Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

Description: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

Search

Read the Text Version

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย

ความสาํ คญั ของรฐั ธรรมนูญ • ยืนยันความเปน เอกราช • รบั รองความเปน เอกรฐั • ยืนยนั วา ประเทศไทยมกี ารปกครองแบบระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุข • คมุ ครองศกั ดิ์ศรีความเปนมนษุ ย • ใหค วามคมุ ครองประชาชนอยาง เทา เทยี มกนั

หลักการสาํ คญั ทก่ี าํ หนดไวในรฐั ธรรมนญู • สงเสรมิ และคมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนอยา งเตม็ ท่ี เพ่ือเพิม่ สทิ ธขิ องประชาชนใหกวางขวางมากข้นึ ลดการผกู ขาดอาํ นาจรฐั และ การใชอาํ นาจรัฐอยา งไมเ ปน ธรรม • ลดการผกู ขาดอาํ นาจรฐั และการใชอ าํ นาจอยา งไมเ ปนธรรม เพอ่ื ลด การแทรกแซงการทํางานของขา ราชการและหนว ยงานภาครฐั เพ่อื การทาํ งานทอี่ ิสระ ปราศจากการครอบงาํ จากการเมอื ง

หลกั การสาํ คญั ท่ีกาํ หนดไวใ นรัฐธรรมนญู • ทาํ ใหการเมืองมคี วามโปรง ใส มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื ลด ปญหาการทจุ รติ คอรร ปั ช่นั • ทําใหระบบตรวจสอบมคี วามเขม แขง็ และทํางานไดอ ยา งมี ประสิทธภิ าพ เพ่ือใหอ งคอสิ ระที่จัดต้ังตามรัฐธรรมนูญได ทํางานอยางเปน อสิ ระ ไมถูกแทรกแซงจากภาคการเมือง

แนวทางการปฏิบัติตนตามรฐั ธรรมนญู • เขาไปมสี ว นรว มในกระบวนการทางประชาธิปไตยทกุ ระดบั ทัง้ ระดบั ทอ งถ่ิน และระดบั ชาติ เชน ไปใชส ทิ ธเิ ลือกต้งั กาํ นนั ผใู หญบา น สมาชิกองคก ารบริหาร สว นตาํ บล สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร เขารว มกจิ กรรมรณรงคเกยี่ วกับ ประชาธิปไตย เปนตน • ติดตามตรวจสอบการใชอ าํ นาจของสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรและผบู รหิ ารทกุ ระดบั อยา งใกลช ดิ เพ่อื ปอ งกันมใิ หใ ชอ าํ นาจรัฐเพ่อื ประโยชนสว นตัวหรอื ไป ในทางทจุ ริต • สนบั สนุนนักการเมอื งและพรรคการเมอื งทดี่ ี โดยการไปออกเสียงเลือกตงั้ นกั การเมอื งและพรรคการเมืองที่ดีเขาไปบริหารประเทศ

บทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนญู วาดว ยรฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล

รฐั สภา รฐั สภา สมาชกิ สภาผแู ทน วุฒิสภา 250 คน ราษฎร 500 คน แบบแบงเขต แบบบัญชี เลอื กต้งั กันเอง มาจากการ 350 คน รายชือ่ 150คน 50 คน สรรหา 200 คน ประธานรฐั สภา ประธานสภาผแู ทนราษฎร เปนประธานรัฐสภา ประธานวฒุ ิสภา เปน รองประธานรฐั สภา

คณะรฐั มนตรี คณะรฐั มนตรี พระมหากษตั รยิ ท รงแตงตง้ั คณะรฐั มนตรี ประกอบดว ย นายกรัฐมนตรี 1 คน แตง ตั้งจากสมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎรรฐั มนตรี ไม เกนิ 35 คน มาจากสมาชกิ สภาผูแทนราษฎรหรือไมกไ็ ด

คุณสมบัตขิ องรฐั มนตรี  มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ  มีอายไุ มต่าํ กวา 35 ปบ ริบูรณ  สําเรจ็ การศกึ ษาไมตํ่ากวา ปริญญาตรีหรอื เทยี บเทา  ไมเคยตอ งคาํ พพิ ากษาใหต อ งจําคุก โดยไดพ นโทษมายงั ไมถ งึ 5 ป ในวันเลือกตงั้ เวนแตในความผดิ อนั ไดกระทาํ โดยประมาท หรือความผดิ ลหโุ ทษ  ไมม ลี กั ษณะตอ งหา ม เชน ติดยาเสพตดิ เปนบคุ คลลมละลาย เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหอ อกจากราชการ หนว ยงานของ รฐั เพราะทุจริตตอ หนาที่

ศาล องคกรสาธารณะซ่งึ มีอาํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาอรรถคดี โดย ดาํ เนินการตามรฐั ธรรมนูญ แบง ออกเปน 4 ประเภท ไดแ ก ศาล ศาล ศาล ศาลทหาร รัฐธรรมนญู ยตุ ธิ รรม ปกครอง

บทบาทหนา ทข่ี องศาลรฐั ธรรมนญู พจิ ารณาวนิ ิจฉัยรา ง พิจารณาวนิ ิจฉยั พิจารณาวินจิ ฉยั พ.ร.บ.หรือรา ง พ.ร.บ. บทบัญญัตทิ ่ีศาล ปญหาเกย่ี วกบั ประกอบรฐั ธรรมนญู ท่ี จะใชบ งั คบั แกคดี อํานาจหนาทข่ี อง สภาผูแ ทนราษฎร ขดั หรือแยง ตอ องคกรตางๆ วุฒิสภา หรือรัฐสภา รฐั ธรรมนูญ ตามรฐั ธรรมนูญ แลวแตก รณี ใหความ เหน็ ชอบแลว แตย ังมไิ ด ประกาศในราชกจิ จา- นุเบกษา มีขอ ความขัด หรอื แยง ตอ รัฐธรรมนูญ

บทบาทหนา ทข่ี องศาลยตุ ธิ รรม พจิ ารณาพิพากษาคดที ัง้ ปวง เวนแตค ดที ่รี ัฐธรรมนูญหรอื กฎหมายบญั ญตั ใิ หอ ยใู นอาํ นาจของศาลอน่ื แบงออกเปน 3 ชน้ั - - - ศาลชนั้ ตน พิจารณารบั ฟอ งในชนั้ เร่ิมตนคดีทัง้ คดแี พง และคดอี าญา - ศาลอุทธรณ พิจารณาและพิพากษาคดี ที่คูความไดยืน่ อทุ ธรณ คําพพิ ากษาของ ศาลชนั้ ตน ซ่งึ ไมเ ห็นพองดว ยกับคําพพิ ากษาของศาลชน้ั ตน

บทบาทหนา ทขี่ องศาลยตุ ธิ รรม - ศาลฎกี า พจิ ารณาพพิ ากษาคดี ท่ี รัฐธรรมนญู หรือ กฎหมาย บัญญัติ ใหเ สนอตอศาลฎกี า ไดโ ดยตรง และ คดที ี่ อทุ ธรณ หรอื ฎกี า คาํ พิพากษา หรอื คาํ ส่งั ของ ศาลช้นั ตน หรอื ศาลอุทธรณ ตาม ที่กฎหมายบัญญตั ิ

บทบาทหนา ทข่ี องศาลปกครอง • พิจารณาพพิ ากษาคดปี กครอง ซึง่ เปน คดีพพิ าทระหวา งหนว ยราชการ หนว ยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ หรอื ราชการสวนทอ งถิ่น หรือเจาหนา ท่ี ของรัฐกบั เอกชน • พจิ ารณาขอพิพาทระหวางหนวยงานตางๆ ของรัฐหรอื เจาหนา ทีข่ อง รฐั ดว ยกนั เพอื่ ปกปอ งคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพ่ือ สรา งบรรทดั ฐานทถ่ี กู ตอ งในการปฏบิ ัติราชการ

บทบาทหนา ที่ของศาลทหาร • มีอาํ นาจ พจิ ารณาพพิ ากษาลงโทษผกู ระทาํ ความผดิ อาญาซึ่งเปน บคุ คลทอี่ ยใู นอาํ นาจศาลทหารในขณะกระทําผิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook