Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Description: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Search

Read the Text Version

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรไทย สมัยรัตนโกสนิ ทรตอนตน



เหตุผลของการตงั้ กรงุ รัตนโกสินทรเ ปนราชธานี • ท่ีตั้งกรุงธนบุรีไมเ หมาะสม เพราะอยใู นทอ งคุง นํา้ เซาะตล่งิ พงั อยเู สมอ • บรเิ วณพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชคบั แคบ ไมส ะดวกตอ การขยายพระราชวังใหกวา งออกไป • ฝง กรงุ เทพฯ มชี ัยภูมิเหมาะ เพราะมีแมน ้ําเจาพระยาเปน คูเมืองทง้ั ดา นตะวันตก และดานใต ประกอบกับพ้ืนท่นี อกคูเมืองเดมิ เปนพนื้ ที่ ลมุ ที่เกดิ จากการตน้ื เขนิ ของทะเล ขาศึกจะยกทพั มาดา นน้ี ไดยาก

แผนที่แสดงอาณาเขตของกรงุ รัตนโกสินทร สมัยรชั กาลท่ี 1

ปจจัยทสี่ งผลตอความม่ันคงและความเจรญิ รุงเรอื ง พระปรชี า ศนู ยกลาง การมีลมมรสุม สามารถของ ของอาณาจกั ร พัดผา น ทาํ ให พระมหากษตั ริย มีเสนทางออกสู มีฝนตกชุก การเปนศนู ย การมีแมนํ้า รวมของการ ทะเล หลายสายไหล ขยายตวั ทางดา น ปจจยั ทส่ี ง ผลตอ ผานออกสทู ะเล ความมั่นคงและ บริเวณอาวไทย วฒั นธรรม ความเจริญรงุ เรอื ง ของไทย



พัฒนาการดานการเมอื งการปกครอง • การบรหิ ารราชการแผนดนิ ในสวนกลาง พระมหากษัตริย กรม กรม กรม กรม กรม กรม มหาด กลา เมอื ง วงั ทา นา ไทย โหม

• การบริหารราชการแผน ดินในสว นหวั เมอื ง การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ในสวนหวั เมอื ง หัวเมอื งชัน้ ใน หวั เมอื ง หัวเมือง ช้ันนอก ประเทศราช

• การบริหารราชการแผน ดินในสว นทอ งที่ ยงั คงประกอบดว ย หมบู านหรือบา น แตล ะหมบู านจะมีผใู หญบานซง่ึ เจาเมอื งแตงตั้งเปน หัวหนา หลายหมบู า นรวมเปน ตําบล แตล ะตําบล จะมกี าํ นนั ซ่ึงเจา เมืองแตง ตง้ั เปน หวั หนา หลายตาํ บลรวมเปน แขวง มีเจา แขวงเปนหัวหนาหลายแขวงรวมเปน เมอื ง มีเจาเมืองเปนผมู อี าํ นาจ สงู สุดของเมอื งน้ันๆ นอกจากน้ี ในการปกครองบานเมืองยงั มีการใชก ฎหมาย ท่ี เรียกวา กฎหมายตราสามดวง เปนหลกั เพอ่ื ความสงบเรยี บรอ ยดวย ภาพวาดรัชกาลท่ี 1 โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ รวจชาํ ระกฎหมายข้ึนใหม่ เรียกวา่ กฎหมายตราสามดวง

พัฒนาการดานเศรษฐกจิ • การคาภายในประเทศ ลักษณะเศรษฐกิจเปนแบบยงั ชพี โดยผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน หากเหลอื จงึ นาํ ไปเสียภาษอี ากรใหแ กท างราชการและนําไปแลกเปลีย่ นซือ้ ขายกัน • การคา กบั ตางประเทศ อยภู ายใตก ารควบคุมของพระคลังสินคาทผ่ี ูกขาดการคากบั ตางประเทศ จนกระทัง่ สมัยรชั กาลที่ 3 ไทยทาํ สนธิสญั ญาทางพระราชไมตรแี ละการ พาณชิ ยก ับองั กฤษ (ท่เี รยี กวา สนธสิ ัญญาเบอรนีย) และกับสหรัฐอเมรกิ า ทาํ ใหส นิ คา ออกของไทย เชน ขาว น้ําตาล พริกไทย เปน ท่ตี อ งการของพอคาตางชาติจาํ นวนมาก ภาพวาดรชั กาลที่ 3 ทรงคาสําเภาหลวง กับตา งประเทศเพอ่ื เพ่มิ พนู รายได ใหแกประเทศ

พฒั นาการดา นสงั คม • โครงสรา งสงั คมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทรตอนตน พระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ ขนุ นาง • ทรงเปน พระประมขุ • เปนเครือญาติของ • บคุ คลท่ีรับ ของราชอาณาจักร พระมหากษัตรยิ  ราชการแผน ดนิ ทรงไดรบั การยกยอง มีศักดินาแตกตา ง มีทงั้ ศกั ดินา ยศ ใหเ ปนสมมตเิ ทพ กันไปตามฐานะ ราชทินนาม และทรงเปน และตําแหนง ธรรมราชา

ไพร ทาส พระภกิ ษสุ งฆ • ราษฎรที่ตองถกู • บุคคลทีม่ ไิ ดม ี • บุคคลที่สืบทอด เกณฑแ รงงาน กรรมสทิ ธ์ใิ น พระพทุ ธศาสนา ใหก ับทางราชการ แรงงานและชีวิต ซ่งึ ไดร บั การ ทง้ั ในยามปกติ ของตนเอง ยกยอ งและ และยามสงคราม ตองตกเปน ทาส ศรทั ธาจาก และตองสังกดั ของนายจนกวา บุคคลทกุ ชนชนั้ มูลนาย จะไดไถตัว

พฒั นาการด้านความสัมพนั ธ์กบั รัฐเพื่อนบ้าน ความสัมพนั ธก ับพมา • ลักษณะความสัมพันธเ ปนการเผชิญหนา ทางการทหาร โดยสงครามครั้งสําคัญที่สดุ คือ สงครามเกา ทัพใน พ.ศ. 2328 ซึ่งตรงกบั สมัยรชั กาลท่ี 1 • สมยั รัชกาลท่ี 2 และสมัยรชั กาลท่ี 3 แมความสมั พนั ธจ ะยังเปนการทาํ สงครามตอกนั แตกค็ อยๆ ลดลงตามลําดับ ทัง้ นี้เพราะพมา ตอ งหันไปเผชญิ หนา กับการคกุ คามของ ลทั ธจิ ักรวรรดนิ ยิ มตะวันตก คอื องั กฤษ พมา จึงไมไ ดค ุกคามไทยอกี สมรภูมทิ ุงลาดหญา จ. กาญจนบุรี ซง่ึ เปน สถานทที่ ่ีมคี วามเกย่ี วของกบั สงครามเกา ทพั

ความสัมพนั ธกับลา นนา พระเจากาวิละ เจาเมืองเชียงใหม • ลักษณะความสัมพนั ธเปนพันธมติ รทด่ี ตี อ กนั ทรงปกครองดูแลหวั เมืองเหนอื ทงั้ หมด • สมัยรัชกาลท่ี 1 ทรงสงกองทัพไปชวยขับไล พมาออกจากลานนา และชว ยปรบั ปรงุ การ ปกครองภายในของลา นนาใหมีประสทิ ธิภาพ มากขึ้น ทรงสงเสริมและยกยองเจา เมืองเชยี งใหม เชน สถาปนาพระยากาวิละ ซึ่งรบชนะพมา ใหเ ปน พระเจาเชียงใหม • สมยั รชั กาลที่ 3 ทรงกระชบั ความสัมพันธ ใหแ นน แฟนมากขึ้น ดวยการชวยเหลอื กิจการตา งๆ ในเมอื งเชยี งใหมให เจรญิ กาวหนา

ความสมั พนั ธกับลานชา ง • ลกั ษณะความสัมพนั ธม ีทั้งการเมือง การผกู ไมตรี และการเผชญิ หนาทางทหาร • สมยั รัชกาลที่ 1 ไทยสามารถขยายอทิ ธิพลเขา ไป ในลา นชางไดมากข้นึ (ซงึ่ ลา นชางแตกแยกเปน 3 ฝาย คอื เวยี งจันทน หลวงพระบาง และ จาํ ปาศักดิ์ ตางไมขึน้ แกกนั และตกเปนประเทศราชของ ไทยมาตง้ั แตปลาย สมยั ธนบรุ ีจนถงึ ตน รัตนโกสินทร) • สมัยรชั กาลที่ 3 เจา อนุวงศแ หง เวียงจนั ทนไดกอ กบฏขึน้ เพ่อื เปน อสิ ระจากไทย แตไ ทยกป็ ราบปรามลง ไดใ นทสี่ ดุ พระบรมราชานุสาวรยี เ จา อนวุ งศ

ความสัมพนั ธก บั เขมร • ลกั ษณะความสัมพันธจ ะเปนการเผชิญหนา ทางทหาร เพ่อื จะไดเ ขมรมาเปน รฐั กันชนระหวางไทยกบั ญวน • สมัยรชั กาลท่ี 1 ไทยจดั การแตงตงั้ กษัตริยข้ึนปกครองเขมร • สมยั รชั กาลท่ี 2 กษัตรยิ เ ขมรหันไปฝก ใฝญวน ไทยจงึ เขา ไปแทรกแซง การเมืองภายใน • สมยั รัชกาลที่ 3 ไทยกบั ญวนไดส รู บกันในดินแดนเขมร ผลการสรู บปรากฏวา ไทยกับญวนปกครองเขมรรว มกนั ภาพวาดรชั กาลท่ี 3 โปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาบดินทรเดชายกทัพไปปราบญวน ทข่ี ยายอํานาจเขา ไปในดนิ แดนเขมร

ความสัมพันธก บั หัวเมืองมอญ • ลักษณะความสมั พนั ธเ ปน การผูกไมตรแี ละอุปถัมภพ วกมอญ • สมัยรัชกาลท่ี 1 ทรงนาํ กองทพั ไปชวยพระยาทวายรบกับพมาท่ีครอบครอง เมืองทวายไว • สมยั รชั กาลที่ 2 ทรงอปุ ถัมภชาวมอญท่อี พยพเขา มาโดยใหไ ปตง้ั ถ่นิ ฐานที่ แขวงเมอื งนนทบรุ ี ปทมุ ธานี และนครเขอ่ื นขนั ธ(พระประแดง) • สมัยรชั กาลท่ี 3 เมืองมะริด ทวาย ตะนาวศรี ตกเปนขององั กฤษ ไทยจึงไมย งุ เก่ยี วกบั หัวเมืองมอญอกี ภาพวาดรัชกาลที่ 1 ทรงนาํ ทพั ขา้ มเขาตีเมืองทวายของมอญซ่ึงอยใู่ ต้ การครอบครองของพม่าใน พ.ศ. 2330

ความสมั พนั ธก ับญวน พระบรมสาทิสลกั ษณพ ระเจาเวยี ดนาม • ลกั ษณะความสัมพันธเปนการเผชิญหนา ยาลองหรอื องเชียงสือ ทางทหารเพอ่ื แยงชิงดนิ แดนเขมร • สมยั รัชกาลท่ี 1 ญวนเกดิ กบฏไกเซนิ (ไตเซิน) องเชยี งสอื ไดหลบหนีพวกกบฏ มาพึง่ ไทย • สมัยรชั กาลท่ี 2 ไทยกับญวนบาดหมาง กันเรอื่ งเขมร เนือ่ งจากเกดิ ความขดั แยง ภายในราชวงศเ ขมร ซ่งึ ไทยกับญวนได สนบั สนุนราชวงศเ ขมรแตละฝาย • สมยั รชั กาลท่ี 3 ไทยกบั ญวนเรม่ิ ทาํ สงครามกันดวยเรื่องเขมร ผลจบลงทีท่ ง้ั ไทยกบั ญวนรวมกันปกครองเขมร

ความสมั พันธกับมลายู • ลักษณะความสัมพนั ธเ ปน การขยายอทิ ธพิ ลไปครอบครองทง้ั ดา นการผูกมิตรไมตรี และการเผชิญหนาทางทหารในบางครงั้ • สมัยรัชกาลท่ี 1 ไทยเร่มิ ขยายอิทธพิ ลเขา ครอบครองหวั เมอื งมลายู และใหเ จาผูครอง เช้ือสายเจาเมืองเดิมปกครองสืบตอ กนั มา แตมีบางเมือง คอื ปต ตานไี ดยกทพั มาตีสงขลา ไทยไดย กกาํ ลังขบั ไลและเขายดึ ปต ตานไี ด จึงแบง หวั เมืองปต ตานอี อกเปน 7 หวั เมอื ง และทรงใหขา ราชการไทยไปปกครองหวั เมืองปตตานี สวนหัวเมอื งท่แี บง ออกใหมกท็ รงให คนไทยบา ง ชาวมลายูบางไปปกครอง และอยูในความดแู ลของเมืองสงขลา นอกจากนนั้ ยังโปรดเกลา ฯ ใหช าวมลายปู กครองเมอื งไทรบุรี และหัวเมืองตางๆ ที่แบง แยกใหม และทรงพระราชทานอภยั โทษใหแกเจาพระยาไทรบรุ ี (ปะแงรัน) พรอ มกับทรงอนุญาต ใหก ลับมาปกครองหวั เมืองไทรบุรใี นฐานะเมืองประเทศราชดงั แตก อ น

พฒั นาการด้านความสัมพนั ธ์กบั จีน • ลกั ษณะความสมั พนั ธ์เป็นทางดา้ นเศรษฐกิจ ภาพวาดเมืองกวางตุง้ ประตูสู่เมืองจีนที่เรือ เพอ่ื ผลประโยชน์ทางการคา้ ของราชทูตไทยตอ้ งมาข้ึนฝั่งท่ีนี่ก่อนเดินทาง ต่อไปยงั ปักกิ่ง (ภาพวาดประมาณตน้ รัตนโกสินทร์ • การคา้ ขายกบั จีนจะมีลกั ษณะพเิ ศษ ท่ีเรียกวา่ การคา้ แบบรัฐบรรณาการ โดยถา้ รัฐใดแต่งต้งั ในหนงั สือ The Opium War) ทูตพร้อมกบั นาํ เคร่ืองราชบรรณาการไปถวาย จกั รพรรดิจีน ราชสาํ นกั จีนถือวา่ เขา้ มาอ่อน นอ้ มและใหก้ ารรับรองกษตั ริยข์ องรัฐน้นั ๆ และอนุญาตใหซ้ ้ือขายกบั จีนได้ แต่ไทย ไดส้ ร้างความสมั พนั ธก์ บั จีนกเ็ พ่ือตอ้ งการ ผลประโยชนท์ างดา้ นเศรษฐกิจเท่าน้นั มิได้ คิดวา่ จะตอ้ งอ่อนนอ้ มต่อจีนแต่อยา่ งใด

พฒั นาการดา นความสมั พันธกับประเทศแถบตะวันตก ความสมั พนั ธก บั โปรตุเกส • ลักษณะความสมั พนั ธเ ปนดา นเศรษฐกจิ เพ่อื ผลประโยชนทางการคา • สมัยรัชกาลท่ี 1 โปรตุเกสสงทตู มาเจริญสมั พันธไมตรี • สมยั รชั กาลที่ 2 ผูสําเรจ็ ราชการโปรตุเกสที่เมืองมาเกา สงทตู คมุ เครอ่ื งราช บรรณาการเขา มาถวายเพอ่ื ขอเจรญิ พระราชไมตรกี บั ไทย นอกจากน้ี รชั กาล ท่ี 2 ทรงอนญุ าตใหชาวโปรตเุ กสเขา มาคา ขายในไทยได และตั้งโรงตอเรือท่ี หนาบา นกงสุลโปรตุเกสดวย

ความสัมพนั ธกับองั กฤษ สนธิสญั ญาเบอรนยี  • ลักษณะความสมั พนั ธมที ง้ั การทตู การคา และการเมือง • สมยั รชั กาลที่ 2 องั กฤษสง จอหน ครอวเฟร ด มาเจรญิ สัมพนั ธไมตรกี ับไทย เพือ่ เจรจาเรอื่ งการคา แตไมประสบความสาํ เรจ็ • สมัยรชั กาลท่ี 3 อังกฤษสงรอ ยเอกเฮนรี เบอรนีย เขา มาเจรจากบั ไทย และไดท ําสนธสิ ญั ญาทางพระ ราชไมตรีและการพาณชิ ย หรือสนธสิ ัญญาเบอรนยี  ระหวา งกันเมอ่ื พ.ศ. 2369 ตอมาอังกฤษสง เซอร เจมส บรูค เขามาแกไ ขสนธสิ ญั ญา เบอรนียก ับไทย แตการเจรจาไมส าํ เรจ็

ความสัมพนั ธก ับสหรัฐอเมรกิ า หมอบรัดเลย มชิ ชนั นารีอเมริกัน ผูไ ดช ือ่ • ลักษณะความสมั พนั ธมที ้ังการคา และ วาเปนบิดาแหง การพิมพแ ละหนงั สอื พมิ พ วฒั นธรรมผานทางคณะมชิ ชนั นารี ของเมืองไทย • สมัยรัชกาลท่ี 2 ชาวอเมรกิ ันเร่ิมเขา มาคา ขาย และเขามามากขน้ึ ในสมัยรัชกาลที่ 3โดยเฉพาะ คณะมชิ ชนั นารีอเมรกิ นั ทเี่ ขา มาเผยแพรความรู ดา นการพิมพ และนาํ ความรูทางการแพทย สมยั ใหมเขามา • นอกจากน้ี สมัยรชั กาลที่ 3 สหรัฐอเมริกายังสง เอดมนั ด รอเบิตส เขา มาทําสนธสิ ญั ญาทาง พระราชไมตรแี ละการพาณิชยก ับไทย ซึง่ มี สาระสําคญั คลายกบั สนธิสัญญาเบอรน ีย



การอพยพเขา มาของชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร สาเหตุของการอพยพออก ปจ จัยที่ทําใหชาวจีน นอกประเทศของชาวจนี อพยพเขา มาในไทย การเมอื งภายในของจนี ปจจยั ดา นความอดุ ม ภยั ธรรมชาติ สมบูรณและความสงบสขุ การเพม่ิ จาํ นวน ของประชากร ของแผน ดินไทย ปจจัยจากการมีชมุ ชน ชาวจนี ขนาดใหญใ นไทย

ผลของการอพยพเขา มาของชาวจีน ดา นการเพ่มิ กําลงั คน ซ่งึ ชว ยเพิ่มแรงงานใหกับเมอื งไทยในเวลาท่ฟี น ฟู บานเมอื งไดเปนอยา งดี ดโตดนา ยนตเกประานกรขปลู ุนกนณคารงสอไงทงขยลชาเาชวนจชนี าอวพจยีนพชบ่ือาเงหคยนียไดงม เปบี นทพบราะทยทาาสงงกขาลราปกแคลระอเปงน ดานเศรษฐกิจ ชาวจีนอพยพประกอบอาชีพตา งๆ เชน การคา ทําสวนผัก เลยี้ งสตั ว รวมถงึ เจา ภาษีนายอากร ซ่งึ มคี วามสําคญั ทางเศรษฐกิจของไทย ดา นสงั คม ชาวจนี อพยพบางสว นไดทาํ การละเมิดกฎหมาย เชน มกี ารรวมตวั กนั เปน อั้งยหี่ รือสมาคมลบั และลกั ลอบซื้อขายฝน สง ผลใหชาวไทยสูบดว ย ทางราชการจงึ ตอ งออกประกาศหามการซอื้ ขายและสบู ฝน

การจดั ระเบยี บสังคมชาวจีนในสมยั รัตนโกสินทร ใหชาวจนี จายเงินผกู ปแ ทนการ ในเมืองที่มีชาวจีนอพยพอยมู าก เกณฑแรงงาน ทาํ ใหม รี ายได ใหม กี รมการเมอื งหรอื เจาหนาที่ และควบคุมชาวจนี ของเมอื งเปนชาวจนี ดวย กวดขันใหห ัวหนาหรือเถา เก ซง่ึ เปน ในสมัยตอมา คอื รัชกาลท่ี 5 ทรงใหช าวจนี นายทุนชาวจีนทรี่ บั ชาวจนี อพยพ ตั้งเปน สโมสรการคาเปนสมาคมในลักษณะ เขา มาใหควบคมุ ดแู ลชาวจนี ใหด ี อ่นื ได ซึ่งตอ มาไดเปนสมาคมผบู ําเพญ็ ประโยชน เชน สมาคมมลู นิธริ วมกตญั ู



พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช พระราชกรณยี กิจสําคญั • ดา นการเมืองการปกครอง ทรงสถาปนากรุงเทพฯ เปนราชธานี ทรงสถาปนาราชวงศจ กั รี โปรดเกลาฯ ใหมกี ารชาํ ระกฎหมาย เรียกวา กฎหมายตราสามดวง • ดา นความมน่ั คง ทรงปอ งกันราชอาณาจกั รใหปลอดภัย โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในสงครามเกาทัพ • ดานศลิ ปวฒั นธรรม โปรดเกลา ฯ ใหส งั คายนาพระไตรปฎก ทรงสนพระทัยวรรณคดี จึงมวี รรณคดีท่ีสําคัญหลายเรอ่ื ง เชน รามเกยี รติ์ รวมถึงการแปลวรรณกรรมของตา งชาติ เชน สามกก และราชาธริ าช

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา นภาลัย พระราชกรณยี กจิ สาํ คญั • ดานความม่นั คง โปรดเกลาฯ ใหครัวมอญไปตงั้ ภูมลิ ําเนาท่ีแขวงเมืองปทมุ ธานี เมืองนนทบุรี และเมอื งนครเขอื่ นขันธ โปรดเกลา ฯ ใหไพรม ารบั ราชการ 1 เดือน และอยูกับครอบครัว 3 เดอื น ทรงใหม กี ารตรากฎหมายหา มสูบและซอ้ื ขายฝน • ดานศลิ ปวฒั นธรรม ทรงมพี ระปรชี าสามารถดานวรรณกรรมประเภทตางๆ โปรดเกลาฯ ใหสรางพระปรางคว ดั อรณุ ราชวราราม

พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลาเจา อยหู วั พระราชกรณยี กิจสาํ คญั • ดา นความมนั่ คง ทรงปอ งกันอาณาจกั รดว ยการสกัดกองทัพของเจา อนวุ งศ ทรงประสบความสําเร็จในการยตุ ิการสูรบระหวา งไทยกบั ญวน • ดา นการคากับตางประเทศ ทรงสนบั สนุนการคา ท้งั กับเอเชยี และยโุ รป มีการลงนามในสนธสิ ัญญาเบอรนีย • ดา นศลิ ปกรรม ทรงมีรับส่งั ใหสรา งเรอื สาํ เภาทีว่ ดั ยานนาวา โปรดเกลาฯ ใหจารึกวรรณคดีสาํ คญั และวชิ าการแพทยลงแผน ศลิ า แลวตดิ ไวต ามศาลารายรอบบรเิ วณวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม