Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Description: เรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Search

Read the Text Version

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรไทย สมัยรัตนโกสนิ ทรตอนตน



เหตผุ ลของการตง้ั กรงุ รตั นโกสนิ ทรเ ปน ราชธานี • ท่ตี ้งั กรงุ ธนบรุ ไี มเหมาะสม เพราะอยใู นทองคงุ นํา้ เซาะตลิ่งพังอยู เสมอ • บรเิ วณพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชคับแคบ ไม สะดวกตอ การขยายพระราชวงั ใหกวา งออกไป • ฝง กรงุ เทพฯ มีชยั ภมู ิเหมาะ เพราะมีแมนํ้าเจาพระยาเปน คูเมอื งท้งั ดา นตะวันตกและดานใต ประกอบกับพ้ืนทน่ี อกคูเมืองเดมิ เปนพน้ื ท่ี ลุม ทเี่ กิดจากการต้นื เขนิ ของทะเล ขาศึกจะยกทพั มาดา นนี้ ไดยาก

แผนที่แสดงอาณาเขตของกรงุ รัตนโกสินทร สมัยรชั กาลท่ี 1

ปจ จัยทสี่ งผลตอ ความมน่ั คงและความเจรญิ รุง เรือง พระปรชี าสามารถ ศนู ยก ลาง การมีลมมรสุม ของ ของอาณาจกั ร พัดผาน ทําให มีเสนทางออก มฝี นตกชกุ พระมหากษตั ริย การมแี มน า้ํ หลาย การเปน ศนู ย สูท ะเล สายไหลผานออกสู ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ทะเลบรเิ วณ รวมของการขยายตัว ความมนั่ คงและ ทางดานวฒั นธรรม ความเจรญิ รุงเรอื ง อาวไทย ของไทย



พฒั นาการดา นการเมอื งการปกครอง • การบรหิ ารราชการแผนดนิ ในสว นกลาง พระมหากษตั รยิ  กรม กรม กรม กรม กรม กรม มหาด กลา เมอื ง วัง ทา นา ไทย โหม

• การบรหิ ารราชการแผนดนิ ในสว นหวั เมอื ง การบรหิ ารราชการแผนดนิ ในสว นหวั เมอื ง หัวเมืองช้นั ใน หัวเมอื ง หวั เมือง ชนั้ นอก ประเทศราช

• การบริหารราชการแผน ดนิ ในสว นทอ งที่ ยังคงประกอบดว ย หมูบา นหรอื บาน แตละหมบู านจะมีผใู หญบ านซงึ่ เจา เมอื งแตง ต้งั เปนหัวหนา หลาย หมบู านรวมเปนตําบล แตล ะตําบล จะมีกํานันซ่งึ เจา เมอื งแตง ตงั้ เปนหัวหนา หลายตาํ บลรวมเปนแขวง มีเจาแขวงเปน หวั หนาหลายแขวงรวมเปน เมือง มี เจาเมอื งเปน ผูมีอาํ นาจสงู สดุ ของเมอื งนน้ั ๆ นอกจากน้ี ในการปกครอง บา นเมืองยังมกี ารใชก ฎหมาย ที่เรยี กวา กฎหมายตราสามดวง เปนหลกั เพื่อ ความสงบเรยี บรอ ยดวย ภาพวาดรชั กาลท่ี 1 โปรดเกลา ฯ ใหตรวจชาํ ระกฎหมายขึน้ ใหม เรียกวา กฎหมายตราสามดวง

พฒั นาการดานเศรษฐกิจ • การคา ภายในประเทศ ลกั ษณะเศรษฐกจิ เปน แบบยังชีพโดยผลิตเพือ่ บรโิ ภคใน ครัวเรอื น หากเหลอื จึงนําไปเสยี ภาษีอากรใหแกท างราชการและนาํ ไปแลกเปลี่ยน ซื้อขายกนั • การคากบั ตา งประเทศ อยภู ายใตก ารควบคุมของพระคลังสนิ คา ท่ผี ูกขาดการคา กับตา งประเทศ จนกระท่งั สมัยรชั กาลที่ 3 ไทยทําสนธสิ ญั ญาทางพระราชไมตรีและ การพาณิชยกบั องั กฤษ (ท่ีเรียกวา สนธิสญั ญาเบอรนีย) และกับสหรัฐอเมรกิ า ทําให สนิ คาออกของไทย เชน ขา ว นํ้าตาล พริกไทย เปน ทีต่ อ งการของพอคาตางชาติ จํานวนมาก ภาพวาดรัชกาลที่ 3 ทรงคา สาํ เภา หลวง กับตางประเทศเพื่อเพ่ิมพูน รายไดใ หแ กประเทศ

พัฒนาการดา นสงั คม • โครงสรา งสงั คมไทยสมัยรตั นโกสนิ ทรต อนตน พระมหากษตั รยิ  พระบรมวงศานวุ งศ ขุนนาง • ทรงเปนพระประมุข • เปนเครือญาติของ • บคุ คลทีร่ ับ ของราชอาณาจกั ร พระมหากษัตริย ราชการแผนดิน ทรงไดร ับการยกยอง มีศกั ดินาแตกตาง มีทัง้ ศักดนิ า ยศ ใหเปน สมมติเทพ กนั ไปตามฐานะ ราชทนิ นาม และทรงเปน และตําแหนง ธรรมราชา

ไพร ทาส พระภกิ ษสุ งฆ • ราษฎรท่ีตองถูก • บุคคลทีม่ ไิ ดม ี • บุคคลที่สืบทอด เกณฑแ รงงาน กรรมสทิ ธ์ใิ น พระพทุ ธศาสนา ใหก ับทางราชการ แรงงานและชีวิต ซ่งึ ไดรบั การ ทงั้ ในยามปกติ ของตนเอง ยกยองและ และยามสงคราม ตองตกเปน ทาส ศรัทธาจาก และตองสงั กัด ของนายจนกวา บคุ คลทกุ ชนช้นั มลู นาย จะไดไถตัว

พัฒนาการดา นความสัมพนั ธก บั รฐั เพอ่ื นบาน ความสัมพนั ธก ับพมา • ลกั ษณะความสัมพันธเ ปน การเผชิญหนาทางการทหาร โดยสงครามคร้งั สําคญั ท่สี ุด คอื สงครามเกา ทัพใน พ.ศ. 2328 ซึ่งตรงกบั สมยั รัชกาลท่ี 1 • สมยั รัชกาลที่ 2 และสมัยรชั กาลที่ 3 แมความสมั พนั ธจะยงั เปน การทาํ สงครามตอ กัน แตก็คอ ยๆ ลดลงตามลาํ ดบั ท้งั นี้เพราะพมา ตองหนั ไปเผชญิ หนา กบั การคุกคามของ ลทั ธิจักรวรรดนิ ยิ มตะวนั ตก คอื อังกฤษ พมา จงึ ไมไดค ุกคามไทยอีก สมรภมู ทิ ุง ลาดหญา จ. กาญจนบรุ ี ซ่งึ เปน สถานทที่ ่ีมีความเก่ียวขอ งกบั สงครามเกา ทพั

ความสมั พันธกบั ลา นนา พระเจากาวลิ ะ เจาเมอื ง • ลักษณะความสัมพันธเ ปนพนั ธมิตรทด่ี ีตอ กนั เชยี งใหม ทรงปกครองดูแล • สมยั รัชกาลท่ี 1 ทรงสง กองทพั ไปชวยขบั ไล หัวเมอื งเหนือทัง้ หมด พมาออกจากลานนา และชว ยปรบั ปรุงการ ปกครองภายในของลานนาใหม ีประสทิ ธภิ าพ มากขนึ้ ทรงสงเสรมิ และยกยองเจาเมืองเชียงใหม เชน สถาปนาพระยากาวิละ ซึ่งรบชนะพมาใหเ ปน พระเจาเชยี งใหม • สมยั รชั กาลท่ี 3 ทรงกระชบั ความสมั พนั ธ ใหแ นน แฟน มากขึน้ ดว ยการชว ยเหลือกิจการ ตา งๆ ในเมอื งเชยี งใหมใ หเ จรญิ กาวหนา

ความสมั พนั ธกบั ลา นชา ง • ลกั ษณะความสมั พนั ธม ีทั้งการเมือง การผูกไมตรี และการเผชิญหนาทางทหาร • สมยั รชั กาลท่ี 1 ไทยสามารถขยายอทิ ธพิ ลเขาไป ในลานชางไดมากข้ึน (ซงึ่ ลา นชางแตกแยกเปน 3 ฝา ย คอื เวียงจนั ทน หลวงพระบาง และ จาํ ปาศักดิ์ ตา งไมข น้ึ แกก นั และตกเปน ประเทศราชของ ไทยมาต้งั แตป ลาย สมยั ธนบรุ จี นถึงตนรัตนโกสินทร) • สมัยรัชกาลท่ี 3 เจาอนวุ งศแ หง เวียงจันทนไ ดก อ กบฏขึน้ เพ่อื เปน อสิ ระจากไทย แตไ ทยกป็ ราบปรามลง ไดใ นท่สี ดุ พระบรมราชานสุ าวรยี เ จา อนุวงศ

ความสมั พันธกบั เขมร • ลกั ษณะความสมั พันธจ ะเปนการเผชิญหนา ทางทหาร เพ่อื จะไดเ ขมรมาเปน รฐั กนั ชนระหวางไทยกบั ญวน • สมัยรัชกาลที่ 1 ไทยจดั การแตงตงั้ กษัตริยข้ึนปกครองเขมร • สมยั รชั กาลที่ 2 กษตั รยิ เ ขมรหันไปฝก ใฝญวน ไทยจงึ เขา ไปแทรกแซง การเมืองภายใน • สมยั รัชกาลที่ 3 ไทยกบั ญวนไดส รู บกันในดินแดนเขมร ผลการสรู บปรากฏวา ไทยกบั ญวนปกครองเขมรรว มกนั ภาพวาดรชั กาลท่ี 3 โปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาบดินทรเดชายกทัพไปปราบญวน ทข่ี ยายอํานาจเขา ไปในดนิ แดนเขมร

ความสมั พันธกบั หวั เมอื งมอญ • ลกั ษณะความสมั พนั ธเ ปน การผูกไมตรีและอปุ ถัมภพ วกมอญ • สมัยรชั กาลที่ 1 ทรงนํากองทัพไปชวยพระยาทวายรบกบั พมาท่ีครอบครอง เมอื งทวายไว • สมัยรชั กาลท่ี 2 ทรงอปุ ถมั ภชาวมอญท่ีอพยพเขามาโดยใหไปตั้งถิ่นฐานที่ แขวงเมืองนนทบรุ ี ปทมุ ธานี และนครเขอื่ นขนั ธ( พระประแดง) • สมยั รชั กาลท่ี 3 เมืองมะริด ทวาย ตะนาวศรี ตกเปนของอังกฤษ ไทยจึงไมย งุ เกี่ยวกับหวั เมอื งมอญอีก ภาพวาดรัชกาลท่ี 1 ทรงนําทพั ขามเขาตเี มืองทวายของมอญซ่งึ อยูใต การครอบครองของพมา ใน พ.ศ. 2330

ความสัมพนั ธกบั ญวน พระบรมสาทิสลกั ษณพระเจา เวยี ดนาม • ลกั ษณะความสัมพันธเปน การเผชิญหนา ยาลองหรือองเชยี งสือ ทางทหารเพือ่ แยง ชงิ ดนิ แดนเขมร • สมยั รชั กาลที่ 1 ญวนเกิดกบฏไกเซนิ (ไต เซนิ ) องเชียงสอื ไดหลบหนพี วกกบฏมา พ่ึงไทย • สมัยรชั กาลที่ 2 ไทยกบั ญวนบาดหมาง กันเรอื่ งเขมร เน่ืองจากเกดิ ความขัดแยง ภายในราชวงศเ ขมร ซึง่ ไทยกับญวนได สนับสนุนราชวงศเขมรแตล ะฝา ย • สมยั รัชกาลที่ 3 ไทยกับญวนเรมิ่ ทาํ สงครามกนั ดว ยเรือ่ งเขมร ผลจบลงท่ีท้ัง ไทยกบั ญวนรว มกนั ปกครองเขมร

ความสมั พันธก บั มลายู • ลักษณะความสมั พนั ธเ ปน การขยายอทิ ธพิ ลไปครอบครองทงั้ ดา นการผูกมติ รไมตรี และการเผชิญหนา ทางทหารในบางครงั้ • สมยั รัชกาลที่ 1 ไทยเรม่ิ ขยายอิทธพิ ลเขา ครอบครองหวั เมอื งมลายู และใหเ จา ผูครอง เชื้อสายเจา เมอื งเดิมปกครองสืบตอ กนั มา แตมีบางเมอื ง คอื ปต ตานไี ดย กทัพมาตี สงขลา ไทยไดยกกําลังขับไลแ ละเขายึดปต ตานไี ด จงึ แบง หวั เมอื งปตตานอี อกเปน 7 หวั เมอื ง และทรงใหข า ราชการไทยไปปกครองหวั เมอื งปตตานี สว นหัวเมืองทแี่ บง ออกใหมก ท็ รงใหค นไทยบาง ชาวมลายูบา งไปปกครอง และอยใู นความดแู ลของเมอื ง สงขลา นอกจากน้ัน ยงั โปรดเกลาฯ ใหช าวมลายปู กครองเมืองไทรบุรี และหัวเมือง ตา งๆ ท่ีแบง แยกใหม และทรงพระราชทานอภยั โทษใหแ กเจา พระยาไทรบรุ ี (ปะแง รัน) พรอมกบั ทรงอนุญาตใหกลบั มาปกครองหวั เมอื งไทรบุรีในฐานะเมอื งประเทศ ราชดังแตกอ น

พฒั นาการดา นความสมั พนั ธก บั จนี • ลักษณะความสมั พันธเ ปน ทางดานเศรษฐกจิ ภาพวาดเมืองกวางตุง ประตสู เู มอื งจีนทเ่ี รอื เพ่อื ผลประโยชนทางการคา ของราชทตู ไทยตองมาข้ึนฝง ทนี่ ีก่ อนเดนิ ทาง • การคาขายกบั จีนจะมลี ักษณะพเิ ศษ ที่ ตอ ไปยงั ปกก่งิ (ภาพวาดประมาณตน เรียกวา การคาแบบรัฐบรรณาการ โดยถา รฐั รตั นโกสนิ ทร ในหนังสอื The Opium War) ใดแตง ต้ังทูตพรอ มกับนาํ เครอ่ื งราช บรรณาการไปถวายจักรพรรดิจีน ราชสาํ นัก จนี ถือวา เขา มาออ นนอมและใหก ารรับรอง กษัตริยข องรัฐนัน้ ๆ และอนญุ าตใหซ ือ้ ขายกับ จีนได แตไทยไดสรางความสัมพนั ธก บั จีนก็ เพื่อตอ งการผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจ เทานน้ั มิได คดิ วาจะตอ งออนนอมตอจนี • แตอยา งใด

พัฒนาการดานความสมั พนั ธก บั ประเทศแถบตะวนั ตก ความสัมพนั ธกบั โปรตเุ กส • ลักษณะความสมั พนั ธเ ปน ดานเศรษฐกิจเพ่อื ผลประโยชนทางการคา • สมยั รัชกาลที่ 1 โปรตุเกสสงทตู มาเจรญิ สมั พันธไมตรี • สมัยรัชกาลท่ี 2 ผสู ําเร็จราชการโปรตเุ กสทเ่ี มอื งมาเกา สงทูตคมุ เคร่อื ง ราชบรรณาการเขามาถวายเพือ่ ขอเจรญิ พระราชไมตรกี ับไทย นอกจากน้ี รัชกาลที่ 2 ทรงอนุญาตใหช าวโปรตเุ กสเขามาคาขายในไทยได และต้ัง โรงตอเรือท่ีหนา บานกงสุลโปรตุเกสดว ย

ความสัมพันธกบั องั กฤษ สนธิสญั ญาเบอรน ยี  • ลกั ษณะความสมั พันธมีทัง้ การทตู การคา และการเมอื ง • สมยั รชั กาลท่ี 2 อังกฤษสง จอหน ครอวเฟรด มาเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี ับไทย เพ่อื เจรจาเรอื่ ง การคา แตไมประสบความสําเรจ็ • สมยั รัชกาลท่ี 3 อังกฤษสง รอ ยเอกเฮนรี เบอรนีย เขามาเจรจากบั ไทย และไดท ํา สนธสิ ัญญาทางพระราชไมตรแี ละการพาณิชย หรอื สนธสิ ัญญาเบอรน ยี ระหวางกันเมอ่ื พ.ศ. 2369 ตอมาองั กฤษสง เซอรเจมส บรคู เขา มา แกไขสนธิสัญญา เบอรนียก บั ไทย แตการ เจรจาไมส าํ เร็จ

ความสมั พนั ธก บั สหรฐั อเมรกิ า หมอบรัดเลย มชิ ชนั นารีอเมริกัน ผูไ ดช ือ่ • ลักษณะความสมั พนั ธม ที ้งั การคา และ วาเปนบิดาแหง การพิมพแ ละหนงั สอื พมิ พ วฒั นธรรมผานทางคณะมิชชนั นารี ของเมืองไทย • สมัยรชั กาลที่ 2 ชาวอเมรกิ นั เรม่ิ เขามาคาขาย และเขา มามากขน้ึ ในสมัยรชั กาลที่ 3โดยเฉพาะ คณะมชิ ชนั นารอี เมรกิ นั ทเ่ี ขามาเผยแพรค วามรู ดา นการพิมพ และนําความรทู างการแพทย สมัยใหมเขามา • นอกจากนี้ สมยั รัชกาลที่ 3 สหรฐั อเมริกายงั สง เอดมันด รอเบติ ส เขา มาทาํ สนธิสัญญาทาง พระราชไมตรีและการพาณชิ ยกบั ไทย ซ่งึ มี สาระสําคญั คลา ยกบั สนธิสญั ญาเบอรน ีย



การอพยพเขา มาของชาวจนี ในสมยั รัตนโกสนิ ทร สาเหตขุ องการอพยพออก ปจจยั ทที่ าํ ใหช าวจนี นอกประเทศของชาวจนี อพยพเขา มาในไทย การเมืองภายในของ ปจ จัยดา นความอุดม จีน สมบรู ณแ ละความสงบสุข ภัยธรรมชาติ ของแผน ดนิ ไทย การเพิ่มจาํ นวน ปจ จยั จากการมีชุมชน ของประชากร ชาวจนี ขนาดใหญใ นไทย

ผลของการอพยพเขา มาของชาวจนี ดานการเพมิ่ กาํ ลงั คน ซง่ึ ชวยเพิ่มแรงงานใหก ับเมืองไทยในเวลาท่ฟี น ฟู บา นเมืองไดเปน อยางดี ดา นการปกครอง ชาวจนี อพยพบางคนไดม บี ทบาททางการปกครอง โดยเปน ขนุ นางไทย เชน ชาวจีนช่อื เหยียง เปนพระยาสงขลา และ เปนตน ตระกลู ณ สงขลา ดา นเศรษฐกจิ ชาวจีนอพยพประกอบอาชีพตางๆ เชน การคา ทาํ สวน ผกั เลี้ยงสตั ว รวมถงึ เจา ภาษีนายอากร ซงึ่ มคี วามสาํ คญั ทางเศรษฐกิจ ของไทย ดา นสังคม ชาวจนี อพยพบางสวนไดทาํ การละเมดิ กฎหมาย เชน มกี าร รวมตวั กันเปนองั้ ยี่หรือสมาคมลบั และลกั ลอบซื้อขายฝน สงผลใหช าว ไทยสบู ดว ย ทางราชการจึงตองออกประกาศหามการซอ้ื ขายและสบู ฝน

การจัดระเบียบสงั คมชาวจนี ในสมัยรัตนโกสนิ ทร ใหช าวจนี จา ยเงินผูกปแทนการ ในเมืองทม่ี ชี าวจนี อพยพอยมู าก เกณฑแรงงาน ทาํ ใหม ีรายได ใหม กี รมการเมอื งหรอื เจาหนา ท่ี และควบคุมชาวจีน ของเมอื งเปน ชาวจนี ดว ย กวดขนั ใหหัวหนาหรอื เถา เก ซ่ึงเปน ในสมัยตอมา คอื รชั กาลท่ี 5 ทรงใหชาวจนี นายทนุ ชาวจีนที่รับชาวจีนอพยพ ตง้ั เปน สโมสรการคา เปน สมาคมในลกั ษณะอื่น เขา มา ใหค วบคมุ ดูแลชาวจนี ใหด ี ได ซึ่งตอ มาไดเปน สมาคมผบู ําเพญ็ ประโยชน เชน สมาคมมลู นธิ ิรวมกตญั ู



พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช พระราชกรณยี กจิ สาํ คัญ • ดานการเมอื งการปกครอง ทรงสถาปนากรุงเทพฯ เปนราชธานี ทรงสถาปนาราชวงศจกั รี โปรดเกลา ฯ ใหมีการชาํ ระกฎหมาย เรียกวา กฎหมายตราสามดวง • ดานความมน่ั คง ทรงปอ งกนั ราชอาณาจักรใหป ลอดภัย โดยเฉพาะอยา งยิง่ ในสงครามเกาทพั • ดา นศิลปวฒั นธรรม โปรดเกลา ฯ ใหส ังคายนาพระไตรปฎก ทรงสนพระทัยวรรณคดี จงึ มีวรรณคดีทส่ี ําคญั หลายเรอื่ ง เชน รามเกียรติ์ รวมถึงการแปลวรรณกรรมของตางชาติ เชน สามกก และราชาธริ าช

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั พระราชกรณยี กจิ สําคญั • ดานความม่ันคง โปรดเกลาฯ ใหค รัวมอญไปตงั้ ภมู ลิ ําเนาทแ่ี ขวงเมอื งปทุมธานี เมืองนนทบุรี และเมอื งนครเขอ่ื นขันธ โปรดเกลา ฯ ใหไ พรมารับราชการ 1 เดือน และอยกู บั ครอบครวั 3 เดอื น ทรงใหมกี ารตรากฎหมายหามสูบและซอ้ื ขายฝน • ดา นศลิ ปวฒั นธรรม ทรงมีพระปรีชาสามารถดานวรรณกรรมประเภทตา งๆ โปรดเกลาฯ ใหสรา งพระปรางควัดอรณุ ราชวราราม

พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจา อยหู วั พระราชกรณยี กจิ สาํ คญั • ดานความมนั่ คง ทรงปอ งกนั อาณาจกั รดว ยการสกดั กองทัพของเจา อนุวงศ ทรงประสบความสาํ เร็จในการยุติการสูรบระหวา งไทยกับญวน • ดานการคา กบั ตา งประเทศ ทรงสนับสนนุ การคาทง้ั กับเอเชยี และยโุ รป มีการลงนามในสนธิสญั ญาเบอรนีย • ดานศลิ ปกรรม ทรงมรี ับส่ังใหสรางเรือสาํ เภาท่วี ัดยานนาวา โปรดเกลา ฯ ใหจ ารึกวรรณคดสี ําคญั และวชิ าการแพทยล งแผน ศลิ า แลวติดไวต ามศาลารายรอบบริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม