพั ไปช่วยพระยาทวายรบกับพมา่ ทค่ี รอบครอง เมืองทวายไว้ • สมัยรัชกาลท่ี 2 ทรงอุปถัมภ์ชาวมอญทีอ่ พยพเขา้ มาโดยใหไ้ ปตั้งถ่นิ ฐานที่ แขวงเมอื งนนทบุรี ปทุมธานี และนครเขื่อนขันธ์(พระประแดง) • สมัยรชั กาลที่ 3 เมอื งมะรดิ ทวาย ตะนาวศรี ตกเปน็ ของอังกฤษ ไทยจึงไมย่ ่งุ เกย่ี วกับหวั เมืองมอญอกี ภาพวาดรัชกาลท่ี 1 ทรงน้าทพั ข้ามเขาตเี มืองทวายของมอญซึ่งอยูใ่ ต้ การครอบครองของพมา่ ใน พ.ศ. 2330

ความสมั พันธ์กบั ญวน พระบรมสาทิสลักษณพ์ ระเจ้า • ลักษณะความสัมพันธ์เป็นการเผชิญหน้า เวยี ดนามยาลองหรือองเชยี งสอื ทางทหารเพ่อื แยง่ ชิงดนิ แดนเขมร • สมัยรัชกาลที่ 1 ญวนเกิดกบฏไกเซิน (ไตเซิน) องเชยี งสอื ได้หลบหนพี วกกบฏมา พงึ่ ไทย • สมัยรัชกาลท่ี 2 ไทยกับญวนบาดหมาง กันเร่ืองเขมร เน่ืองจากเกิดความขัดแย้ง ภายในราชวงศ์เขมร ซ่ึงไทยกับญวนได้ สนับสนุนราชวงศเ์ ขมรแต่ละฝ่าย • สมัยรัชกาลที่ 3 ไทยกับญวนเร่ิมท้า สงครามกันด้วยเรื่องเขมร ผลจบลงท่ีท้ัง ไทยกบั ญวนรว่ มกนั ปกครองเขมร

ความสมั พนั ธ์กบั มลายู • ลักษณะความสัมพันธ์เป็นการขยายอิทธิพลไปครอบครองทั้งด้านการผูกมิตรไมตรี และการเผชิญหนา้ ทางทหารในบางครงั้ • สมัยรัชกาลที่ 1 ไทยเรมิ่ ขยายอิทธิพลเข้าครอบครองหัวเมืองมลายู และให้เจ้าผู้ครอง เชื้อสายเจ้าเมืองเดิมปกครองสืบต่อกันมา แต่มีบางเมือง คือ ปัตตานีได้ยกทัพมาตี สงขลา ไทยได้ยกก้าลังขับไล่และเข้ายึดปัตตานีได้ จึงแบ่งหัวเมืองปัตตานีออกเป็น 7 หัวเมือง และทรงให้ข้าราชการไทยไปปกครองหัวเมืองปัตตานี ส่วนหัวเมืองที่แบ่ง ออกใหม่กท็ รงให้คนไทยบ้าง ชาวมลายูบ้างไปปกครอง และอยู่ในความดูแลของเมือง สงขลา นอกจากน้ัน ยังโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมลายูปกครองเมืองไทรบุรี และหัวเมือง ต่างๆ ท่ีแบ่งแยกใหม่ และทรงพระราชทานอภัยโทษให้แก่เจ้าพระยาไทรบุรี (ปะแง รนั )พร้อมกับทรงอนุญาตใหก้ ลบั มาปกครองหัวเมืองไทรบุรีในฐานะเมืองประเทศราช ดังแต่ก่อน

พฒั นาการดา้ นความสัมพนั ธก์ ับจนี • ลักษณะความสัมพันธ์เป็นทางด้านเศรษฐกิจ เพ่ือ ภาพวาดเมอื งกวางตุ้ง ประตสู เู่ มอื งจนี ทเ่ี รอื ผลประโยชนท์ างการค้า ของราชทูตไทยตอ้ งมาขึ้นฝั่งทีน่ ก่ี อ่ นเดินทาง • การค้าขายกับจีนจะมีลักษณะพิเศษ ท่ีเรียกว่า ตอ่ ไปยังปักกงิ่ (ภาพวาดประมาณต้น การค้าแบบรัฐบรรณาการ โดยถ้ารัฐใดแต่งตั้งทูต รัตนโกสนิ ทร์ ในหนงั สอื The Opium War) พ ร้ อ ม กั บ น้ า เ ค ร่ื อ ง ร า ช บ ร ร ณ า ก า ร ไ ป ถ ว า ย จักรพรรดิจีน ราชส้านักจีนถือว่าเข้ามาอ่อนน้อม และใหก้ ารรับรองกษตั รยิ ข์ องรัฐน้ันๆ และอนุญาต ให้ซื้อขายกับจีนได้ แต่ไทยได้สร้างความสัมพันธ์ กับจีนก็เพื่อต้องการผลประโยชน์ ทางด้าน เศรษฐกิจเท่านั้น มิได้ คิดว่าจะต้อง อ่อนน้อมต่อ จีนแตอ่ ยา่ งใด

พัฒนาการด้านความสัมพันธก์ ับประเทศแถบตะวันตก ความสัมพนั ธ์กับโปรตุเกส • ลักษณะความสมั พันธเ์ ปน็ ด้านเศรษฐกจิ เพื่อผลประโยชนท์ างการค้า • สมัยรชั กาลท่ี 1 โปรตเุ กสสง่ ทูตมาเจรญิ สัมพันธไมตรี • สมัยรัชกาลท่ี 2 ผูส้ ้าเรจ็ ราชการโปรตเุ กสทเ่ี มืองมาเก๊าสง่ ทตู คุมเครือ่ งราช บรรณาการเขา้ มาถวายเพอ่ื ขอเจริญพระราชไมตรกี บั ไทย นอกจากน้ี รัชกาล ท่ี 2 ทรงอนญุ าตใหช้ าวโปรตุเกสเขา้ มาค้าขายในไทยได้ และตงั้ โรงต่อเรือท่ี หนา้ บ้านกงสุลโปรตุเกสด้วย

ความสัมพนั ธก์ บั อังกฤษ สนธสิ ัญญาเบอรน์ ยี ์ • ลักษณะความสัมพันธ์มีท้ังการทูต การค้า และการเมอื ง • สมัยรชั กาลท่ี 2 องั กฤษสง่ จอห์น ครอว์เฟิร์ด มาเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี ับไทย เพอ่ื เจรจาเรื่อง การค้า แต่ไมป่ ระสบความส้าเร็จ • สมัยรัชกาลที่ 3 อังกฤษส่งร้อยเอกเฮนรี เบอร์นีย์ เข้ามาเจรจากับไทย และได้ท้า ส น ธิ สั ญ ญ า ท า ง พ ร ะ ร า ช ไ ม ต รี แ ล ะ ก า ร พาณิชย์ หรือสนธิสัญญาเบอร์นีย์ระหว่างกัน เม่ือ พ.ศ. 2369 ต่อมาอังกฤษส่งเซอร์เจมส์ บรูค เข้ามาแก้ไขสนธิสัญญา เบอร์นีย์กับ ไทย แต่การเจรจาไมส่ ้าเรจ็

ความสมั พนั ธ์กับสหรัฐอเมรกิ า หมอบรัดเลย์ มชิ ชนั นารีอเมริกัน • ลกั ษณะความสัมพนั ธ์มที ้งั การค้า และ ผู้ได้ช่ือว่าเปน็ บิดาแห่งการพมิ พ์ และหนังสือพมิ พ์ของเมอื งไทย วัฒนธรรมผ่านทางคณะมิชชนั นารี • สมัยรชั กาลท่ี 2 ชาวอเมริกันเรมิ่ เขา้ มาคา้ ขาย และเข้ามามากขน้ึ ในสมัยรัชกาลท่ี 3 โดยเฉพาะ คณะมชิ ชันนารอี เมริกนั ทเี่ ขา้ มาเผยแพร่ความรู้ ดา้ นการพมิ พ์ และนา้ ความรทู้ างการแพทย์ สมัยใหม่เขา้ มา • นอกจากน้ี สมัยรชั กาลท่ี 3 สหรัฐอเมริกายงั สง่ เอดมนั ด์ รอเบติ ส์ เขา้ มาทา้ สนธสิ ญั ญาทาง พระราชไมตรีและการพาณิชย์กับไทย ซึ่งมี สาระสา้ คญั คล้ายกบั สนธสิ ญั ญาเบอรน์ ีย์



การอพยพเข้ามาของชาวจนี ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ สาเหตขุ องการอพยพออก ปจั จยั ท่ีทาใหช้ าวจีน นอกประเทศของชาวจีน อพยพเข้ามาในไทย การเมอื งภายใน ปัจจยั ดา้ นความอุดม ของจีน สมบรู ณ์และความสงบสุข ภัยธรรมชาติ ของแผ่นดินไทย การเพม่ิ จา้ นวน ปัจจยั จากการมชี ุมชน ของประชากร ชาวจีนขนาดใหญ่ในไทย

ผลของการอพยพเขา้ มาของชาวจีน ด้านการเพิม่ กาลังคน ซงึ่ ช่วยเพ่ิมแรงงานให้กบั เมอื งไทยในเวลาที่ฟ้นื ฟู บ้านเมืองได้เปน็ อยา่ งดี ด้านการปกครอง ชาวจนี อพยพบางคนไดม้ ีบทบาททางการปกครอง โดยเปน็ ขนุ นางไทย เช่น ชาวจนี ชอื่ เหยยี ง เปน็ พระยาสงขลา และ เปน็ ตน้ ตระกูล ณ สงขลา ด้านเศรษฐกิจ ชาวจีนอพยพประกอบอาชีพตา่ งๆ เช่น การคา้ ท้า สวนผกั เลย้ี งสัตว์ รวมถงึ เจ้าภาษนี ายอากร ซ่งึ มคี วามสา้ คญั ทาง เศรษฐกจิ ของไทย ด้านสงั คม ชาวจีนอพยพบางสว่ นได้ทา้ การละเมดิ กฎหมาย เช่น มกี าร รวมตัวกันเป็นอ้ังย่ีหรือสมาคมลับ และลักลอบซือ้ ขายฝ่นิ ส่งผลให้ชาว ไทยสูบดว้ ย ทางราชการจงึ ต้องออกประกาศห้ามการซื้อขายและสูบฝน่ิ

การจดั ระเบียบสังคมชาวจนี ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ให้ชาวจีนจา่ ยเงนิ ผกู ปี้แทนการ ในเมืองทม่ี ีชาวจนี อพยพอยมู่ าก เกณฑแ์ รงงาน ท้าใหม้ ีรายได้ ใหม้ กี รมการเมอื งหรอื เจ้าหนา้ ที่ และควบคมุ ชาวจนี ของเมอื งเป็นชาวจนี ด้วย กวดขนั ใหห้ ัวหน้าหรือเถ้าเก๋ ซ่งึ เป็น ในสมัยต่อมา คอื รชั กาลท่ี 5 ทรงให้ชาวจนี นายทุนชาวจีนทีร่ บั ชาวจนี อพยพ ตัง้ เป็นสโมสรการค้าเปน็ สมาคมในลักษณะอื่น เขา้ มา ให้ควบคมุ ดแู ลชาวจีนให้ดี ได้ ซึ่งตอ่ มาไดเ้ ป็นสมาคมผู้บ้าเพญ็ ประโยชน์ เชน่ สมาคมมูลนธิ ิร่วมกตัญญู



พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชกรณียกจิ สาคญั • ดา้ นการเมอื งการปกครอง - ทรงสถาปนากรุงเทพฯ เปน็ ราชธานี - ทรงสถาปนาราชวงศ์จักรี - โปรดเกลา้ ฯ ให้มีการชา้ ระกฎหมาย เรยี กวา่ กฎหมาย ตราสามดวง • ด้านความม่ันคง - ทรงปอ้ งกันราชอาณาจักรให้ปลอดภยั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในสงครามเก้าทพั • ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม - โปรดเกลา้ ฯ ให้สังคายนาพระไตรปฎิ ก - ทรงสนพระทัยวรรณคดี จงึ มวี รรณคดีท่สี ้าคัญหลายเรื่อง เชน่ รามเกียรต์ิ รวมถึงการแปลวรรณกรรมของต่างชาติ เช่น สามกก๊ และราชาธริ าช

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั พระราชกรณียกิจสาคญั • ด้านความมน่ั คง - โปรดเกลา้ ฯ ให้ครัวมอญไปตั้งภูมิล้าเนาที่แขวงเมอื ง ปทุมธานี เมอื งนนทบุรี และเมืองนครเข่ือนขันธ์ - โปรดเกล้าฯ ให้ไพรม่ ารบั ราชการ 1 เดอื น และอยู่ กับครอบครวั 3 เดือน - ทรงให้มีการตรากฎหมายห้ามสบู และซอ้ื ขายฝน่ิ • ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม - ทรงมีพระปรีชาสามารถดา้ นวรรณกรรมประเภทต่างๆ - โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระปรางคว์ ดั อรุณราชวราราม

พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อย่หู วั พระราชกรณยี กจิ สาคญั • ด้านความมนั่ คง - ทรงปอ้ งกันอาณาจักรดว้ ยการสกัดกองทพั ของ เจา้ อนุวงศ์ - ทรงประสบความสา้ เรจ็ ในการยตุ ิการสรู้ บระหว่าง ไทยกับญวน • ดา้ นการคา้ กับตา่ งประเทศ - ทรงสนับสนนุ การคา้ ทั้งกบั เอเชยี และยโุ รป - มกี ารลงนามในสนธสิ ัญญาเบอรน์ ยี ์ • ด้านศลิ ปกรรม - ทรงมีรบั สงั่ ให้สร้างเรือส้าเภาทีว่ ัดยานนาวา - โปรดเกลา้ ฯ ให้จารึกวรรณคดสี า้ คญั และวิชาการแพทย์ ลงแผน่ ศลิ า แลว้ ตดิ ไว้ตามศาลารายรอบบรเิ วณวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม