Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย

พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย

Description: พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย

Search

Read the Text Version

พฒั นาการของอาณาจกั รสุโขทยั

การสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทัย ความเป็นมาก่อนการสถาปนาเมืองสโุ ขทยั เปน็ ราชธานี • ก่อนการสถาปนาเมืองสโุ ขทัย สันนิษฐานวา่ ชุมชนบรเิ วณเมืองสุโขทยั น่าจะ มีความสมั พนั ธ์กับชาวมอญท่ีเมืองละโว้ (ลพบรุ ี) และขอมที่เมืองพระนคร • นอกจากนยี้ งั มีความสมั พนั ธ์กบั ละว้าหรอื ลั้วและลาว รวมท้ังไตหรอื ชาวไทย ทอ่ี ยู่ทางตอนใตข้ องจีน จนเกดิ การผสมผสาน เปน็ ชุมชนขนาดใหญ่ และ สถาปนาเปน็ อาณาจักรสุโขทัย

ปัจจัยที่นาไปสู่การสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ปจั จยั ภายใน • การขยายตัวของชมุ ชนสโุ ขทยั ปจั จัยภายนอก • ทาเลที่ต้งั ของแคว้นสุโขทยั • การมีผนู้ าทีเ่ ขม้ แขง็ • การขยายตวั ของชุมชนสุโขทัย • ทาเลท่ตี ง้ั ของแควน้ สโุ ขทัย

ปจั จยั ทีม่ อี ิทธพิ ลตอ่ พฒั นาการในสมัยสุโขทัย ปจั จัยด้านภมู ศิ าสตร์และส่ิงแวดลอ้ ม สภาพภมู ปิ ระเทศ • สโุ ขทยั ตงั้ อย่บู รเิ วณที่ราบล่มุ ทมี่ แี ม่นา้ ปงิ ยม นา่ น สภาพภูมิอากาศ ไหลผา่ น เหมาะกับการทาการเกษตร ทรัพยากรทางธรรมชาติ • สุโขทยั ต้งั อยทู่ ่ามกลางทิวเขา ทาให้อากาศไมร่ ้อน จนเกินไป และยังมฝี นตกชกุ ในฤดูมรสมุ การคมนาคม • เต็มไปดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็นประโยชน์ ตอ่ การดาเนินชีวิต • มีเส้นทางการคา้ ทั้งทางนา้ และทางบก ทีส่ ามารถตดิ ตอ่ กับแคว้นต่างๆ

ปจั จยั ดา้ นอารยธรรม ดา้ นศาสนา ดา้ นภาษา ดา้ นกฎหมาย ด้านศิลปกรรม ดา้ นการปกครอง

พัฒนาการดา้ นการเมอื งการปกครอง ลักษณะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพระมหากษตั ริย์กบั ราษฎร • การปกครองของอาณาจกั รสโุ ขทยั ในยคุ เรมิ่ แรกเป็นการปกครองแบบ “พ่อปกครอง ลูก” เชน่ จากการทีพ่ ่อขุนรามคาแหงมหาราชโปรดให้แขวนกระด่งิ ไวท้ ่ปี ระตูวัง เพอ่ื ใหร้ าษฎรท่ีมีเรอ่ื งเดือดรอ้ นไปสั่นกระด่ิงร้องทุกข์ได้ แล้วพระองค์จะมาตดั สนิ คดี ดว้ ยพระองค์เอง • ต่อมาในสมยั พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลไิ ทย) พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ “ธรรมราชา” และมคี วามเช่อื วา่ พระมหากษัตริยท์ รงเป็นสมมตเิ ทพด้วยเช่นกัน ทรงยา้ ใหเ้ ห็นถงึ พระมหากษัตริย์ทรงปฏบิ ตั ิตามหลักพระพทุ ธศาสนาทเี่ รยี กว่า “ทศพธิ ราชธรรม” หรอื ธรรม ๑๐ ประการเพือ่ ราษฎรจะไดม้ คี วามรม่ เยน็ เป็นสขุ

อาณาเขตการปกครอง สมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทศิ เหนอื ไดเ้ มืองแพร่ น่าน พล่วั (อ. ปัว จ. นา่ น) เลย ฝั่งโขงไปถงึ เมืองชวา (หลวงพระบาง) ทศิ ตะวนั ออก ไดเ้ มืองสระหลวง สองแคว (พษิ ณุโลก) ลุมบาจาย (หล่มเกา่ ) สระคาถึงข้ามฝง่ั แม่นา้ โขง ถงึ เวยี งจันทนแ์ ละเวียงคา ทิศตะวนั ตก ไดเ้ มืองฉอด เมอื งหงสาวดจี นสดุ ฝงั่ ทะเล ทิศใต้ ไดเ้ มอื งคณฑี (กาแพงเพชร) พระบาง (นครสวรรค์) แพรก (ชัยนาท) สุพรรณภมู ิ ราชบรุ ี เพชรบรุ ี นครศรีธรรมราชจนสดุ ฝ่งั ทะเล

สมยั พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลไิ ทย) ทศิ ตะวนั ออก ได้เมอื งสระหลวง สองแคว (พษิ ณโุ ลก) ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ไดเ้ มืองปากยม (พจิ ิตร) ทศิ ใต้ ไดเ้ มืองคนฑี (กาแพงเพชร) และเมืองพระบาง (นครสวรรค)์ ทิศตะวนั ตก อาณาจักรจรดเมืองตาก ทิศเหนอื ไดเ้ มอื งสระหลวง สองแคว (พษิ ณุโลก) ลุมบาจาย (หลม่ เกา่ ) สระคาถึง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามฝงั่ แม่น้าโขง ถึงเวียงจนั ทนแ์ ละเวยี งคา ทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้ ไดเ้ มอื งสระคาหรอื เมืองสะค้า และเมืองลมุ บาจาย (เมอื ง หล่มเกา่ ) จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ได้เมอื งชากังราว เมอื งสุพรรณภาว เมอื งนครพระชุม และเมอื ง บางพาน (กาแพงเพชร)

รูปแบบการปกครอง • รปู แบบการปกครองเปน็ ลกั ษณะการกระจายอานาจจากราชธานีไปยงั หวั เมืองต่างๆ • เมอื งต่างๆ ท่ขี ึน้ อยกู่ ับกรงุ สุโขทยั ตามที่ปรากฏในศลิ าจารึกเป็นกลมุ่ เมอื งชน้ั ใน ชัน้ กลาง ชนั้ นอก ตามระยะทางใกลไ้ กลตามลาดบั โดยเมอื งใหญ่ทส่ี าคัญปกครองเมือง เลก็ ๆ มี ๔ เมอื ง คอื กรุงสุโขทัย (ราชธาน)ี ศรีสชั นาลัย กาแพงเพชร สองแคว (พิษณโุ ลก) • เมอื่ มกี ารเปลย่ี นแปลงพระมหากษตั รยิ ์พระองคใ์ หมใ่ นเมอื งราชธานี เมอื งขึน้ ตา่ งๆ ที่ อยหู่ ่างไกลอาจต้งั ตัวเป็นอสิ ระได้ เชน่ เม่ือสิ้นสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช เมือง เลก็ ๆ อยา่ งเชยี งทอง (ตาก) และพระบาง (นครสวรรค)์ ตา่ งพากันตงั้ ตวั เป็นอิสระ เป็นต้น

ลักษณะทางดา้ นเศรษฐกจิ ทสี่ าคญั การเกษตรกรรม • พ้ืนฐานเศรษฐกิจข้นึ อยู่กับอาชีพเกษตรกรรม โดยมกี ารจัดระบบชลประทานเข้า ช่วยในการเพาะปลูกในฤดแู ลง้ รวมถึงเพอ่ื การอปุ โภคและบรโิ ภคด้วย เชน่ การ สรา้ งรางคันดนิ สรา้ งเหมือง ฝาย คู ตระพัง และทานบก้นั น้า (สรีดภงส์) เป็นตน้ การพาณิชยกรรม • มตี ลาดค้าขาย เรียกวา่ ตลาดปสาน มกี ารใชเ้ งนิ ตราในการซ้ือขายสนิ ค้า เชน่ เบ้ยี บาท เงนิ พดด้วง • สนิ ค้าออก เชน่ เครื่องเทศ ของปา่ หายาก พรกิ ไทย น้าตาล งาชา้ ง สนิ คา้ ขาเข้า เชน่ ผ้าไหม ผ้าทอ การหตั ถกรรม • การผลติ เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา เรียกวา่ “เคร่อื งสงั คโลก” เคร่อื งสังคโลกท่ผี ลติ ไดม้ าก คือ ถว้ ยชาม

พฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกจิ สมยั สุโขทัย ปจั จัยที่เออ้ื ต่อพัฒนาการทางด้านเศรษฐกจิ การใช้ระบบชลประทาน เป็นศนู ยก์ ลางการตดิ ต่อกับ ยกเว้นการจัดเก็บภาษี ในการเกษตร ดินแดนอนื่ ๆ ผา่ นดา่ น ท่เี รียกวา่ “จกอบ” การสร้าง “ตระพัง” เกบ็ น้า ท้ังภายในและภายนอกอาณาจักร (จงั กอบ) เพอื่ ใช้ในการเพาะปลูก มดี นิ แดนทต่ี ิดกับทะเล ทาใหก้ ารค้าขายขยายตัวออกไป ทาให้ส่งเสริมการประกอบ และช่วยใหเ้ กิดแรงจงู ใจ อาชพี การคา้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ทาให้มีพอ่ ค้าเข้ามาคา้ ขายมากข้นึ

พฒั นาการทางดา้ นสังคมสมยั สโุ ขทัย กลมุ่ คนในสงั คมสโุ ขทยั กลุ่มบุคคลที่มีหนา้ ทใ่ี นการปกครอง พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ (เจ้านาย) ขุนนาง กล่มุ บคุ คลที่อยใู่ ต้การปกครอง ไพร่ ข้า

กฎหมายและการพิจารณาคดีความ • ในสมยั สุโขทัยไดม้ หี ลักฐานที่แสดงให้เหน็ ว่ามกี ารตรากฎหมายในลกั ษณะต่างๆ เพ่อื สรา้ งความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยและความเป็นธรรมให้เกดิ ข้นึ ในสังคม กฎหมายท่ีตรา ข้ึนในสมยั สโุ ขทยั จากหลักฐานทค่ี น้ พบและตคี วามได้จากศิลาจารึกสุโขทัย มีลักษณะ ต่างๆ ดังน้ี ลกั ษณะทรัพยส์ นิ มรดก ลักษณะการพิจารณาคดีความ ลักษณะการร้องฎกี า ลักษณะโจร

พัฒนาการทางด้านศิลปวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทยั ด้านศิลปกรรม ด้านสถาปัตยกรรม เจดีย์ เจดียท์ รงพุ่มขา้ วบิณฑ์ เจดยี ์ทรงกลมแบบลงั กา เจดยี แ์ บบลงั กาผสมศรีวชิ ัย วดั เจดยี เ์ จ็ดแถว วดั ชา้ งล้อม จ.สุโขทัย วัดเจดยี เ์ จ็ดแถว จ.สโุ ขทยั จ.สโุ ขทัย

อาคาร • อาคารที่เปน็ รปู ส่ีเหล่ยี มผืนผ้า เช่น วหิ าร ทว่ี ัดสวนแก้วอทุ ยานน้อย เมืองศรีสัชนาลัย • อาคารที่ก่อด้วยศิลาแลง เช่น วหิ ารท่ีวัดกุฎรี าย เมืองศรสี ัชนาลยั • อาคารที่เปน็ ปราสาทราชวงั สว่ นใหญ่สรา้ งด้วยไม้ จงึ ผุพังไปหมดแลว้ • อาคารทเ่ี ป็นรูปสี่เหลย่ี ม เช่น มณฑปวัดศรชี มุ เมืองสโุ ขทยั

วิหาร • มลี ักษณะใหญ่กว่าโบสถ์ • กาแพงทบึ และเจาะเป็นช่องเล็กๆ คลา้ ยหนา้ ตา่ ง เพอื่ ให้แสงลอดเขา้ ไป ข้างในได้ • นิยมสร้างไวด้ า้ นหน้าของเจดยี ์ เชน่ พระวิหารหลวงกลางเมอื งสโุ ขทัย โบสถห์ รอื อโุ บสถ • สง่ิ กอ่ สรา้ งสาคญั และมคี นเขา้ ไปใชง้ านมากทส่ี ดุ ใช้เปน็ ทป่ี ระกอบ สังฆกรรม • โบสถส์ ุโขทัยแทบทุกหลงั จะหันหนา้ ไปทางทิศตะวันออก • มแี ผนผงั เปน็ สี่เหลยี่ มผืนผ้า เช่น โบสถ์วดั มหาธาตุ โบสถว์ ัดนางพญา เมืองศรสี ัชนาลยั เป็นต้น

ด้านประติมากรรม ๑ การแกะสลกั ศิลปวัตถุ ๒ การปน้ั พระพุทธรปู ๓ การทาเครื่องสังคโลก ๔ การแกะสลักศิลปวตั ถุ ประติมากรรมในสมยั สโุ ขทัยท่ีเป็นพระพุทธรูป ได้รับ การยกย่องมากวา่ สามารถสร้างสรรค์ไดอ้ ยา่ งงดงามมาก

ด้านจติ รกรรม • ภาพจติ รกรรมมีทง้ั ภาพลายเส้นและภาพเขียน โดยเฉพาะภาพลายเส้นสลกั บนแผ่นชนวน หิน ประดับมณฑปวดั ศรชี มุ จงั หวดั สุโขทัย เปน็ ภาพชาดกท่ีมอี ิทธิพลของศิลปะลังกา โดยเฉพาะเทวดาทป่ี รากฏมลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกับศิลปะลงั กาอย่างมาก • จติ รกรรมฝาผนงั ตา่ งจากภาพลายเส้น สที ่ีใชเ้ ปน็ สแี บบดา แดง ท่ีเรียกวา่ “สีเอกรงค์” ภาพเขียนทส่ี าคัญ คอื ภาพเขียน ที่วดั เจดยี เ์ จ็ดแถว เมอื งศรสี ชั นาลัย ภาพโคชานยิ ชาดก เปน็ ภาพลายเสน้ สลักบนแผ่น หินชนวน ประดบั มณฑปวัดศรีชมุ จังหวดั สุโขทัย

ด้านภาษาและวรรณกรรม ด้านภาษา • พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐอ์ กั ษรไทย โดยดดั แปลง จากอกั ษรขอมและมอญ ข้ึน ใน พ.ศ. ๑๘๒๖ เรียกว่า ลายสอื ไทย ด้านวรรณกรรม • ศลิ าจารกึ ให้ความร้ทู างดา้ นประวตั ิศาสตร์โบราณคดี อักษร ศาสตร์ และอ่ืนๆเช่น ในศิลาจารกึ สุโขทยั หลักที่ ๑ • ไตรภูมพิ ระรว่ ง พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) ทรงพระราชนพิ นธ์ ขนึ้ นบั วา่ เปน็ วรรณคดเี ลม่ แรกของไทยทวี่ า่ ด้วยเรือ่ งนรก - สวรรค์ ดา้ นศาสนาและความเชือ่ • มีการนบั ถือผี วิญญาณของบรรพบุรษุ ปรากฏการณต์ ามธรรมชาติ และพระพุทธศาสนา นกิ ายเถรวาทลัทธลิ งั กาวงศ์การนบั ถือศาสนาพราหมณ์- ฮินดู ในราชสานักสมยั สุโขทัย ตอนปลาย

ด้านประเพณที สี่ าคญั • สมัยสุโขทัยมีประเพณีสาคัญท่ีคนไทยได้ยึดถือปฏิบัติและได้เป็นมรดกตกทอดทาง วัฒนธรรมมาจนถึงสมัยปัจจุบัน ประเพณีเหล่าน้ีล้วนมีคุณค่าทางวัฒนธรรมไทยเป็น อย่างมากและมีประโยชน์ต่อสังคมไทยมาต้ังแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยปัจจุบัน ประเพณที ส่ี าคัญและปรากฏหลกั ฐานโดยนามาเปน็ ตวั อยา่ ง มีดังนี้ • การให้ทานและถือศีล • การเผาเทยี นเลน่ ไฟ • การทอดกฐิน • การทาบญุ และฟังธรรม • การฟงั เทศนม์ หาชาติ • การนับถือผีและเทวดา

พฒั นาการทางดา้ นความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศสมยั สุโขทัย วัตถุประสงคใ์ นการสร้างความสมั พนั ธ์ ๑ เพอื่ ขยายอานาจหรือขอบเขตให้กว้างขวางออกไป ๒ เพ่ือผลประโยชน์ทางดา้ นเศรษฐกิจและการค้า ๓ เพอ่ื รกั ษาสัมพนั ธไมตรีกับรัฐอ่ืน ๔ เพอ่ื เผยแพรแ่ ละรบั การถ่ายทอดวฒั นธรรม ๕ เพือ่ รกั ษาความมัน่ คงและปอ้ งกนั การรกุ รานจากภายนอก

ลกั ษณะการสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์กับลา้ นนา • พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ทรงดาเนนิ ความสมั พันธ์ ด้วยการร่วมมอื กับพระยางาเมืองแหง่ แควน้ พะเยา ชว่ ยเหลอื พระยามงั รายเลอื กชัยภมู ิ และวางผงั เมอื ง ราชธานใี หม่ คอื นพบรุ ศี รีนครพิงค์เชยี งใหม่ • ตอ่ มาสมยั พระธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ทย) ความสัมพนั ธ์ ของสุโขทัยที่มตี อ่ ลา้ นนาเร่มิ หา่ งเหนิ เพราะล้านนา ยดึ เมอื งตากของสโุ ขทัย ภาพแสดงพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชแหง่ สุโขทัย และพระยางาเมอื งแหง่ พะเยาเสดจ็ ไปชว่ ยพระยา มังรายมหาราชแหง่ ลา้ นนา ไดท้ าการเลอื กชยั ภมู ิ ในการสรา้ งราชธานแี หง่ ใหมข่ องลา้ นนา

ความสมั พันธก์ บั ลา้ นนา (ต่อ) • ในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี ๒ ทรงสง่ พระสมุ นมหาเถระไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา นกิ ายเถรวาทแบบลงั กาวงศท์ ี่เมอื งเชยี งใหม่ และไดเ้ จรจาขอเมืองตากคนื • ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๓ (ไสลือไทย) ทรงช่วยทา้ วย่กี มุ กาม พระเชษฐาของ พระยาสามฝ่ังแกนแหง่ ลา้ นนาบุกเข้าตีเมืองเชียงใหม่ ทาให้เกดิ ความบาดหมาง ระหวา่ งสุโขทัยกับล้านนากันมากขึ้น ภาพวาดแสดงการสู้รบระหวา่ งทหารสุโขทยั กบั ทหารลา้ นนา อันเป็นผลมาจากการที่สโุ ขทยั พยายามทจ่ี ะแผ่ขยายอิทธพิ ลขึ้นไปทางตอนบน

ความสัมพนั ธก์ บั อยุธยา • ในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ทย) อยธุ ยายดึ เมอื งพษิ ณุโลกของสุโขทยั ไว้ ได้ สโุ ขทยั จึงสง่ คณะทูตไปเจรจาขอคนื ไดส้ าเรจ็ • ในสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี ๒ อยธุ ยาตเี มอื ง กาแพงเพชรของสุโขทัยได้ สโุ ขทัยจึงยอมเปน็ เมอื งขึน้ • ในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี ๓ (ไสลอื ไทย) ภาพวาดแสดงพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ทย) ทรงประกาศเอกราช แต่สโุ ขทัยก็ตกเป็น ส่งคณะทูตมาเจรจาขอเมืองพิษณโุ ลกกลับคืน เมอื งข้นึ ของอยธุ ยาอีก จากสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๑ (อูท่ อง) แห่งกรงุ ศรอี ยุธยา

ความสัมพันธ์กบั อยธุ ยา (ต่อ) • สโุ ขทัยได้สร้างความสมั พนั ธฉ์ ันเครือญาตกิ บั อยธุ ยาโดยพระราชธิดาของพระมหาธรรม ราชาที่ ๒ (เปน็ พส่ี าวของพระยาบาล) ได้ทรงอภเิ ษกกับเจา้ สามพระยา (ตอ่ มาไดเ้ ปน็ กษตั รยิ ์อยธุ ยา ทรงมพี ระนามว่า “สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๒”) ซึง่ เปน็ พระราช โอรสของสมเดจ็ พระอินทราชา • ภายหลังพระมหาธรรมราชาที่ ๓ (ไสลือไทย) สวรรคต เกิดการชิงอานาจกันระหว่าง พระยาบาลกบั พระยาราม สมเดจ็ พระอินทราชาแห่งกรงุ ศรอี ยธุ ยาทรงไกลเ่ กลยี่ ให้ พระยาบาลครองเมอื งพิษณุโลกทรงพระนามวา่ พระมหาธรรมราชาท่ี ๔ (บรมปาล) ส่วนพระยารามครองเมอื งสโุ ขทยั • สุโขทยั ในฐานะเมอื งประเทศราชของอยธุ ยาได้ถกู ผนวกรวมเข้าเป็นสว่ นหน่ึงของอยธุ ยา ในพ.ศ. ๒๐๐๖ เมือ่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยาไดเ้ สด็จขึ้นมา ปกครองเมอื งพษิ ณุโลกในฐานะราชธานีแทนกรงุ ศรีอยธุ ยา

ความสมั พนั ธ์กบั นครศรีธรรมราช • สโุ ขทัยกับนครศรีธรรมราชมคี วามสัมพนั ธใ์ นลักษณะของการขยายอทิ ธพิ ลทางการเมือง เขา้ ไปปกครองดแู ลในฐานะเมืองประเทศราชทางด้านวัฒนธรรมผ่านทางพระพทุ ธศาสนา ซ่ึงเร่ิมขึ้นในสมัยพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช เมอ่ื นครศรธี รรมราชยอมรับอทิ ธิพลทาง การเมืองของสโุ ขทยั โดยยอมเปน็ เมอื งประเทศราชของสุโขทัย • ภายหลังหลงั สมยั พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ความสมั พันธเ์ รม่ิ เสื่อมลง เนอ่ื งจาก ระยะทางท่อี ยูห่ า่ งไกล รวมทั้งเมื่อมกี ารก่อตง้ั อยุธยาที่อยูถ่ ดั จากสุโขทัยลงมา ทาให้ อยุธยาเร่ิมขยายอานาจเขา้ ไปแทนท่ี ภาพวาดแสดงพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงนมิ นต์พระสงฆจ์ ากนครศรีธรรมราช มาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาที่สโุ ขทัย

ความสัมพนั ธก์ บั หัวเมืองมอญ ภาพวาดแสดงสโุ ขทัยใช้ • สุโขทัยกับมอญมีความสัมพันธก์ นั ในฐานะเมืองประเทศราช หวั เมอื งมอญ เปน็ เมอื งทา่ สโุ ขทยั ใช้ หัวเมอื งมอญเปน็ เมอื งทา่ สาหรบั การค้าขาย การคา้ ดา้ นทะเลอนั ดามัน ทางด้านอ่าวเมาะตะมะหรอื ทะเลอนั ดามนั จากชาวตา่ งชาติที่ แลน่ เรือสาเภามาจากอาหรับ อินเดยี และลังกา และ ความสมั พันธท์ างดา้ นวฒั นธรรมผ่านทางพระพุทธศาสนา ได้ จัดสง่ คณะสงฆเ์ ดนิ ทางไปศึกษาพระธรรมวนิ ยั กับคณะสงฆ์ มอญ แล้วนากลบั มาเผยแผใ่ ห้แก่ชาวสุโขทยั อกี ดว้ ย • หัวเมืองมอญในสมยั สุโขทัย ไดแ้ ก่ เมอื งมะริด ทวาย ตะนาว ศรี หงสาวดี สะเทมิ และนครพนั • หลังสิ้นสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชไปแลว้ หวั เมอื งมอญ เร่ิมเป็นอสิ ระ และบางครงั้ ก็อย่ใู ต้อานาจรัฐทเ่ี ขม้ แขง็ กว่า สุโขทยั

ความสมั พนั ธ์กบั ลงั กา • สโุ ขทัยมคี วามสัมพนั ธก์ ับลังกาทางด้านวฒั นธรรม เพราะในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง มหาราชทรงนมิ นตพ์ ระมหาเถรสงั ฆราชจากเมืองนครศรธี รรมราชพร้อมคณะภกิ ษุ สงฆน์ าเอาพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ มาประดษิ ฐานในกรงุ สุโขทัย • ประมาณ พ.ศ. ๑๙๐๐ ตรงกบั สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลไิ ทย) พระอโนมทสั สแี ละพระสมุ นมหาเถระนาพระพทุ ธศาสนานิกายลังกาวงศเ์ กา่ (หรือรามัญวงศ์) จากนครพันมาเผยแผ่ท่สี โุ ขทัย • พ.ศ. ๑๙๗๒ ตรงกับสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๔ (บรมปาล) พระธรรมคมั ภรี จ์ าก เชยี งใหม่ ได้นาพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศใ์ หมจ่ ากลังกามาเผยแผ่ทส่ี โุ ขทัย

ความสัมพนั ธก์ ับจนี • สุโขทัยมคี วามสมั พนั ธ์กับจนี ทางด้านการคา้ ในระบบ บรรณาการ เริ่มตน้ ในสมยั พอ่ ขนุ -รามคาแหงมหาราช โดยในชว่ ง พ.ศ. ๑๘๓๕ - ๑๘๔๐ สโุ ขทยั สง่ คณะทูต พรอ้ มเคร่อื งบรรณาการไปจีน และในสมัยพระยาเลอไทย ก็ได้ส่งไปอกี • การสร้างความสัมพนั ธอ์ นั ดกี บั จีน ทาใหส้ ุโขทยั ได้รบั ภาพวาดแสดงเหตุการณ์สโุ ขทยั ประโยชน์ทางการคา้ และเรอ่ื งอ่ืนๆ เช่น การเดนิ เรอื สง่ คณะราชทตู พร้อมเคร่อื ง ทางทะเล วธิ กี ารทาเคร่ืองปน้ั ดินเผา จากช่างจีน บรรณาการไปถวายจักรพรรดจิ ีน

อทิ ธิพลของอารยธรรมตะวนั ออกทีม่ ีผลต่อสโุ ขทัย ด้านการเมืองการปกครอง • พระมหากษตั ริยท์ รงปกครองบา้ นเมืองดว้ ยหลักทศพิธราชธรรม (หลกั ๑๐ ประการ) ได้รบั อิทธิพลจากศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู เรอ่ื งของสมมติเทพ ดา้ นเศรษฐกจิ • ทาการค้าโดยเรอื สาเภากับพ่อคา้ จีน ท่ีเข้ามาคา้ ขายกับสุโขทัย • ทาการคา้ ในระบบบรรณาการของจนี ดา้ นสังคม • พระมหากษัตรยิ ท์ รงมีฐานะเปน็ “ธรรมราชา” • มกี ารนับถอื พระพทุ ธศาสนา ใหค้ วามเคารพแกพ่ ระภกิ ษุสงฆ์ ดา้ นวัฒนธรรม • นับถือพระพุทธศาสนา การทาเครื่องสังคโลก เกิดไตรภมู ิพระ ร่วง มกี ารรับอิทธิพลภาษาขอม มอญ อินเดีย ใช้กฎหมายพระ ด้านความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ ธรรมศาสตร์ • ยอมรบั ในพระพทุ ธศาสนาทาใหค้ วามสมั พนั ธ์ระหว่างสุโขทัยกบั นครศรธี รรมราช ลงั กา มอญ และล้านนาและจนี เป็นไปอย่าง ราบรื่น

การสร้างสรรค์ภูมปิ ัญญาในสมยั สโุ ขทัย ความหมายของภมู ิปญั ญาไทย • ภูมปิ ัญญาไทย หมายถงึ ความรู้ ทักษะ ความเชอื่ และพฤตกิ รรมของคน ไทยในการปรบั ตัวให้เขา้ กับธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แลว้ สร้างสรรค์สงั คม และสั่งสมประสบการณ์เปน็ เวลานาน เพือ่ อนชุ นรุน่ หลงั

ปจั จยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การสรา้ งสรรคภ์ มู ิปญั ญาไทยสมยั สโุ ขทยั 1. ความตอ้ งการปจั จัยทนี่ ามาไวใ้ ชเ้ พือ่ การดารงชีวิตในประจาวนั เชน่ เครอื่ งมอื เครือ่ งใช้ เปน็ ต้น 2. ความตอ้ งการแกไ้ ขปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติ เช่น ตอ้ งการเกบ็ กกั นา้ เอาไว้ใชใ้ นฤดูร้อน (แลง้ ) เปน็ ต้น 3. ความตอ้ งการทีจ่ ะใชป้ ระโยชน์จากหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาเพื่อนามาสรา้ ง ความสงบสุขใหก้ บั สงั คม เช่น ปลกู ฝังใหค้ นไทยเกิดความเกรงกลัวต่อบาป เป็นตน้ 4. ความต้องการให้เกดิ ความมนั่ คงของอาณาจักร เชน่ ต้องการใหค้ นไทยพดู อ่าน เขียนภาษาเดียวกนั แสดงถงึ ความเป็นคนเชื้อชาตเิ ดยี วกนั เพือ่ รว่ มกันสรา้ งความ เจริญรุ่งเรืองให้กับอาณาจกั ร

ผลงานการสรา้ งสรรค์ภูมิปญั ญาไทยในสมยั สโุ ขทยั • การร้จู ักสร้างระบบชลประทานท่กี ักเกบ็ นา้ เอาไว้ใชใ้ นฤดู แลง้ ดว้ ยการสร้างสรีดภงส์หรือทานบพระรว่ ง ตระพงั • การรจู้ กั ใชศ้ ิลาแลงมาสรา้ งอาคาร สถานที่ต่างๆ เปน็ การ ใช้ศลิ าแลงทม่ี ีอยใู่ นธรรมชาติ มาใช้ให้เปน็ ประโยชน์ • การเผาเครื่องปน้ั ดินเผาและการรจู้ กั เคลือบ เครือ่ งป้นั ดินเผา หรอื ที่เรียกอีกอยา่ งว่า เครอ่ื งสงั คโลก ให้มีความสวยงาม • ร้จู กั ประดิษฐโ์ ลหกรรมสารดิ เพือ่ นามาใชท้ าเครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ต่างๆ และพระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ปางลลี า ลอยตวั ทท่ี าด้วยสาริดในสมยั สุโขทยั เป็นตน้

ผลงานการสร้างสรรค์ภูมปิ ัญญาไทยในสมัยสโุ ขทยั (ตอ่ ) • การรจู้ กั ใชว้ ัสดุทม่ี ีสว่ นผสมเหมาะสาหรบั ทาให้ปนู ปนั้ แข็งตัว เพอ่ื ผลงานและลวดลายจะไดป้ รากฏออกมาอยา่ งสวยงาม • การใช้คติความเชอ่ื ในเรอื่ งพระพุทธศาสนาควบคมุ พฤตกิ รรม ของคนในสังคม การปลกู ฝังนสิ ัยให้มแี ต่ความสงบและมี ศีลธรรม เพ่อื ความรม่ เย็นของผ้คู นในสังคม • การประดษิ ฐ์ตัวอักษรไทยขน้ึ มาใชเ้ ปน็ แบบฉบบั ของตนเอง ทเ่ี รยี กวา่ “ลายสอื ไทย” ของพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

ความเสื่อมอานาจของอาณาจกั รสโุ ขทัย อาณาจักรสโุ ขทยั เสื่อมอานาจลงในทสี่ ดุ และตอ้ งสูญเสยี อานาจใหก้ ับอยุธยาดว้ ยสาเหตุ ดงั ต่อไปนี้ • อานาจทางทหารของสุโขทยั มีการเรม่ิ ออ่ นแอลง เช่น การทอี่ ยุธยายกมาตีเมอื ง พษิ ณุโลกได้ ไมส่ ามารถปราบหัวเมอื งหงสาวดที ่ตี ้ังตัวเป็นอสิ ระได้ เปน็ ตน้ แสดง ให้เห็นถงึ ความออ่ นแอทางด้านการทหารของสโุ ขทัยไดเ้ ปน็ อย่างดี • เกิดการแยง่ ชงิ อานาจทางการเมอื งภายในราชวงศ์พระร่วง ทาใหม้ ีการสู้รบกันเอง ทาให้เกดิ ความออ่ นแอภายในราชสานัก • การคา้ ขายกบั ต่างประเทศซบเซาลง เนอื่ งจากหัวเมืองมอญและอยุธยาซง่ึ อยทู่ างตอน ใตใ้ กลฝ้ ่ังทะเลมคี วามเข้มแขง็ ขน้ึ ทาใหส้ โุ ขทยั ถกู แย่งชงิ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook