Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย

สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย

Description: สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย

Search

Read the Text Version

สมยั ก่อนสโุ ขทัยในดนิ แดนไทย

เรื่องราวสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ในดินแดนไทย หลกั เกณฑก์ ารแบ่งยคุ สมยั ก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นประเทศไทย 1. แบ่งตามเทคโนโลยกี ารทาเครอื่ งมอื เครื่องใช้ 2. แบง่ ตามลักษณะการดารงชีวิตของผู้คน คือ ยุคหนิ เก่ากับยคุ หินใหม่

การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภมู ิ • สุวรรณภมู ิเป็นชือ่ เดิมของดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ หรือโดยเฉพาะ ดนิ แดนท่ีเปน็ ประเทศไทย สวุ รรณภมู ิ แปลว่า “ดินแดนแหง่ ทองคา” หมายถึง ดนิ แดนท่มี ีความอดุ มสมบรู ณม์ ากเหมาะแกก่ ารตั้งหลักแหล่งของ ชุมชน • การขยายตวั ของชมุ ชนในสวุ รรณภูมิ มีลักษณะคลา้ ยกบั การขยายตวั ของ ชุมชนอนื่ ๆ คอื สมัยกอ่ นประวัติศาสตรด์ นิ แดนหลายแหง่ มีกลมุ่ ชนเล็กๆ อาศัยอยู่ เมอ่ื บรเิ วณน้นั ไมอ่ ุดมสมบรู ณ์ ก็จะอพยพเคลื่อนย้ายไปหาแหล่ง อาหารแหล่งใหม่ เกิดการขยายเป็นชมุ ชนขนาดใหญ่

การสร้างสรรคภ์ ูมปิ ัญญาของมนษุ ย์ก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทย ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ัญญาของมนษุ ย์กอ่ นประวัตศิ าสตร์ 1. ความต้องการความมนั่ คงในการดารงชีวิตประจาวนั ในเร่ืองอาหาร ทีอ่ ยอู่ าศัย เครอื่ งนุ่งหม่ และยารกั ษาโรค 2. สภาพภมู ศิ าสตรแ์ ละสิง่ แวดล้อม เชน่ การเกดิ ภัยธรรมชาติ โรคระบาด 3. คตคิ วามเช่ือ เชน่ ความตาย ความเช่ือในเรือ่ งวญิ ญาณ เปน็ ตน้

พฒั นาการจากชมุ ชนมาสู่รฐั โบราณ ชุมชน บา้ นเมอื ง แควน้ /รฐั อาณาจกั ร

พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณในภาคกลาง อาณาจกั รทวารวดี (พุทธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๖) • เป็นอาณาจักรท่ีมหี ลกั ฐานแน่นอนแห่งแรกบนผืนแผน่ ดินไทย สันนษิ ฐานวา่ มศี นู ยก์ ลางอยู่ที่จงั หวัดนครปฐม • หลกั ฐานสมยั ทวารวดี เชน่ ธรรมจกั รศลิ า จลุ ประโทนเจดยี ์ และฐานอาคาร ทีว่ ัดพระเมรุ • ทวารวดีได้รบั อทิ ธพิ ลอินเดยี เช่น การปกครองโดยกษตั รยิ ์ ศาสนาพราหมณ์- ฮินดู พระพทุ ธศาสนา

อาณาจกั รละโว้ (พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๘) • ในช่วงแรกละโวร้ ับวัฒนธรรมจากอนิ เดีย เช่น แนวคิดเร่ืองการปกครอง โดยกษตั รยิ ์ มกี ารแบ่งชนช้นั ทางสังคม • มีการนับถือพระพุทธศาสนา นกิ ายเถรวาทและมหายาน รวมท้งั ความเชอื่ เรือ่ งการนับถือ บรรพบุรษุ และยกย่องสตรี • มีอาชีพที่สาคัญ คอื การเกษตร และมกี ารติดตอ่ ค้าขายกบั ชมุ ชนต่างถิ่น • สมัยพระเจ้าสุรยิ วรมนั ที่ ๑ กษัตรยิ ์ขอมได้ปกครองละโว้ในฐานะประเทศราช • ขอมได้ส่งผแู้ ทนมาปกครองละโวม้ กี ารบังคบั ใชก้ ฎหมายและระบบตลุ าการ คอื ศาลสภา • หลงั สมยั พระเจ้าชยั วรมนั ที่ ๗ ขอมเสื่อมอานาจ ทาให้อิทธพิ ลขอมในละโว้ ไดห้ มดตามไปด้วย

พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณในภาคเหนือ อาณาจกั รโยนกเชยี งแสน (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๙) • สนั นษิ ฐานว่ามีศนู ยก์ ลาง อยทู่ ีเ่ มอื งเชยี งแสน (อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย) • เรื่องราวโยนกเชียงแสนปรากฏอยใู่ นตานานสิงหนวตั ิกุมารและตานานลวจังกราช • อาณาจกั รโยนกเชียงแสนถูกขอมยดึ ครองอาณาจักร • พระเจา้ พรหมกมุ ารสามารถกเู้ อกราชและสร้างเมอื งใหมข่ ึน้ ท่ีเวียงไชยปราการ • หลงั สมัยพระเจา้ พรหม ถูกมอญในพมา่ รกุ ราน จึงสรา้ งเมืองใหม่ทก่ี าแพงเพชร • พุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถกู รวมเปน็ ส่วนหนง่ึ ของลา้ นนา

อาณาจกั รหรภิ ุญชัย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๙) • สันนษิ ฐานวา่ มีศูนย์กลางอยทู่ จ่ี ังหวดั ลาพนู • ตานานจามเทววี งศ์กลา่ วว่า ฤๅษีวาสุเทพ เปน็ ผสู้ ร้างเมอื งหรภิ ญุ ชยั • มีพระนางจามเทวีเปน็ ปฐมกษัตรยิ ์ • สนั นษิ ฐานว่าชาวเมอื งหริภญุ ชัยเปน็ ชาวมอญจากละโว้ • หริภุญชยั ตกอยภู่ ายใต้อานาจละโว้หลายครัง้ • ในสมยั พระเจา้ อาทิตยราช พระพุทธศาสนามคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก • พ.ศ.๑๘๓๕ หรภิ ญุ ชยั ถูกรวมเข้าเป็นสว่ นหน่งึ ของลา้ นนา

อาณาจักรล้านนา (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๕) • มีศูนย์กลางอยูท่ ่ีเมอื งนพบุรศี รนี ครพงิ ค์เชียงใหม่ (จงั หวัดเชียงใหม่) • ผู้กอ่ ตัง้ อาณาจกั ร คอื พระยามงั รายมหาราช • แรกเริม่ ต้งั ราชธานีทเ่ี วียงกุมกาม ต่อมายา้ ยเมอื งไปอย่เู ชียงใหม่ใน พ.ศ. ๑๘๓๙ • มีความเจริญรุง่ เรอื งในเร่ืองของกฎหมาย มงั รายศาสตร์ อักษรธรรมล้านนา หรือ อักษรตวั เมอื ง วัดเจดียห์ ลวง เป็นต้น

พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณในภาคใต้ อาณาจกั รลังกาสกุ ะ (พุทธศตวรรษที่ ๗ - ๒๓) • ศนู ย์กลางอยทู่ ่ีอาเภอยะรงั จงั หวัดปตั ตานี • พัฒนาขึน้ จากการเป็นเมืองทา่ สาคญั มคี วามสมั พนั ธ์ใกล้ชิดกับจนี • มีอารยธรรมรุง่ เรือง และมีสถาบันกษัตริย์ปกครองมายาวนาน • เปน็ ศนู ย์กลางสาคญั ของพระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน • มกี ารนบั ถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลทั ธิไศวนิกาย

อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ (พุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘) • ศนู ย์กลางอยู่ที่จงั หวดั นครศรธี รรมราช • เจริญรุ่งเรืองมาจากการเปน็ เมอื งท่าของพอ่ คา้ อนิ เดีย • เปน็ ศูนยก์ ลางการค้าละการเมืองในบรเิ วณคาบสมทุ รภาคใต้ • นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และพระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน • พุทธศตวรรษที่ ๑๘ ไดร้ ับอิทธิพลพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ลทั ธลิ ังกาวงศ์ • นครศรธี รรมราชเป็นศนู ย์กลางสาคญั ของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดน ไทย

อาณาจกั รศรวี ชิ ัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๙) • มีศนู ย์กลางท่ีเมืองปาเลม็ บงั บนเกาะสมุ าตรา • ระยะแรกเจริญรุ่งเรืองในฐานะศูนย์กลางการค้าทางทะเลระหว่างจีน และอนิ เดีย • เม่ือจีนเข้ามาค้าขายโดยตรง ทาให้เมืองไชยาเป็นเมืองสาคัญในการค้า และรบั วัฒนธรรมศรวี ชิ ัย

พัฒนาการของอาณาจกั รโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาจักรโคตรบูรณ์ (พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๖) • มศี นู ยก์ ลางอยทู่ ่ีนครพนม ครอบคลมุ พ้ืนทภ่ี าคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ดนิ แดนฝั่งซา้ ยแม่น้าโขง • นับถือพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทตามแบบทวารวดี และมคี วามเช่ือ พน้ื เมอื งเรอื่ งการบูชาพญานาค • พระธาตพุ นมเป็นศาสนสถานที่สาคัญของอาณาจักร • พุทธศตวรรษที่ ๑๘ พระเจ้าชยั วรมันที่ ๗ แห่งอาณาจักรขอมได้ครอบครองดนิ แดนใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ของไทย • ต่อมาโคตรบรู ณต์ กเปน็ เมอื งขึน้ ของล้านชา้ ง

อาณาจกั รอิศานปรุ ะ (พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๘) • มอี านาจและเจริญร่งุ เรอื งสูงสดุ ในสมยั พระเจา้ สรุ ยิ วรมนั ที่ ๒ • สร้างปราสาทหินขนาดใหญ่มากมาย • เผยแพร่อารยธรรมไปยงั รัฐข้างเคียงหลายด้าน เช่น การปกครองแบบ สมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ ความเปน็ สมมติเทพของกษตั รยิ ์ การปกครองแบบ จตุสดมภ์ กฎหมายพระธรรมศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู พระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายาน เป็นตน้

การสร้างสรรคภ์ มู ปิ ัญญาของอาณาจกั รโบราณก่อนสมยั สุโขทยั ปัจจยั ที่มีอิทธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาของอาณาจักรโบราณกอ่ นสมยั สุโขทยั ปัจจยั พนื้ ฐาน ปจั จัยจากภายนอก • ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรแ์ ละ • จากบุคคลภายนอกทเ่ี ข้ามา สง่ิ แวดล้อม ตดิ ตอ่ ค้าขาย ได้รบั อารยธรรม • ลักษณะรว่ มและลกั ษณะแตกต่าง อินเดียเขา้ มา เช่น ภาษา ทางสังคมและวฒั นธรรม ศาสนา เป็นต้น

ผลงานการสรา้ งสรรคภ์ ูมปิ ัญญาของอาณาจกั รโบราณก่อนสมัยสโุ ขทยั • การเกษตรกรรม การใช้แรงงานสตั ว์ การใช้วัวควายผอ่ นแรงงานคน • การเลอื กทาเลในการสรา้ งบา้ นแปงเมอื ง ตง้ั เมืองในเขตล่มุ แมน่ า้ มี ทางออกสูท่ ะเล สามารถติดต่อกบั ดินแดนภายใน ท่ีมพี ืชผลอดุ มสมบรู ณ์ • การประดษิ ฐต์ ัวอักษรข้ึนใช้ เดมิ ใชภ้ าษาสนั สกฤตและบาลี แลว้ ดัดแปลง ผสมผสานกบั ภาษาในท้องถ่นิ จึงกลายเปน็ อกั ษรมอญโบราณ • ศาสนา – ความเชือ่ คาส่งั สอนในพระพุทธศาสนาเปน็ หลกั ยึดเหนี่ยวจติ ใจ ของชาวพทุ ธ นาไปสกู่ ารสร้างสรรค์ภมู ปิ ัญญาทางดา้ นสถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook