อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผูใ ชรถจกั รยานยนต ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2558 โดย มลู นิธไิ ทยโรดส และเครอื ขา ยเฝาระวัง สถานการณความปลอดภยั ทางถนน • ศนู ยว ิจัยอบุ ตั เิ หตแุ หงประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยแี หงเอเชีย • คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม • คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร • สำนักวชิ าวศิ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี • คณะโลจสิ ติกส มหาวทิ ยาลยั บรู พา • สำนักวิชาวศิ วกรรมศาสตรแ ละทรพั ยากร มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ • คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั นครพนม ภายใตก ารสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)
อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผูใ้ ชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 โดย มลู นธิ ไิ ทยโรดส์ และเครือขา่ ยเฝ้าระวังสถานการณค์ วาม ปลอดภัยทางถนน • ศนู ย์วจิ ัยอบุ ัติเหตแุ ห่งประเทศไทย สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย • คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ • คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร • สำ�นักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี • คณะโลจสิ ตกิ ส์ มหาวิทยาลัยบูรพา • สำ�นักวิชาวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละทรัพยากร มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ • คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยนครพนม ภายใตก้ ารสนับสนนุ ของ ส�ำ นกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) กันยายน 2559 www.thairoads.org
ข้อมลู ทางบรรณานุกรม อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 ผู้จดั ทำ� มูลนธิ ิไทยโรดสแ์ ละเครอื ขา่ ยเฝ้าระวงั สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนน ผ้สู นบั สนุน สำ�นักงานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ผู้จัดพมิ พ์ มลู นธิ ิไทยโรดส์ พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 กันยายน 2559 จำ�นวนพิมพ์ 500 เล่ม 2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ค�ำน�ำ รายงานผลส�ำรวจ “อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2558” จดั ทำ� ขนึ้ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) มวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอ่ื สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ สถานการณป์ จั จบุ นั ของพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ ในจังหวัดต่างๆ ทั่วภูมิภาคของประเทศ โดยสามารถน�ำไปใช้อ้างอิงเป็นข้อมูล พ้ืนฐานส�ำหรับการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของมาตรการท่ี มุ่งเน้นให้ผู้ขับข่ีและผู้โดยสารรถจักรยานยนต์สวมใส่หมวกนิรภัยมากยิ่งข้ึน ทงั้ ในแงข่ องการบงั คบั ใช้กฎหมาย การรณรงค์ การประชาสมั พันธ์ และอืน่ ๆ ขอ้ มลู ทนี่ ำ� เสนอในรายงานฉบบั นไ้ี ดม้ าจากการสำ� รวจเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี าร สังเกต (Observational survey) พฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถ จกั รยานยนตบ์ นทอ้ งถนน ประจำ� ปี พ.ศ. 2558 ครอบคลมุ พ้นื ที่ใน 77 จังหวดั ทั่วประเทศ ตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน ถึง เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2558 โดยเป็นการ ด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างมูลนิธิไทยโรดส์ และเครือข่ายเฝ้าระวังสถานการณ์ ความปลอดภยั ทางถนน (Road Safety Watch) ประกอบดว้ ยภาคเี ครือขา่ ย มหาวทิ ยาลยั ในแตล่ ะภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ศนู ยว์ จิ ยั อบุ ตั เิ หตแุ หง่ ประเทศไทย สถาบนั เทคโนโลยีแห่งเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ส�ำนักวิชา วศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี คณะโลจิสตกิ ส์ มหาวิทยาลยั บูรพา ส�ำนกั วชิ าวิศวกรรมศาสตร์และทรพั ยากร มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์ และ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยนครพนม คณะผู้จัดท�ำขอขอบพระคุณส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สขุ ภาพ (สสส.) ในฐานะผสู้ นบั สนนุ การสำ� รวจเกบ็ ขอ้ มลู ระดบั ประเทศในครง้ั น้ี รวมถึงศูนย์วิชาการเพ่ือความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.) มูลนิธิสาธารณสุข แห่งชาติ (มสช.) และผูท้ รงคุณวฒุ หิ ลายท่านที่มไิ ดเ้ อย่ นามไว้ ณ ท่ีนี้ ส�ำหรับ แนวคดิ และขอ้ แนะนำ� ทเี่ ปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตอ่ การดำ� เนนิ งาน ตลอดจนคณะ ผบู้ รหิ ารของมหาวทิ ยาลยั เครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนน ส�ำหรับการสนับสนุนจนท�ำให้มีเครือข่ายนักวิชาการเกิดข้ึนในระดับภูมิภาค เพอ่ื ตดิ ตามสถานการณ์ความปลอดภยั ทางถนนของประเทศไทย บทสรปุ ผู้บริหาร 3
ทา้ ยท่ีสดุ นี้ หากเพยี งบางส่วนของรายงานฉบบั น้จี ะถูกหยิบยกมาพจิ ารณาและ ได้เอ้ือประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานความปลอดภัยทางถนนไม่ว่าจะเป็นระดับ ทอ้ งถนิ่ หรอื ระดบั ประเทศ คณะผจู้ ดั ทำ� ขอยกความดคี วามชอบทง้ั หลายใหแ้ กผ่ ู้ ประสทิ ธป์ิ ระสาทวชิ าความรใู้ หแ้ กค่ ณะผจู้ ดั ทำ� หากรายงานฉบบั นม้ี ขี อ้ บกพรอ่ ง ประการใด คณะผจู้ ดั ท�ำขอนอ้ มรบั ความผิดพลาดไว้แตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว คณะท�ำงาน มูลนิธิไทยโรดส์ และ เครอื ขา่ ยเฝ้าระวังสถานการณ์ ความปลอดภัยทางถนน กันยายน 2559 4 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
คณะท�ำงาน บุคลากรหลกั มลู นธิ ิไทยโรดส์ มูลนิธไิ ทยโรดส์ ดร.ดนยั เรืองสอน มลู นธิ ไิ ทยโรดส์ ดร.ปิยพงษ์ จิวัฒนกุลไพศาล สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย นายณัฐพงศ ์ บุญตอบ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ผศ.ดร.กณั วรี ์ กนษิ ฐพ์ งศ ์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ดร.ดษุ ฏ ี สถิรเศรษฐทวี มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ดร.ปรีดา พชิ ยาพนั ธ ์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี ดร.นพดล กรประเสรฐิ มหาวิทยาลัยบูรพา ดร.ณฐั ภรณ์ เจรญิ ธรรม มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ ดร.ไพโรจน์ เรา้ ธนชลกุล มหาวิทยาลยั นครพนม ดร.นกุ ูล สขุ สวุ รรณ์ สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชีย นางสาวสมหฤทัย บุตรจนั ทร์ สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ เอเชยี สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชีย บุคลากรสนับสนุน สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ เอเชยี สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ เอเชีย นายปฎภิ าณ ปรงุ โพธ์ิ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย นายอรรถพล กมล สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี นายนท เชื้อสถาปนศิร ิ สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชยี นายนฤพล เดชพิชยั สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย นางสาวประภาสริ ิ จันทรแ์ จ้ง สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย นางสาวกนกพร ใจเย็น สถาบันเทคโนโลยีแหง่ เอเชยี นายภาณุวฒั น ์ มาลาย มหาวทิ ยาลัยนเรศวร นางสาวกมลวรรณ อสิ สระกลุ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร คณุ Trinh Thi Lan มหาวิทยาลัยนเรศวร คณุ Nira adhikari คุณ Sanjaya Wanninayake นายชัยวฒั น ์ แสงศรจี นั ทร์ นางสาวปารฉิ ตั ร บวั ชมุ นางสาวใกลร้ ่งุ พรอนันต์ คณะท�ำ งาน 5
นายวชิ ญะ สอ่ งแสง มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ นางสาวรัชฏาพร ธิสาไชย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นางสาวพัชรพรรณ นนั ทวสิ ทิ ธ ิ์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ นายประมุข ปราบจะบก มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี นายไกรสหี ์ ทิพยวงศ์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี นายปฐมยศ แยกโคกสูง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี นายทศั นยั กองสอน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี นางสาวธิดารตั น ์ ขอหวนกลาง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี นางสาวสิรวิ รร สงทอง มหาวทิ ยาลยั บรู พา นางสาวเยาวลักษณ ์ ทองแดง มหาวทิ ยาลยั บรู พา นายบุญเชิด จกั รบตุ ร มหาวทิ ยาลัยบรู พา นางสาวโสภา ประทมุ มินทร์ มหาวิทยาลัยบรู พา นางสาวนชุ รนี า ยานา มหาวิทยาลัยบรู พา ดร.ปกรณ์ ดษิ ฐกจิ มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์ นางสาวปรมิ ลกั ษณ์ คงวัดใหม่ มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ นางสาว อนุษา วงศ์น้อย มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ นายวญิ ญู ยงสถริ โชติ มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นายอามาน หมัดอาดมั มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ์ นายอบั ดุลรอมนั จิงจาเละ มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์ นายอัสม ี สามะ มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นายแวฮมั ร ี แวมายิ มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์ นายธวชั ชัย บวั ทพิ ย์ มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ นายนอุ นันท์ คุระแก้ว มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์ นางสาวณฐั ธดิ า นลิ จินดา มหาวทิ ยาลยั นครพนม นายพงษศ์ ักดิ์ มณกี ุล มหาวทิ ยาลยั นครพนม นายศราวธุ ไผแ่ ก้ว มหาวทิ ยาลัยนครพนม นางสาวเจนทรามาศ พิมพ์นอ้ ย มหาวิทยาลยั นครพนม 6 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
บทสรปุ ผู้บรหิ าร
บทสรุปผูบ้ รหิ าร การส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินถึงสถานการณ์ปัจจุบันเก่ียวกับ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตท์ ง้ั ในระดบั ประเทศและ ระดบั จงั หวดั สำ� หรบั เปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานในการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานของมาตรการที่มุ่งเน้นให้ผู้ขับขี่และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์สวมหมวก นริ ภยั มากยงิ่ ขนึ้ ทงั้ ในแงข่ องการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย การรณรงคแ์ ละประชาสมั พนั ธ์ และอน่ื ๆ ซง่ึ ได้ดำ� เนินการสำ� รวจตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2553 เป็นตน้ มา โดยอาศยั วธิ ี การสังเกต (Observational Survey) พฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผใู้ ช้ รถจกั รยานยนตบ์ นทอ้ งถนน ซงึ่ การสำ� รวจฯ ในปี พ.ศ. 2558 น้ี ไดท้ ำ� การสำ� รวจ กลุ่มตวั อย่าง จำ� นวนรวมทงั้ สิน้ 1,490,975 คน แบ่งเปน็ ผู้ขบั ขี่ 1,100,398 คน และผโู้ ดยสาร 390,577 คน ด�ำเนนิ การครอบคลมุ พื้นท่ี 77 จงั หวดั ทวั่ ประเทศ โดยเริ่มตัง้ แตเ่ ดอื นมถิ ุนายน จนถึงเดือนธนั วาคม พ.ศ. 2558 ผลการสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย เปรียบเทยี บระหว่าง ปี พ.ศ. 2553 - 2558 ในภาพรวมของท้ังประเทศ สามารถ สรปุ ไดด้ งั นี้ อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ ปี พ.ศ. 2553-2558 รวมผขู้ ับขี่และผโู้ ดยสาร ผ้ขู ับข ี่ ผโู้ ดยสาร รวมทงั้ ประเทศ 53 54 55 56 57 58 53 54 55 56 57 58 53 54 55 56 57 58 จ�ำแนกตามชว่ งอายุ ผูใ้ หญ่ 44% 46% 43% 43% 42% 43% 53% 54% 52% 51% 51% 51% 19% 24% 20% 19% 19% 20% วัยรนุ่ 52% 53% 49% 49% 47% 47% 57% 58% 55% 54% 53% 53% 24% 32% 26% 25% 25% 24% 32% 34% 28% 23% 24% 22% 42% 41% 37% 32% 34% 32% 16% 19% 13% 10% 11% 12% เด็ก - - - - - - - - - - - - 8% 9% 7% 7% 7% 7% เมือ่ พิจารณาเปรยี บเทยี บผลการสำ� รวจตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2553-2558 ในภาพรวม ทงั้ ประเทศ พบวา่ อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ในภาพรวมมแี นวโน้มลดลงเล็กนอ้ ย ในช่วงปี พ.ศ. 2554-2555 และมีแนวโนม้ คงทอ่ี ย่างต่อเน่อื งตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน ซง่ึ เม่อื พิจารณาจ�ำแนกตาม ตำ� แหนง่ ทนี่ งั่ (เฉพาะผขู้ บั ขแ่ี ละเฉพาะผโู้ ดยสาร) กพ็ บวา่ มแี นวโนว้ ไปในทศิ ทาง เดยี วกนั 8 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผใู้ ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ผลการสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั จำ� แนกตามพนื้ ทท่ี ท่ี ำ� การสำ� รวจ เปรยี บ เทียบระหว่างเขตชุมชนเมือง (ชั้นภูมิที่ 1) และเขตชุมชนชนบท (ชั้นภูมิที่ 3) ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2553-2558 ในภาพรวมของท้งั ประเทศ สรุปได้ดงั น้ี อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของผใู้ ช้รถจกั รยานยนต์ ปี พ.ศ. 2553-2558 รวมผูข้ บั ข่แี ละผโู้ ดยสาร ผู้ขับขี่ ผโู้ ดยสาร 53 54 55 56 57 58 53 54 55 56 57 58 53 54 55 56 57 58 เขตชมุ ชนเมอื ง 74% 76% 74% 72% 70% 71% 86% 85% 84% 83% 81% 81% 39% 42% 39% 37% 36% 36% (ชัน้ ภมู ทิ ่ี 1)1 เขตชมุ ชนชนบท 29% 30% 28% 29% 29% 30% 36% 36% 34% 34% 35% 36% 12% 15% 12% 12% 13% 13% (ชน้ั ภมู ิที่ 3)2 ผลการส�ำรวจเปรียบเทียบอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2553-2558 ระหว่างพ้ืนที่เขตชุมชนเมือง (ช้ันภูมิที่ 1) และเขตชุมชนชนบท (ชั้นภูมิที่ 3) ยังคงพบว่ามีแนวโน้มเช่นเดิม คือ เขตชุมชนเมืองมีอัตราการสวมหมวกนิรภัย คอ่ นขา้ งสงู กวา่ เขตชมุ ชนชนบทเกอื บเทา่ ตวั เมอื่ พจิ ารณาแนวโนม้ อตั ราการสวม หมวกนริ ภยั ระหวา่ งพน้ื ทเ่ี ขตชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2553-2558 พบวา่ อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ทงั้ ในพน้ื ทเี่ ขตชมุ ชนเมอื งและเขตชมุ ชนชนบท มแี นวโนม้ เพ่ิมขน้ึ เล็กนอ้ ยใน ปี พ.ศ. 2558 1. ชนั้ ภูมิที่ 1 เขตเมอื งขนาดใหญ่ คือ เทศบาลนครหรอื เทศบาลเมืองทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของจงั หวดั 2. ชั้นภมู ทิ ี่ 3 เขตเมืองขนาดเล็กหรือชุมชนชนบท คอื เทศบาลตำ� บลท่ีมปี ระชากรนอ้ ยกว่า 20,000 คน บทสรปุ ผ้บู ริหาร 9
สอวัตมรหากมาวรกนริ ภยั ของผูใชรถจักรยานยนตในประเทศไทย ป พ.ศ. 2558 รวมผูขบั ข่�และผูโดยสาร 43เปฉรละ่ียเททศวั่ รอยละ 1. สิงหบ ุร� 45% 2. อางทอง 34% มากกวา 80% 3. ปทุมธานี 56% 61% - 80% 4. นครปฐม 37% 41% - 60% 5. นนทบุร� 60% 21% - 40% 6. กรงุ เทพมหานคร 76% นอยกวา 21% 7. สมุทรปราการ 56% 8. สมุทรสาคร 41% 9. สมุทรสงคราม 47% Twhwawiro.faadcesFboouonkd.caotmion/ แหลง ขอ มูล : ผลการสำรวจจากจำนวนกลมุ ตัวอยางผูใชรถจกั รยานยนต 1,490,975 ราย ในพน้� ที่ 77 จังหวดั ทวั่ ประเทศ ระหวางเดอื น พฤษภาคม - ธนั วาคม 2558 มลู นิธิไทยโรดส เคร�อขาย Road Safety Watch และสำนักงานกองสนับสนุนการสรา งเสร�มสขุ ภาพ
สอวตั มรหากมาวรกนริ ภยั ของผูใชรถจักรยานยนตในประเทศไทย ป พ.ศ. 2558 เฉพาะผูขับข่� 51เปฉรละีย่เททศั่ว รอ ยละ 1. สิงหบรุ � 54% 2. อา งทอง 41% มากกวา 80% 3. ปทมุ ธานี 70% 61% - 80% 4. นครปฐม 50% 41% - 60% 5. นนทบุร� 71% 21% - 40% 6. กรุงเทพมหานคร 86% นอ ยกวา 21% 7. สมุทรปราการ 69% 8. สมุทรสาคร 52% 9. สมุทรสงคราม 62% Twhwawiro.faadcesFboouonkd.caotmion/ แหลง ขอ มูล : ผลการสำรวจจากจำนวนกลมุ ตัวอยางผูใชร ถจกั รยานยนต 1,490,975 ราย ในพน้� ที่ 77 จังหวดั ท่วั ประเทศ ระหวา งเดอื น พฤษภาคม - ธนั วาคม 2558 มลู นิธิไทยโรดส เคร�อขา ย Road Safety Watch และสำนกั งานกองสนบั สนนุ การสรางเสรม� สุขภาพ
สอวตั มรหากมาวรกนิรภัย ของผูใชร ถจักรยานยนตในประเทศไทย ป พ.ศ. 2558 เฉพาะผูโ ดยสาร 20เฉลี่ยทั่ว รอ ยละ ประเทศ 1. สิงหบ รุ � 22% 2. อางทอง 14% มากกวา 80% 3. ปทมุ ธานี 13% 61% - 80% 4. นครปฐม 6% 41% - 60% 5. นนทบุร� 25% 21% - 40% 6. กรุงเทพมหานคร 40% นอ ยกวา 21% 7. สมทุ รปราการ 24% 8. สมุทรสาคร 8% 9. สมุทรสงคราม 9% Twhwawiro.faadcesFboouonkd.caotmion/ แหลงขอ มูล : ผลการสำรวจจากจำนวนกลมุ ตัวอยางผูใชรถจักรยานยนต 1,490,975 ราย ในพน้� ท่ี 77 จังหวัดทั่วประเทศ ระหวางเดอื น พฤษภาคม - ธนั วาคม 2558 มลู นธิ ิไทยโรดส เครอ� ขาย Road Safety Watch และสำนกั งานกองสนบั สนนุ การสรางเสร�มสขุ ภาพ
สารบญั คำ� นำ� หน้า คณะท�ำงาน I บทสรุปส�ำหรับผู้บรหิ าร Iii สารบัญ v สารบญั รูป xi สารบญั ตาราง บทที่ 1 บทน�ำ xiii 1.1 ความเปน็ มาและวัตถุประสงค ์ xvi 1.2 โครงสร้างรายงาน 20 21 บทท่ี 2 ระเบียบวธิ ีการสำ� รวจ 2.1 ขอบเขตและวธิ กี ารส�ำรวจ 24 2.2 การออกแบบการสมุ่ ตัวอย่าง 25 2.3 การออกแบบต�ำแหนง่ จุดสำ� รวจ 28 2.4 แนวทางการวเิ คราะห์และรวบรวมขอ้ มลู 31 2.5 สรปุ จ�ำนวนกลมุ่ ตัวอย่างจากการสำ� รวจ 32 บทที่ 3 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 37 3.1 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผู้ขับขแ่ี ละผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2558 3.2 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผูข้ บั ข่ี ปี พ.ศ. 2558 40 3.3 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผูโ้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 3.4 การจัดล�ำดับอัตราการสวมหมวกนริ ภยั จ�ำแนกตามภูมิภาค ปี พ.ศ. 2558 44 บทที่ 4 อัตราการสวมหมวกนิรภัยจำ� แนกตามกล่มุ ผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 4.1 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยของวยั รนุ่ และผู้ใหญ่ ปี พ.ศ. 2558 50 4.2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของเดก็ (เฉพาะผโู้ ดยสาร) ปี พ.ศ. 2558 54 บทท่ี 5 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยจ�ำแนกตามพ้นื ท่ี ปี พ.ศ. 2558 5.1 อัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผขู้ ับข่ีและผโู้ ดยสาร บริเวณชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท 56 ปี พ.ศ. 2558 58 5.2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของผขู้ บั ขี่ บริเวณชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2558 60 5.3 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผโู้ ดยสาร บริเวณชมุ ชนเมอื งและชุมชนชนบท ปี พ.ศ. 2558 บทสรุปผูบ้ ริหาร 13
สารบญั (ตอ่ ) บทท่ี 6 การเปลย่ี นแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภัยในประเทศไทย รายจงั หวัด ปี พ.ศ. 2553-2558 63 6.1 การเปล่ียนแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภัย รวมผู้ขบั ข่แี ละผโู้ ดยสาร รายจงั หวัด 64 ปี พ.ศ. 2553-2558 69 6.2 การเปลี่ยนแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผูข้ บั ขี่ รายจงั หวัด 74 ปี พ.ศ. 2553-2558 6.3 การเปล่ยี นแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผู้โดยสาร รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2553-2558 บทท่ี 7 จงั หวัดท่ีมอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภัยพฒั นาการดีเด่น ปี 2553-2558 7.1 จงั หวดั ที่มอี ัตราการสวมหมวกนริ ภยั พฒั นาการดเี ด่น ปี 2553-2558 ภาคเหนอื 80 7.2 จังหวัดทม่ี ีอัตราการสวมหมวกนิรภัยพัฒนาการดีเด่น ปี 2553-2558 84 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 88 7.3 จงั หวัดที่มีอัตราการสวมหมวกนิรภยั พัฒนาการดเี ดน่ ปี 2553-2558 92 ภาคกลางและตะวนั ออก 7.4 จังหวัดท่ีมอี ัตราการสวมหมวกนริ ภัยพฒั นาการดีเดน่ ปี 2553-2558 ภาคใต้ บทท่ี 8 สรปุ ผลการส�ำรวจและขอ้ เสนอแนะ 97 8.1 สถาณการณป์ ัจจุบันของการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย 98 8.2 แนวโนม้ ของการสวมหมวกนิรภัยของผใู้ ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย 99 ปี พ.ศ. 2553-2558 101 8.3 การเปลยี่ นแปลงและพฒั นาการของอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ในระดับจงั หวดั 103 ปี พ.ศ. 2553–2558 8.4 ข้อเสนอแนะส�ำหรบั การขบั เคลอ่ื นการรณรงค์ส่งเสรมิ การสวมหมวกนิรภัยของ ผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ภาคผนวก 106 ภาคผนวก ก แนวทางการสมุ่ ตัวอยา่ ง 107 ภาคผนวก ข แนวทางการวิเคราะห์อตั ราการสวมหมวกนิรภัย 111 ภาคผนวก ค ระบบสารสนเทศบริหารจดั การข้อมลู ส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนริ ภัย 121 ภาคผนวก ง ตารางผลการวิเคราะหอ์ ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั 14 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผูใ้ ช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
สารบญั รูป รปู ท่ี หน้า 2-1 ตวั อยา่ งการตง้ั กลอ้ งวิดโี อบันทกึ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภัย 24 2-2 ระบบสารสนเทศบริหารจดั การขอ้ มลู ส�ำรวจการสวมหมวกนิรภัยในประเทศไทย 31 3-1 อัตราการสวมหมวกนิรภัย รวมผขู้ บั ข่แี ละผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2553-2558 รายภาค 38 3-2 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผูข้ บั ขแ่ี ละผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 รายจังหวัด 39 3-3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผูข้ ับข่ี ปี พ.ศ. 2553-2558 รายภาค 40 3-4 อัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผู้ขับข่ี ปี พ.ศ. 2558 รายจังหวดั 41 3-5 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2553-2558 รายภาค 42 3-6 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2558 รายจงั หวัด 43 3-7 การจัดล�ำดบั อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผ้ขู ับขีแ่ ละผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 จำ� แนกตามภูมิภาค 45 3-8 การจัดลำ� ดับอัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผูข้ ับขี่ ปี พ.ศ. 2558 จ�ำแนกตามภมู ภิ าค 46 3-9 การจัดลำ� ดับอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผ้โู ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 จ�ำแนกตามภูมิภาค 47 4-1 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของวยั รนุ่ เปรยี บเทยี บระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2553-2558 51 4-2 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยของผู้ใหญ่ เปรียบเทียบระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2558 52 4-3 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผ้ขู บั ขี่และผโู้ ดยสารในกล่มุ วยั รนุ่ และผ้ใู หญ่ รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2558 53 4-4 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของเดก็ (เฉพาะผโู้ ดยสาร) เปรยี บเทียบระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2553-2558 54 5-1 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผขู้ บั ขีแ่ ละผโู้ ดยสาร บรเิ วณชุมชนเมอื งและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2558 รายภาค 56 5-2 เปรียบเทียบอัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผขู้ บั ขี่และผู้โดยสาร บรเิ วณชุมชนเมอื ง (ซ้าย) และชมุ ชนชนบท (ขวา) ปี พ.ศ. 2558 รายจงั หวัด 57 5-3 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ขับขี่ บริเวณชมุ ชนเมืองและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2558 รายภาค 58 5-4 เปรียบเทยี บอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผขู้ บั ข่ี บรเิ วณชมุ ชนเมือง (ซ้าย) และชุมชนชนบท (ขวา) ปี พ.ศ. 2558 รายจังหวัด 59 5-5 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของผ้โู ดยสาร บรเิ วณชุมชนเมืองและชุมชนชนบท ปี พ.ศ. 2558 รายภาค 60 5-6 เปรยี บเทียบอัตราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผู้โดยสารบรเิ วณชุมชนเมือง (ซา้ ย) และชุมชนชนบท (ขวา) ปี พ.ศ. 2558 รายจังหวดั 61 บทสรปุ ผบู้ รหิ าร 15
สารบญั รปู (ต่อ) หนา้ 65 รปู ที่ 66 6-1 การเปล่ยี นแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผขู้ ับขแ่ี ละผู้โดยสาร รายจังหวดั 67 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคเหนอื 68 6-2 การเปลี่ยนแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภยั รวมผู้ขบั ขี่และผู้โดยสาร รายจังหวัด 70 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 71 6-3 การเปลย่ี นแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั รวมผ้ขู ับข่แี ละผโู้ ดยสาร รายจังหวดั 72 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคกลางและภาคตะวันออก 73 6-4 การเปล่ียนแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั รวมผขู้ ับขี่และผู้โดยสาร รายจังหวดั 75 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคใต้ 76 6-5 การเปลี่ยนแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผู้ขบั ขี่ รายจังหวดั 77 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคเหนอื 78 6-6 การเปลย่ี นแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผูข้ บั ข่ี รายจังหวดั 81 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 82 6-7 การเปลีย่ นแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผูข้ ับข่ี รายจังหวดั 83 ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคกลางและภาคตะวนั ออก 85 6-8 การเปลี่ยนแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผู้ขบั ขี่ รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคใต ้ 6-9 การเปลีย่ นแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผูโ้ ดยสาร รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคเหนอื 6-10 การเปลี่ยนแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผ้โู ดยสาร รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 6-11 การเปลยี่ นแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผโู้ ดยสาร รายจงั หวัด ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคกลางและภาคตะวันออก 6-12 การเปลีย่ นแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้โดยสาร รายจงั หวัด ปี พ.ศ. 2553-2558 ภาคใต ้ 7-1 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวดั เชียงใหม ่ 7-2 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวัดเชียงราย 7-3 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน 7-4 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จังหวดั บึงกาฬ 16 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
สารบญั รปู (ต่อ) หนา้ 86 87 รปู ที่ 88 7-5 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวัดขอนแกน่ 89 7-6 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จังหวดั อำ� นาจเจรญิ 90 7-7 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวัดกรุงเทพมหานคร 91 7-8 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนริ ภัย ปี พ.ศ. 2553-2558 จังหวดั อ่างทอง 93 7-9 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวัดชัยนาท 94 95 7-10 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จังหวดั เพชรบุรี 7-11 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จังหวัดนครศรธี รรมราช 7-12 พฒั นาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 7-13 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2553-2558 จงั หวดั ภเู ก็ต บทสรุปผบู้ ริหาร 17
สารบญั ตาราง ตารางท ่ี หนา้ 2-1 สรปุ จำ� นวนจดุ ส�ำรวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผูใ้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 29 2-2 เครือข่ายหนว่ ยเฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภยั ทางถนน 33 2-3 สรุปจำ� นวนกล่มุ ตัวอยา่ งจากการสำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัย ปี พ.ศ. 2558 35 ก-1 แนวทางการสมุ่ ตัวอยา่ งส�ำหรับการสำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัยของผใู้ ช้ รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 106 ง-1 อัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผ้ขู บั ขแี่ ละผ้โู ดยสารรถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 122 ง-2 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยของผูข้ บั ข่ีรถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 124 ง-3 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยของผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 126 ง-4 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผู้ขบั ข่แี ละผโู้ ดยสารรถจักรยานยนต์ กลุ่มวัยรนุ่ และผูใ้ หญ่ ปี พ.ศ. 2558 128 ง-5 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยของผ้ขู ับข่ีรถจกั รยานยนต์ กล่มุ วยั รนุ่ และผใู้ หญ่ ปี พ.ศ. 2558 130 ง-6 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยของผโู้ ดยสารรถจักรยานยนต์ กลุ่มวัยรุ่นและผใู้ หญ่ ปี พ.ศ. 2558 132 ง-7 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผู้โดยสาร กลมุ่ เดก็ ปี พ.ศ. 2558 134 ง-8 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผูข้ ับขแี่ ละผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ บรเิ วณชุมชนเมอื ง และชุมชนชนบทปี พ.ศ. 2558 136 ง-9 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ขบั ขร่ี ถจกั รยานยนตบ์ ริเวณชุมชนเมอื ง บริเวณชมุ ชนเมอื ง และชุมชนชนบทปี พ.ศ. 2558 138 ง-10 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสารรถจักรยานยนตบ์ รเิ วณชมุ ชนเมอื ง บรเิ วณชุมชนเมือง และชมุ ชนชนบทปี พ.ศ. 2558 140 18 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
บทท่ี 1 บทนำ�
บทท่ี 1 บทน�ำ เนื้อหาในบทน้ีประกอบดว้ ย 1.1 ความเปน็ มาและวัตถุประสงค์ 1.2 โครงสร้างเนอ้ื หาของรายงาน 1.1 ความเปน็ มาและวัตถุประสงค์ การสูญเสียอันเนื่องมากจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยในแต่ละปีนั้น ส่วนหนึ่งเป็นการเสียชีวิตอันเน่ืองมาจากการบาดเจ็บที่ศีรษะของผู้ใช้รถ จักรยานยนต์ ท้ังนี้ จากผลงานวิจัยถึงประสิทธิผลของการสวมหมวกนิรภัยใน ประเทศไทย พบว่า การสวมหมวกนิรภัยสามารถช่วยลดโอกาสการเสียชีวิต อันเนอ่ื งมาจากการบาดเจ็บทีศ่ รี ษะได้ถงึ รอ้ ยละ 43 ส�ำหรับผ้ขู บั ขี่ และร้อยละ 58 สำ� หรบั ผโู้ ดยสาร1 แสดงใหเ้ หน็ วา่ หากผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตท์ ปี่ ระสบอบุ ตั เิ หตุ มีการสวมหมวกนิรภัย จะมีส่วนช่วยให้การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทยมีจำ� นวนลดลง อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ การสวมหมวกนริ ภยั สำ� หรบั ผขู้ บั ขแ่ี ละผโู้ ดยสารรถจกั รยานยนต์ ไดก้ �ำหนดไวเ้ ปน็ ข้อบังคับตามกฎหมาย ตงั้ แต่ เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2537 และ มกี ารบังคับใชท้ ั่วประเทศ เมื่อวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2539 แตท่ ีผ่ ่านมายังคงมี ผู้ใช้รถจักรยานยนต์จ�ำนวนมากที่ยังละเลยการสวมหมวกนิรภัยในขณะขับขี่ หรอื โดยสารรถจกั รยานยนต์ ดังที่สามารถพบเหน็ ไดท้ ่วั ไปตามท้องถนน ดังน้ัน เพ่ือประเมินถึงสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับพฤติกรรมการสวมหมวก นริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) จงึ ไดส้ นบั สนนุ ใหม้ ลู นธิ ไิ ทยโรดสท์ ำ� การสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย โดยเริ่มด�ำเนินการส�ำรวจต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553 เปน็ ตน้ มา ตอ่ เนื่องมาจนถงึ ปัจจบุ นั ปี พ.ศ. 2558 เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมูล ระดบั ประเทศและระดบั จงั หวดั สำ� หรบั เปน็ พนื้ ฐานในการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานของมาตรการทม่ี งุ่ เนน้ ใหผ้ ขู้ บั ขแี่ ละผโู้ ดยสารรถจกั รยานยนต์ สวมใส่หมวกนิรภัยมากยิ่งขึ้น ท้ังในแง่การบังคับใช้กฎหมาย การรณรงค์ การประชาสัมพนั ธแ์ ละอืน่ ๆ 1. Kanitpong. K, Boontob. N, and Tanaboriboon, Y. (2008). Helmet Use and Effectiveness in Reducing the Severity of Head Injuries in Thailand, Transportation Research Record 2048, Journal of Transportation Research Board, pp 66-76 20 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
รายงานฉบับน้ีน�ำเสนอผลส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถ จักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 พร้อมเปรียบเทียบผลการส�ำรวจ ทผ่ี า่ นมา ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2553-2557 ซ่งึ เปน็ การส�ำรวจเกบ็ ขอ้ มูลด้วยวิธกี าร สงั เกต (Observational Survey) ครอบคลุมพ้นื ทีใ่ น 77 จงั หวัดทั่วประเทศ ระหว่างเดือนมถิ ุนายน จนถงึ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2558 ภายใตก้ ารด�ำเนนิ งาน รว่ มกนั ระหวา่ งมลู นธิ ไิ ทยโรดส์ และเครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนน (Road Safety Watch) ประกอบด้วยภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัย ในแต่ละภูมภิ าค ประกอบด้วย • ศูนย์วิจยั อบุ ตั เิ หตุแห่งประเทศไทย สถาบนั เทคโนโลยีแห่งเอเชีย • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ • คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร • ส�ำนกั วิชาวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี • คณะโลจิสติกส์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา • ส�ำนักวชิ าวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ์ • คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยนครพนม 1.2 โครงสร้างเนือ้ หาของรายงาน เนื้อหาในส่วนต่อไปของรายงานฉบบั นี้ ประกอบดว้ ย บทท่ี 2 อธบิ ายถงึ ระเบยี บวิธกี ารส�ำรวจ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัยของ ผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตท์ ดี่ ำ� เนนิ การในครง้ั น้ี ประกอบดว้ ย สรปุ ขอบเขตและวธิ กี าร สำ� รวจ การออกแบบการสุม่ ตวั อย่าง การออกแบบตำ� แหน่งจุดสำ� รวจ รวมไปถงึ แนวทางการรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พรอ้ มทงั้ สรปุ จำ� นวนกลมุ่ ตวั อยา่ งจาก การสำ� รวจใน ปี พ.ศ. 2558 บทที่ 3 น�ำเสนอผลการส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 จ�ำแนกตามต�ำแหน่งท่ีน่ังของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ พร้อมเปรียบเทียบ ระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2553-2557 รวมไปถงึ การนำ� เสนอผลการสำ� รวจอตั ราการสวม หมวกนิรภัยรายจังหวดั บทท่ี 4 นำ� เสนอผลการสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2558 จำ� แนก ตามกลุม่ ผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ ได้แก่ ผใู้ หญ่ วยั รุ่นและเด็ก พร้อมเปรยี บเทียบ อตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ปี พ.ศ. 2553-2557 บทท่ี 1 บทนำ� 21
บทที่ 5 นำ� เสนอผลการสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2558 จำ� แนก ตามพน้ื ที่ ระหวา่ งบรเิ วณชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท พรอ้ มเปรยี บเทยี บอตั รา การสวมหมวกนริ ภัย ปี พ.ศ. 2553-2557 บทที่ 6 น�ำเสนอการเปล่ียนแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภัยในประเทศไทย รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2553-2558 โดยจ�ำแนกตามต�ำแหน่งท่ีน่ังของผู้ใช้ รถจกั รยานยนต์ เชน่ รวมผขู้ บั ขแ่ี ละผโู้ ดยสาร เฉพาะผขู้ บั ขี่ และเฉพาะผโู้ ดยสาร บทที่ 7 นำ� เสนอจังหวัดท่ีมีอัตราการสวมหมวกนริ ภัยพฒั นาการดีเด่น ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2553-2558 โดยคดั เลือกจงั หวัดท่มี อี ัตราการสวมหมวกนริ ภัยพัฒนาการ ดเี ดน่ 3 อนั ดบั แรกในแต่ละภมู ิภาค 22 อัตราการสวมหมวกนริ ภัย ของผใู้ ช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
บทท่ี 2 ระเบยี บวธิ กี ารส�ำ รวจ
บทท่ี 2 ระเบียบวิธกี ารสำ� รวจ เน้ือหาในบทน้ีประกอบดว้ ย 2.1 ขอบเขตและวธิ กี ารสำ� รวจ 2.2 การออกแบบการสุ่มตวั อยา่ ง 2.3 การออกแบบตำ� แหน่งจดุ ส�ำรวจ 2.4 สรุปจ�ำนวนกลุ่มตวั อยา่ งจากการส�ำรวจ 2.1 ขอบเขตและวธิ ีการส�ำรวจ การส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในปี พ.ศ. 2558 เป็นการด�ำเนินงานส�ำรวจครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัดทั่วประเทศ ดว้ ยการสำ� รวจเกบ็ ขอ้ มลู ในภาคสนามดว้ ยวธิ กี ารสงั เกต (Observational Survey) โดยการตง้ั กลอ้ งวดิ โี อบนั ทกึ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของกลมุ่ ตวั อยา่ งบน ท้องถนน (รปู ท่ี 2-1) เชน่ เดียวกบั ท่ีไดด้ �ำเนนิ การ ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2553-2557 และบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในแบบฟอรม์ การถอดขอ้ มลู การสำ� รวจ ไดแ้ ก่ การสวมหมวก นิรภัย ต�ำแหนง่ ที่นัง่ และชว่ งอายุโดยประมาณแบ่งเปน็ ผู้ใหญ่ วัยรนุ่ และเด็ก จากนั้นน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์และประมวลผลในรูปของอัตราการสวมหมวก นิรภัยของผใู้ ช้รถจักรยานยนต์ รูปท่ี 2-1 ตัวอย่างการตั้งกล้องวิดโี อบันทกึ พฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภยั 24 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผูใ้ ชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
2.2 การออกแบบการส่มุ ตวั อย่าง การสำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 คณะท�ำงานยังคงใช้จดุ สำ� รวจเดยี วกันกับการสำ� รวจในปี พ.ศ. 2553-2557 ท่ี ผา่ นมา โดยพจิ ารณาถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งกรงุ เทพมหานครและจงั หวดั อนื่ ๆ ในแงข่ องลกั ษณะการใชท้ ด่ี นิ รปู แบบการเดนิ ทาง ความหนาแนน่ ของประชากร รวมไปถงึ สภาพแวดล้อมในรูปแบบเมอื ง จงึ ได้แบง่ แนวทางการสุ่มตวั อยา่ งเป็น 2 กรณี ได้แก่ การส�ำรวจในเขตกรุงเทพมหานคร และการส�ำรวจในจังหวัด ภูมภิ าค โดยมีรายละเอยี ดแนวทางการสมุ่ ตวั อย่างดังต่อไปน้ี 2.2.1 การสมุ่ ตวั อยา่ งในกรุงเทพมหานคร เปน็ การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบชน้ั ภมู ิ (Stratified Random Sampling) โดยแบง่ พน้ื ท่ี 50 เขต ของกรงุ เทพมหานครออกเป็น 50 ช้นั ภูมิ และในแต่ละช้ันภมู ิ ท�ำการสมุ่ คดั เลอื กจุดส�ำรวจจากแผนทโี่ ครงขา่ ยถนนจ�ำนวน 2 จดุ คือ บริเวณทางแยกบน ถนนสายหลกั และบริเวณทางแยกบนถนนสายรอง ดงั นัน้ จดุ สำ� รวจพฤติกรรม การสวมหมวกนริ ภัยในเขตกรุงเทพมหานครมจี �ำนวนรวมทั้งสนิ้ 100 จดุ เพอ่ื ให้ไดข้ ้อมลู ตัวแทนพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนต์ ทกุ กลมุ่ การสำ� รวจในภาคสนามจงึ ไดด้ ำ� เนินการครอบคลมุ ทงั้ วันธรรมดาและ วันหยดุ ทั้งชว่ งเวลาเชา้ กลางวนั เย็น และกลางคนื แบง่ ออกเป็น 7 รอบ คือ 07:00-08:00 น. 09:00-10:00 น. 11:00-12:00 น. 13:00-14:00 น. 15:00- 16:00 น. 17:00-18:00 น. และ 19:00-20:00 น. โดยใช้วิธกี ารสมุ่ เลอื กวนั และ เวลาส�ำหรับการส�ำรวจจุดละ 1 รอบ และสังเกตเก็บข้อมูลต่อเน่ืองเป็นระยะ เวลา 1 ชว่ั โมง 2.2.2 การส่มุ ตัวอยา่ งในจงั หวดั ภูมิภาค เปน็ การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบชน้ั ภมู ิ (Stratified Random Sampling) โดยพจิ ารณา เฉพาะกลมุ่ ตวั อยา่ งผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตท์ เ่ี ดนิ ทางในละแวกเขตเมอื งหรอื ชมุ ชน ของแตล่ ะจังหวัด โดยข้ันทหี่ นึง่ ทำ� การแบง่ พนื้ ท่ขี องจังหวดั ออกเป็น 3 ชนั้ ภมู ิ ตามขนาดประชากรและลักษณะความเป็นเมือง และสุ่มเลือกพื้นท่ีส�ำรวจ จากนั้น ขั้นที่สองท�ำการสุ่มเลือกจุดส�ำรวจเก็บข้อมูลบริเวณทางแยก หรือ ช่วงถนนท่รี ถชะลอตัว ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ บทที่ 2 ระเบียบวิธีการสำ�รวจ 25
ชั้นภูมิที่ 1 เขตเมืองขนาดใหญ่ คือ เทศบาลนครหรือเทศบาลเมืองที่เป็น ศูนย์กลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจของจังหวัด โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จำ� นวน 1 เทศบาล เป็นพื้นทีส่ �ำรวจ ตอ่ จากนน้ั สุม่ เลือกจดุ ส�ำรวจเก็บข้อมูล ตามจำ� นวนท่ขี ้ึนอยูก่ ับจำ� นวนประชากรในเทศบาลทีถ่ ูกเลอื ก ดังนี้ • สุ่มเลอื ก 14 จุด หากเทศบาลมปี ระชากรนอ้ ยกว่า 1 แสนคน • สมุ่ เลือก 28 จดุ หากเทศบาลมีประชากรมากกวา่ 1 แสนคน ชั้นภูมิที่ 2 เขตเมืองขนาดกลาง คอื เทศบาลเมอื งในอ�ำเภออื่นๆ หรือเทศบาล ตำ� บลทม่ี ีประชากรมากกวา่ 20,000 คน โดยพจิ ารณาการกระจายของทตี่ ัง้ ทางภมู ศิ าสตร์ในการสุม่ เลอื กเทศบาลเปน็ พนื้ ทส่ี �ำรวจ ใหไ้ ดค้ รบตามจ�ำนวนท่ี กำ� หนดไว้ในหลักเกณฑด์ งั นี้ • ส่มุ เลือก 2 เทศบาล หากในชัน้ ภมู ิมีเทศบาลน้อยกวา่ 3 แห่ง • สุ่มเลอื ก 3 เทศบาล หากในช้ันภมู ิมีเทศบาล 4 – 8 แหง่ • สมุ่ เลอื ก 4 เทศบาล หากในชนั้ ภูมิมเี ทศบาลมากกว่า 8 แห่ง ตอ่ จากนนั้ สมุ่ เลอื กจดุ สำ� รวจเกบ็ ขอ้ มลู ตามจำ� นวนทขี่ น้ึ อยกู่ บั จำ� นวนประชากร ในเทศบาลทีถ่ กู เลอื กจากข้นั แรก ดงั น้ี • สุ่มเลอื ก 4 จุด หากเทศบาลมีประชากรน้อยกวา่ 20,000 คน • สุม่ เลือก 8 จุด หากเทศบาลมีประชากร 20,000 – 40,000 คน • สมุ่ เลอื ก 12 จุด หากเทศบาลมปี ระชากรมากกวา่ 40,000 คน ชนั้ ภมู ทิ ่ี 3 เขตเมอื งขนาดเลก็ หรอื ชมุ ชนชนบท คอื เทศบาลตำ� บลทมี่ ปี ระชากร นอ้ ยกวา่ 20,000 คน โดยน�ำจ�ำนวนเทศบาลในชัน้ ภมู นิ ี้ท้งั หมดมาจดั เป็นกลมุ่ (Cluster) ตามทีต่ งั้ ทางภมู ิศาสตร์ จากนน้ั สมุ่ เลอื กเทศบาลเปน็ พนื้ ทีส่ �ำรวจใน แต่ละกลุ่มโดยความน่าจะเป็นในการสุ่มเป็นสัดส่วนกับจ�ำนวนประชากรให้ได้ ครบตามจ�ำนวนท่ีกำ� หนดไว้ในหลักเกณฑ์ดังนี้ • สุ่มเลือก 4 เทศบาล หากในช้ันภมู มิ เี ทศบาลน้อยกว่า 10 แห่ง • สมุ่ เลือก 8 เทศบาล หากในช้นั ภูมิมีเทศบาล 11 – 20 แหง่ • สุ่มเลือก 12 เทศบาล หากในช้นั ภูมมิ เี ทศบาล 21 – 30 แห่ง • สุ่มเลอื ก 16 เทศบาล หากในชัน้ ภมู ิมเี ทศบาลมากกว่า 30 แหง่ ต่อจากน้นั สุม่ เลือกจุดส�ำรวจเก็บขอ้ มูลจ�ำนวน 2 จดุ คอื บริเวณ ใจกลางเทศบาล และทางเขา้ ออกเขตเทศบาล 26 อัตราการสวมหมวกนริ ภัย ของผใู้ ช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
สำ� หรบั แผนการส�ำรวจในภาคสนามของจุดสำ� รวจในแตล่ ะช้นั ภมู ิ อาศยั วิธกี าร สมุ่ ตวั อยา่ งกระจายตามวนั และเวลา เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ตวั แทนพฤตกิ รรมการสวม หมวกนิรภัยของผใู้ ชร้ ถจักรยานยนตท์ ุกกลุ่ม โดยแบง่ ออกไดด้ ังนี้ ช้นั ภูมทิ ่ี 1 ใช้วิธีการสมุ่ ตวั อย่างใหไ้ ด้ข้อมลู ท่ีกระจายครอบคลุมทง้ั วันธรรมดา และวันหยุด และท้ังช่วงเวลาเช้า กลางวัน เย็น และกลางคืน แบ่งออกเป็น 7 รอบ คอื 07:00-08:00 น. 09:00-10:00 น. 11:00-12:00 น. 13:00-14:00 น. 15:00-16:00 น. 17:00-18:00 น. และ 19:00-20:00 น. โดยสมุ่ เลือกวันและ เวลาท่ที �ำการส�ำรวจจุดละ 1 รอบ และสงั เกตเก็บข้อมูลตอ่ เนือ่ งเปน็ ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง ชน้ั ภมู ทิ ี่ 2 ใช้วธิ กี ารส่มุ ตัวอยา่ งใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทก่ี ระจายครอบคลุมทั้งวนั ธรรมดา และวนั หยุด ท้ังชว่ งเวลาเช้า กลางวนั และเย็น แบง่ ออกเปน็ 6 รอบ คือ 07:00- 08:00 น. 09:00-10:00 น. 11:00-12:00 น. 13:00-14:00 น. 15:00-16:00 น. และ 17:00-18:00 น. โดยสมุ่ เลือกวันและเวลาท่ที ำ� การสำ� รวจจุดละ 1 รอบ และสงั เกตเกบ็ ข้อมลู ต่อเน่ืองเปน็ ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง ช้ันภูมทิ ่ี 3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างใหไ้ ด้ข้อมูลทีก่ ระจายครอบคลุมท้ังวันธรรมดา และวนั หยดุ และทง้ั ชว่ งเวลาเชา้ กลางวนั เยน็ แบง่ ออกเปน็ 4 รอบ คอื 07:00- 09:00 น. 10:00-12:00 น. 13:00-15:00 น.และ 16:00-18:00 น. โดยสุ่มเลอื ก วันและเวลาที่ส�ำรวจในเทศบาลแต่ละแห่ง ทั้งนี้ในแต่ละรอบนั้นแบ่งเป็นการ ส�ำรวจจุดแรก 45 นาที ตามดว้ ยจดุ ทส่ี องเป็นระยะเวลา 45 นาทเี ชน่ เดียวกนั แนวทางการสุ่มตัวอย่างส�ำหรับการส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยใน พนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานครและจงั หวดั ภมู ภิ าคดงั ทอี่ ธบิ ายขา้ งตน้ ไดส้ รปุ เปน็ ตาราง ไวใ้ นภาคผนวก ก โดยแนวทางการวิเคราะหอ์ ัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้ รถจักรยานยนต์ ดว้ ยวธิ กี ารหาค่าเฉลย่ี ถว่ งน้ำ� หนัก ได้อธิบายไวใ้ น ภาคผนวก ข บทที่ 2 ระเบยี บวิธีการสำ�รวจ 27
2.3 การออกแบบต�ำแหนง่ จดุ ส�ำรวจ สำ� หรบั การออกแบบตำ� แหนง่ จดุ สำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้ รถจกั รยานยนตใ์ นแตล่ ะชนั้ ภมู ิ ในขน้ั แรกคณะทำ� งานทำ� การสมุ่ เลอื กตำ� แหนง่ ของ จุดส�ำรวจโดยอาศัยข้อมูลเบ้ืองต้นจากแผนที่โครงข่ายถนนและแผนท่ีภาพถ่าย ทางอากาศ ตามด้วยการตรวจสอบความเหมาะสมของจุดส�ำรวจในภาคสนาม โดยอาศัยหลักเกณฑ์ดังต่อไปน้ี เพื่อให้การคัดเลือกและก�ำหนดต�ำแหน่งจุด ส�ำรวจในแต่ละจังหวัดมีความสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันก�ำหนด ตำ� แหนง่ ของจดุ สำ� รวจใหก้ ระจายครอบคลุมโครงข่ายถนนบรเิ วณพน้ื ทส่ี ำ� รวจ 1) ต�ำแหน่งของจุดส�ำรวจควรต้ังอยู่บริเวณจุดตัดทางแยกของเส้นทางสัญจรที่ สำ� คญั โดยอาจเปน็ ทางแยกทมี่ หี รอื ไมม่ กี ารควบคมุ ดว้ ยสญั ญาณไฟจราจร ทาง เข้าออกสถานที่ส�ำคัญ หรือบริเวณช่วงถนนในย่านชุมชนที่มีสภาพการจราจร ชะลอตวั เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ทสี่ ำ� รวจสามารถสงั เกตกลมุ่ ตวั อยา่ งผขู้ บั ขแ่ี ละผโู้ ดยสาร รถจกั รยานยนต์ได้อย่างชัดเจน 2) กำ� หนดฝง่ั ของทางแยกหรอื ชว่ งถนน รวมถงึ ทศิ ทางจราจรทจี่ ะทำ� การสำ� รวจ ด้วยวิธีการสุ่ม โดยให้พิจารณาถึงจุดส�ำรวจใกล้เคียงเพ่ือหลีกเล่ียงโอกาสการ เกดิ ความซำ้� ซอ้ นในการสงั เกตและบนั ทกึ ขอ้ มลู กลมุ่ ตวั อยา่ งจากรถจกั รยานยนต์ คนั เดยี วกัน 3) จากหลกั เกณฑด์ งั กลา่ ว คณะทำ� งานไดอ้ อกแบบและกำ� หนดตำ� แหนง่ ของจดุ สำ� รวจ พฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั ในแตล่ ะช้นั ภูมิ พร้อมทัง้ จดั ท�ำระบบฐานข้อมูล จุดส�ำรวจฯ อาทิเช่น พิกัดต�ำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ รูปถ่าย แผนที่สังเขป ทศิ ทางในการสำ� รวจ ลกั ษณะทางกายภาพ เพ่ือสามารถน�ำไปใชอ้ า้ งองิ ในการ ลงพนื้ ทส่ี �ำรวจเกบ็ ขอ้ มูลภาคสนามตอ่ ไป คณะทำ� งานไดอ้ าศยั แนวทางดงั ทอ่ี ธบิ ายขา้ งตน้ ในการออกแบบการสมุ่ ตวั อยา่ ง และก�ำหนดจุดส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของแต่ละจังหวัด โดย สามารถสรุปจ�ำนวนจุดส�ำรวจฯ ท่ีด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2558 ในภาพรวมทั้ง ประเทศ 3,274 จุด แบง่ ออกเปน็ 1,290 จดุ ในเขตเมืองขนาดใหญ่ (ชัน้ ภมู ทิ ี่ 1) 560 จุด ในเขตเมืองขนาดกลาง (ชัน้ ภูมทิ ่ี 2) และ 1,424 จดุ ในเขตเมอื ง ขนาดเล็ก (ชั้นภมู ทิ ่ี 3) ทั้งนจี้ ดุ ส�ำรวจของแตล่ ะจงั หวดั มีจ�ำนวนแตกตา่ งกันขึ้น อยกู่ บั ขนาดของพนื้ ทแี่ ละจำ� นวนประชากร โดยมจี ำ� นวนเรม่ิ ตง้ั แต่ 22 จดุ จนถงึ 84 จดุ สำ� หรบั จงั หวดั ภมู ภิ าค ในขณะทพี่ น้ื ทกี่ รงุ เทพมหานครมจี ำ� นวนจดุ สำ� รวจ รวม 100 จุด โดยรายละเอียดของจำ� นวนจดุ สำ� รวจของแต่ละจังหวัด จ�ำแนก ตามชั้นภูมิของการออกแบบการสุ่มตวั อย่างแสดงไว้ใน ตารางท่ี 2-1 28 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย ของผ้ใู ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ตารางท่ี 2-1 สรปุ จำ� นวนจดุ ส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 ภาค จังหวัด ชนั้ ภมู ิ 1 ชน้ั ภูมิ 2 ช้ันภูมิ 3 รวม เหนอื เชียงใหม 28 12 32 72 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลําปาง 28 - 24 52 พษิ ณุโลก 14 - 16 30 อตุ รดิตถ 14 - 24 38 นครสวรรค 14 12 16 42 กําแพงเพชร 14 12 16 42 เชียงราย 14 8 32 54 ตาก 14 8 16 38 นาน 14 - 8 22 พะเยา 14 4 24 42 พิจิตร 14 12 24 50 เพชรบรู ณ 14 12 16 42 แพร 14 - 16 30 แมฮองสอน 14 - 8 22 ลาํ พนู 14 - 24 38 สุโขทยั 14 4 16 34 อทุ ัยธานี 14 - 16 30 นครราชสีมา 28 16 32 76 ขอนแกน 28 20 32 80 อดุ รธานี 28 16 32 76 สกลนคร 14 - 24 38 รอยเอ็ด 14 - 32 46 อุบลราชธานี 28 16 24 68 กาฬสนิ ธุ 14 - 32 46 ชยั ภมู ิ 14 - 24 38 นครพนม 14 - 16 30 บุรรี ัมย 14 4 32 50 มหาสารคาม 14 - 16 30 มุกดาหาร 14 - 8 22 ยโสธร 14 - 16 30 เลย 14 - 24 38 สรุ ินทร 14 - 24 38 ศรสี ะเกษ 14 4 16 34 หนองคาย 14 8 16 38 หนองบัวลําภู 14 8 16 38 อาํ นาจเจรญิ 14 - 8 22 บึงกาฬ 14 - 16 30 บทท่ี 2 ระเบียบวิธีการสำ�รวจ 29
ตารางที่ 2-1 สรุปจำ� นวนจดุ สำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภัยของผ้ใู ชร้ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2558 (ต่อ) ภาค จังหวดั ช้นั ภูมิ 1 ช้นั ภูมิ 2 ชนั้ ภูมิ 3 รวม กลางและตะวั นออก พระนครศรอี ยธุ ยา 14 8 24 46 กรุงเทพมหานคร 100 - - 100 ใต นนทบรุ ี 28 28 8 64 ปทุมธานี 14 36 16 66 สระบุรี 14 16 24 54 สมทุ รสาคร 14 20 8 42 นครปฐม 14 8 16 38 สพุ รรณบุรี 14 4 32 50 เพชรบรุ ี 14 16 16 46 ชัยนาท 14 - 24 38 ลพบรุ ี 14 16 16 46 สิงหบุรี 14 - 8 22 อางทอง 14 - 16 30 กาญจนบรุ ี 14 4 32 50 ประจวบครี ีขนั ธ 14 12 16 42 ราชบรุ ี 14 12 24 50 สมุทรสงคราม 14 - 8 22 ชลบรุ ี 28 32 24 84 ระยอง 14 12 24 50 จันทบุรี 14 8 24 46 ปราจนี บุรี 14 - 16 30 สมทุ รปราการ 14 36 8 58 ฉะเชงิ เทรา 14 - 24 38 ตราด 14 - 16 30 นครนายก 14 - 8 22 สระแกว 14 4 8 26 สรุ าษฎรธ านี 14 12 24 50 นครศรศี รีธรรมราช 14 16 24 54 สงขลา 28 24 24 76 ชมุ พร 14 4 16 34 ตรัง 14 4 16 34 กระบี 14 - 8 22 พงั งา 14 4 8 26 พัทลงุ 14 - 32 46 ภูเก็ต 14 20 8 42 ระนอง 14 - 8 22 สตูล 14 - 8 22 ยะลา 14 16 8 38 ปัตตานี 14 - 16 30 นราธิวาส 14 12 16 42 รวมทง้ั หมด 1,290 560 1,424 3,274 30 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
2.4 แนวทางการวิเคราะห์และรวบรวมขอ้ มูล ส�ำหรับแนวทางการวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลการส�ำรวจการสวมหมวกนิรภัย ในปี พ.ศ. 2558 นี้ ทางมลู นิธไิ ทยโรดส์ ยงั คงใช้ระบบสารสนเทศทางเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ (Web-Based Data Management) ทพ่ี ฒั นาขน้ึ มาใชส้ ำ� หรบั การ บรหิ ารจดั การขอ้ มลู ผลการสำ� รวจหมวกนริ ภยั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2555 ในการบรหิ าร จดั การขอ้ มลู การส�ำรวจฯ จากเครือข่าย Road Safety Watch ทวั่ ประเทศได้ อยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมไปถงึ ออกแบบใหร้ ะบบฯ สามารถตดิ ตาม ความก้าวหน้าและสถานะของการด�ำเนนิ งาน ตลอดจนการตรวจสอบความถูก ต้องของข้อมูลท่ีได้จากการประมวลผล พร้อมท้ังพัฒนาระบบให้สามารถ วิเคราะห์ผลการส�ำรวจออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ส�ำหรับราย ละเอียดของระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลส�ำรวจอัตราการสวมหมวก นริ ภัยในประเทศไทยได้แสดงไวใ้ น ภาคผนวก ค รปู ที่ 2-2 ระบบสารสนเทศบรหิ ารจดั การขอ้ มลู สำ� รวจการสวมหมวกนริ ภยั ในประเทศไทย บทท่ี 2 ระเบยี บวิธกี ารสำ�รวจ 31
2.5 สรุปจ�ำนวนกล่มุ ตัวอยา่ งจากการส�ำรวจ ด้วยการส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ครอบคลมุ พนื้ ทท่ี กุ จงั หวดั ทว่ั ประเทศ จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ระยะเวลาและบคุ ลากร จ�ำนวนมาก “เครือข่ายเฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน” หรือ “Road Safety Watch” จงึ ถกู จดั ตงั้ ขน้ึ เพอื่ ทำ� งานรว่ มกนั ในลกั ษณะของเครอื ขา่ ย ประกอบดว้ ย มลู นธิ ไิ ทยโรดส์ และสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ ในแตล่ ะภมู ภิ าค ของประเทศ ไดแ้ ก่ ศูนย์วจิ ัยอุบัตเิ หตุแหง่ ประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยแี ห่ง เอเชีย มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลยั นเรศวร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี มหาวทิ ยาลยั บูรพา มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ์ และมหาวิทยาลยั นครพนม โดยมลู นธิ ไิ ทยโรดส์ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ประธานเครอื ขา่ ยสว่ นกลาง รบั ผดิ ชอบในการ วางแผนและกรอบการด�ำเนินงาน ศึกษาและก�ำหนดแนวทางและขั้นตอนการ สำ� รวจ พฒั นาคมู่ อื การสำ� รวจและแบบฟอรม์ การบนั ทกึ ขอ้ มลู กำ� กบั และควบคมุ คุณภาพให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและรวบรวมข้อมูลเพ่ือวิเคราะห์ประมวลผล ในขณะทสี่ ถาบันการศกึ ษาต่างๆ ท�ำหนา้ ทเี่ ป็นหน่วยเฝา้ ระวงั ฯ ของเครอื ขา่ ย ในส่วนภูมิภาค รับผิดชอบงานออกแบบจุดส�ำรวจและเก็บข้อมูลในภาคสนาม รวมถึงการบันทึก และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลระดับจังหวัด ดังสรุป ในตารางที่ 2-2 32 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผ้ใู ชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ตารางที่ 2-2 เครือขา่ ยหนว่ ยเฝา้ ระวงั สถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนน ภาคเหนือตอนบน มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม เชียงใหม ลําปาง อุตรดิตถ เชียงราย ภาคเหนอื ตอนลา ง มหาวิทยาลัยนเรศวร แมฮอ งสอน นา น พะเยา แพร ลาํ พนู ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน มหาวิทยาลัยนครพนม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนลา ง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี พิษณุโลก นครสวรรค กําแพงเพชร ตาก พิจิตร เพชรบูรณ สโุ ขทยั อทุ ัยธานี ภาคกลาง ศูนยว จิ ัยอุบตั ิเหตุแหง ประเทศไทย สถาบนั เทคโนโลยีแหงเอเซีย สกลนคร นครพนม มกุ ดาหาร รอยเอด็ ภาคตะวันออก กาฬสนิ ธุ บงึ กาฬ ภาคใต มหาวทิ ยาลัยบรู พา นครราชสมี า ขอนแกน อดุ รธานี มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ อุบลราชธานี ชยั ภูมิ ุรรี ัมย มหาสารคาม ยโสธร เลย สรุ นิ ทร ศรสี ะเกษ หนองคาย หนองบัวลําภู อาํ นาจเจรญิ พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สระบุรี สมุทรสาคร นครปฐม สุพรรณบุรี เพชรบุรี ชยั นาท ลพบรุ ี สงิ หบ ุรี อางทอง กาญจนบรุ ี ประจวบคีรขี ันธ ราชบรุ ี สมุทรสงคราม ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี ปราจนี บุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ตราด นครนายก สระแกว สุราษฎรธ านี นครศรธี บรรมราช สงขลา ชมุ พร ตรงั กระบ่ี พงั งา พทั ลุง ภเู ก็ต ระนอง สตลู ยะลา ปตั ตานี นราธิวาส บทที่ 2 ระเบียบวิธีการสำ�รวจ 33
การสำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 ได้ด�ำเนินงานในภาคสนามต้ังแต่เดือนมิถุนายนถึงเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2558 สังเกตพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้รถ จักรยานยนต์จ�ำนวนรวมท้งั ส้นิ 1,490,975 คน แบ่งเป็นผูข้ บั ขี่ 1,100,398 คน และผู้โดยสาร 390,577 คน จากการส�ำรวจครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัดท่ัว ประเทศ โดยมีจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ส�ำรวจได้ในแต่ละจังหวัด ดังสรุปไว้ใน ตารางท่ี 2-3 ส�ำหรับผลการวิเคราะห์อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเด็นต่างๆ ไดส้ รปุ ไว้ในเนือ้ หาของบทถดั ไป โดยรายละเอียดของผลการ วิเคราะห์รายจังหวัดในแต่ละประเด็น พร้อมด้วยจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างและผล การวเิ คราะห์ชว่ งความเช่อื ม่นั ทางสถติ ิ ไดน้ ำ� เสนอไวใ้ น ภาคผนวก ง 34 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผ้ใู ช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ตารางท่ี 2-3 สรุปจ�ำนวนกลุ่มตวั อยา่ งจากการสำ� รวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2558 ภาค จังหวัด ช้ันภูมิ 1 ชั้นภมู ิ 1 ชั้นภูมิ 1 รวม เหนือ ผูขับขี่ ผโู ดยสาร ผขู บั ข่ี ผูโดยสาร ผูข ับข่ี ผโู ดยสาร ผขู บั ขี่ ผูโดยสาร เชียงใหม 21,585 6,329 6,707 1,997 14,847 4,259 43,139 12,585 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลําปาง 11,618 3,438 6,306 1,879 17,924 5,317 พิษณุโลก 6,674 1,971 -- 5,778 2,078 12,452 4,049 อุตรดิตถ 4,033 1,388 -- 2,876 998 6,909 2,386 นครสวรรค 8,478 3,424 -- 5,027 1,824 19,101 7,217 กําแพงเพชร 3,773 1,399 5,596 1,969 1,594 470 6,406 2,175 เชียงราย 3,544 1,042 1,039 306 4,902 1,234 11,079 3,024 ตาก 3,438 990 2,633 748 1,421 556 6,943 2,054 นา น 3,106 947 2,084 508 1,045 344 4,151 1,291 พะเยา 2,675 911 -- 1,771 550 4,893 1,637 พิจติ ร 3,844 1,286 447 176 1,924 463 9,842 3,037 เพชรบรู ณ 8,045 2,716 4,074 1,288 1,563 420 13,475 4,316 แพร 2,891 957 3,867 1,180 1,600 549 4,491 1,506 แมฮ องสอน 5,406 1,758 -- 1,566 654 6,972 2,412 ลําพูน 2,205 608 -- 2,056 647 4,261 1,255 สุโขทยั 2,036 577 -- 1,868 603 4,362 1,300 อทุ ยั ธานี 3,614 1,318 458 120 1,326 503 4,940 1,821 นครราชสมี า 13,564 4,214 -- 5,360 1,791 23,773 7,723 ขอนแกน 9,797 2,556 4,849 1,718 4,761 1,649 19,706 5,842 อุดรธานี 13,774 3,997 5,148 1,637 5,282 1,664 25,068 7,765 สกลนคร 6,691 1,821 6,012 2,104 6,902 1,230 13,593 3,051 รอยเอด็ 4,938 1,611 -- 3,891 910 8,829 2,521 อุบลราชธานี 10,920 3,313 -- 5,162 1,836 23,555 7,728 กาฬสนิ ธุ 1,914 724 7,473 2,579 4,222 1,567 6,136 2,291 ชัยภูมิ 3,344 1,156 -- 3,091 993 6,435 2,149 นครพนม 1,448 465 -- 2,688 1,068 4,136 1,533 บรุ ีรัมย 5,267 1,994 -- 7,095 2,913 14,575 5,863 มหาสารคาม 3,320 1,235 2,213 956 2,534 892 5,854 2,127 มกุ ดาหาร 2,216 681 -- 1,237 458 3,453 1,139 ยโสธร 1,321 446 -- 1,942 583 3,263 1,029 เลย 2,958 1,059 -- 3,544 1,036 6,502 2,095 สุรินทร 4,203 1,513 -- 6,562 2,402 10,765 3,915 ศรสี ะเกษ 3,233 1,080 -- 2,865 1,123 7,095 2,743 หนองคาย 1,275 446 997 540 3,085 960 6,882 2,118 หนองบัวลําภู 1,313 362 2,522 712 2,535 952 4,074 1,403 อาํ นาจเจรญิ 1,400 530 226 89 830 247 2,230 777 บงึ กาฬ 3,707 1,281 -- 5,023 1,547 8,730 2,828 -- บทท่ี 2 ระเบียบวิธกี ารสำ�รวจ 35
ตารางท่ี 2-3 สรปุ จำ� นวนกลมุ่ ตัวอยา่ งจากการสำ� รวจพฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2558 (ต่อ) ภาค จงั หวดั ช้ันภมู ิ 1 ชน้ั ภูมิ 2 ชั้นภูมิ 3 รวม ผูข บั ขี่ ผูโดยสาร ผูขับขี่ ผูโดยสาร ผูขบั ข่ี ผูโดยสาร ผขู ับขี่ ผโู ดยสาร กลางและตะวนั ออก พระนครศรีอยุธยา 3,689 1,773 3,348 1,569 2,725 1,146 9,762 4,488 กรงุ เทพมหานคร 53,514 14,941 53,514 14,941 นนทบุรี 13,387 3,925 -- -- 28,771 9,376 ปทมุ ธานี 3,970 1,557 12,935 4,402 2,449 1,049 20,811 7,266 สระบรุ ี 5,370 2,111 13,601 4,686 3,240 1,023 18,546 6,061 สมุทรสาคร 13,487 5,491 7,856 2,248 5,320 1,702 24,334 9,213 นครปฐม 10,112 4,381 7,939 2,613 2,908 1,109 16,412 6,718 สพุ รรณบุรี 5,475 2,190 3,413 1,282 2,887 1,055 12,373 4,860 เพชรบุรี 15,106 5,542 1,891 839 5,007 1,831 25,315 8,942 ชัยนาท 6,163 2,104 6,865 2,348 3,344 1,052 9,734 3,180 ลพบรุ ี 4,772 1,770 3,571 1,076 11,090 4,034 สิงหบุรี 7,561 2,525 -- 3,061 1,113 9,712 3,361 อา งทอง 6,797 2,643 3,257 1,151 2,151 836 11,439 4,250 กาญจนบรุ ี 7,522 2,781 4,642 1,607 14,206 5,049 ประจวบครี ขี นั ธ 4,858 1,821 -- 6,202 2,056 18,024 7,023 ราชบุรี 4,749 1,925 -- 5,117 2,074 19,648 6,866 สมทุ รสงคราม 5,628 2,040 482 212 6,423 2,348 6,949 2,596 ชลบุรี 15,396 5,109 8,049 3,128 1,321 556 34,450 11,405 ระยอง 5,492 1,818 8,476 2,593 5,652 1,932 12,871 3,843 จนั ทบุรี 7,298 2,455 -- 4,994 1,431 16,141 5,379 ปราจีนบรุ ี 4,353 1,403 13,402 4,364 3,534 874 6,680 2,345 สมทุ รปราการ 6,955 2,186 2,385 594 2,327 942 25,213 9,941 ฉะเชงิ เทรา 9,954 4,158 5,309 2,050 2,204 841 15,814 6,196 ตราด 6,201 2,036 -- 5,860 2,038 7,959 2,596 นครนายก 4,752 1,698 16,054 6,914 1,758 560 6,427 2,394 สระแกว 4,542 1,437 -- 1,675 696 8,743 3,214 5,137 1,630 -- 1,082 359 17,973 6,707 ใต สรุ าษฎรธ านี 5,933 2,541 -- 7,816 3,025 26,040 10,617 นครศรธี รรมราช 15,283 7,337 3,119 1,418 10,218 4,012 36,874 16,396 สงขลา 4,329 1,561 5,020 2,052 12,150 5,226 13,129 5,054 ชมุ พร 5,678 2,253 9,889 4,064 5,116 1,983 12,594 5,092 ตรัง 8,337 3,660 9,441 3,833 5,713 2,263 11,024 4,706 กระบ่ี 2,499 1,047 3,684 1,510 2,687 1,046 6,860 2,704 พงั งา 9,656 4,388 1,203 576 2,755 1,014 17,962 7,396 พทั ลุง 16,212 5,967 -- 8,306 3,008 41,462 14,166 ภูเก็ต 8,733 3,454 1,606 643 4,867 1,722 11,124 4,261 ระนอง 9,080 3,739 -- 2,391 807 12,838 5,266 สตูล 11,403 5,486 20,383 6,477 3,758 1,527 25,031 11,484 ยะลา 12,885 5,925 -- 1,146 535 16,082 7,648 ปัตตานี 8,433 4,270 00 3,197 1,723 20,473 9,521 นราธวิ าส 554,269 196,621 12,482 5,463 3,731 1,807 1,100,398 390,577 -- 299,386 104,856 รวมท้ังหมด 8,309 3,444 246,743 89,100 36 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ของผ้ใู ช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
บทท่ี 3 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558
บทที่ 3 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 เนือ้ หาในบทนี้ประกอบด้วย 3.1 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขบั ขแ่ี ละผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2558 3.2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผขู้ บั ขี่ ปี พ.ศ. 2558 3.3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2558 3.4 การจัดล�ำดบั อัตราการสวมหมวกนิรภัย จำ� แนกตามภมู ภิ าค ปี พ.ศ. 2558 3.1 อัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขับข่ี และผูโ้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 จากผลสำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนต์ รวมผขู้ บั ข่ี และผโู้ ดยสาร พบวา่ อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของทง้ั ประเทศในปี พ.ศ. 2558 คือ ร้อยละ 43 โดยภูมภิ าคที่มอี ัตราการสวมหมวกนิรภัยในภาพรวมสูงสดุ คือ ภาคกลางและตะวนั ออก รอ้ ยละ 53 ในขณะท่ี พบวา่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ตำ�่ ทส่ี ดุ คอื รอ้ ยละ 34 และเมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บ อัตราการสวมหมวกนิรภัยรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มีอัตราการสวมหมวก นิรภัยสูงสุด คือ กรุงเทพมหานคร ร้อยละ 76 และจังหวัดท่ีมีอัตราการสวม หมวกนิรภยั ตำ�่ ทส่ี ดุ คอื นราธวิ าส พบว่า มีผู้ใชร้ ถจักรยานยนตเ์ พียงรอ้ ยละ 13 เท่าน้ันทีส่ วมหมวกนริ ภยั (รูปท่ี 3-1 และ 3-2) 4444433643%%%%% 2558 43% 3353476384%%%%% 2557 2556 3335477515%%%%% 2555 2554 3335598534%%%%% 2553 3334547603%%%%% 0% 20% 40% 60% 80% 100% รปู ที่ 3-1 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั รวมผู้ขับขี่และผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2553 ถึง 2558 รายภาค 38 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
กรงุ เทพมหานคร 76% 1. สงิ หบรุ � 45% นนทบรุ ี 60% 2. อา งทอง 34% 58% 3. ปทุมธานี 56% นครศรธี รรมราช 58% 4. นครปฐม 37% ภเู ก็ต 56% 5. นนทบุร� 60% 56% 6. กรุงเทพมหานคร 76% สมทุ รปราการ 52% 7. สมทุ รปราการ 56% ปทมุ ธานี 50% 8. สมทุ รสาคร 41% เชยี งใหม่ 50% 9. สมุทรสงคราม 47% ตราด 49% สระบรุ ี 47% มากกวา 80% ตาก 47% 61% - 80% 46% 41% - 60% สมทุ รสงคราม 45% 21% - 40% น่าน 45% นอยกวา 21% 44% ชลบรุ ี 44% สงิ หบ์ รุ ี 44% พษิ ณุโลก 44% สโุ ขทยั 43% แมฮ่ อ่ งสอน 42% ระยอง 41% สรุ นิ ทร์ 41% เชยี งราย 40% นครราชสมี า 39% สมทุ รสาคร 39% อบุ ลราชธานี 39% ระนอง 38% ขอนแกน่ 38% 38% พังงา 37% ตรงั 37% 37% สงขลา 37% ลําปาง 37% พระนครศรอี ยธุ ยา 37% ศรสี ะเกษ 36% นครปฐม 36% พะเยา 35% สกลนคร 35% 34% สตลู 34% นครสวรรค์ 34% 34% ลพบรุ ี 34% ชยั นาท 34% เพชรบรุ ี 33% นครนายก 32% อา่ งทอง 31% บงึ กาฬ 31% ราชบรุ ี 31% กําแพงเพชร 30% อตุ รดติ ถ์ 30% เพชรบรู ณ์ 30% 30% พจิ ติ ร 30% กระบี่ 30% สรุ าษฎรธ์ านี 30% ฉะเชงิ เทรา 29% อดุ รธานี 29% อทุ ยั ธานี 29% กาญจนบรุ ี 28% ปราจนี บรุ ี 27% 27% เลย 27% สพุ รรณบรุ ี 26% มกุ ดาหาร 25% หนองบวั ลําภู 24% 23% สระแกว้ 23% ประจวบครี ขี นั ธ์ 22% 22% มหาสารคาม 22% จนั ทบรุ ี 18% ชมุ พร 18% บรุ รี ัมย์ 17% 13% อํานาจเจรญิ รอ้ ยเอด็ หนองคาย แพร่ ชยั ภมู ิ กาฬสนิ ธุ์ ยโสธร พัทลงุ ลําพนู นครพนม ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส รปู ที่ 3-2 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผู้ขบั ขแ่ี ละผ้โู ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 รายจงั หวัด บทท่ี 3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 39
3.2 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะ ผ้ขู บั ข่ี ปี พ.ศ. 2558 หากพิจารณาผลส�ำรวจเฉพาะในกลุ่มผู้ขับข่ีรถจักรยานยนต์ ในปี พ.ศ. 2558 พบวา่ อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผขู้ ับขร่ี ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย คือ รอ้ ยละ 51 โดยภาคกลางและตะวนั ออกมีอัตราการสวมหมวกนิรภยั สงู สุด คอื ร้อยละ 62 ในขณะทีภ่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของ ผขู้ ับข่ตี ่ำ� สดุ คอื ร้อยละ 40 และเมื่อพิจารณาเปรยี บเทยี บรายจังหวัด พบว่า กรุงเทพมหานครมีอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ขับขี่สูงสุด คือ ร้อยละ 86 ในขณะที่จังหวัดบึงกาฬเป็นจังหวัดท่ีมีอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ขับขี่ต่�ำ สดุ คือ รอ้ ยละ 18 (รปู ที่ 3-4) 4544647851%%%%% 2558 51% 5446514393%%%%% 2557 2556 6444594144%%%%% 2555 2554 6445425137%%%%% 2553 5446402671%%%%% 0% 20% 40% 60% 80% 100% รปู ที่ 3-3 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผ้ขู บั ขี่ ปี พ.ศ. 2553 ถึง 2558 รายภาค 40 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
กรงุ เทพมหานคร 86% 1. สงิ หบรุ � 54% นนทบรุ ี 71% 2. อา งทอง 41% 70% 3. ปทมุ ธานี 70% นครศรธี รรมราช 69% 4. นครปฐม 50% ภเู กต็ 69% 5. นนทบุร� 71% 69% 6. กรงุ เทพมหานคร 86% สมทุ รปราการ 62% 7. สมุทรปราการ 69% ปทมุ ธานี 61% 8. สมุทรสาคร 52% เชยี งใหม่ 57% 9. สมุทรสงคราม 62% ตราด 57% สระบรุ ี 57% มากกวา 80% ตาก 56% 61% - 80% 56% 41% - 60% สมทุ รสงคราม 54% 21% - 40% น่าน 54% นอยกวา 21% 53% ชลบรุ ี 53% สงิ หบ์ รุ ี 53% พษิ ณุโลก 52% สโุ ขทยั 52% แมฮ่ อ่ งสอน 52% ระยอง 52% สรุ นิ ทร์ 50% เชยี งราย 50% นครราชสมี า 49% สมทุ รสาคร 48% อบุ ลราชธานี 48% ระนอง 48% ขอนแกน่ 48% 47% พังงา 46% ตรัง 45% 45% สงขลา 43% ลําปาง 43% พระนครศรอี ยธุ ยา 43% ศรสี ะเกษ 43% นครปฐม 42% พะเยา 42% สกลนคร 42% 42% สตลู 41% นครสวรรค์ 41% 41% ลพบรุ ี 40% ชยั นาท 40% เพชรบรุ ี 40% นครนายก 39% อา่ งทอง 39% บงึ กาฬ 39% ราชบรุ ี 38% กําแพงเพชร 38% อตุ รดติ ถ์ 37% เพชรบรู ณ์ 36% 36% พจิ ติ ร 36% กระบ่ี 35% สรุ าษฎรธ์ านี 35% ฉะเชงิ เทรา 35% อดุ รธานี 34% อทุ ัยธานี 34% กาญจนบรุ ี 34% ปราจนี บรุ ี 33% 32% เลย 32% สพุ รรณบรุ ี 31% มกุ ดาหาร 30% หนองบวั ลําภู 29% 28% สระแกว้ 27% ประจวบครี ขี นั ธ์ 27% 26% มหาสารคาม 25% จนั ทบรุ ี 25% ชมุ พร 23% บรุ รี มั ย์ 22% 18% อํานาจเจรญิ รอ้ ยเอด็ หนองคาย แพร่ ชยั ภมู ิ กาฬสนิ ธุ์ ยโสธร พัทลงุ ลําพนู นครพนม ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส รูปท่ี 3-4 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้ขบั ข่ี ปี พ.ศ. 2558 รายจังหวดั บทที่ 3 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 41
3.3 อัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะ ผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2558 จากการส�ำรวจในปี พ.ศ. 2558 พบว่า ในภาพรวมผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ เพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่สวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ โดยอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสารรถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย คอื ร้อยละ 20 โดยภาคกลางและตะวันออกมอี ัตราการสวมหมวกนริ ภัยสูงสดุ คือ รอ้ ยละ 25 ในขณะทภี่ าคใตม้ อี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสารตำ�่ สดุ เพยี ง ร้อยละ 12 และเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัด กรงุ เทพมหานคร มีอตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของผู้โดยสารสูงสดุ คอื ร้อยละ 40 ในขณะทอ่ี กี กวา่ 60 จงั หวดั มอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสารไมถ่ งึ ร้อยละ 20 (รูปที่ 3-6) 2121290740%%%%% 2558 20% 11119432%%%% 2557 2556 2222259534%%%%% 2555 2554 1122125809%%%%% 2553 1211287038%%%%% 0% 20% 40% 60% 80% 100% รูปที่ 3-5 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2553 ถงึ 2558 รายภาค 42 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผ้ใู ช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
กรงุ เทพมหานคร 40% 1. สงิ หบ ุร� 22% นนทบรุ ี 34% 2. อา งทอง 14% 34% 3. ปทมุ ธานี 13% นครศรธี รรมราช 28% 4. นครปฐม 6% ภเู ก็ต 25% 5. นนทบุร� 25% 25% 6. กรุงเทพมหานคร 40% สมทุ รปราการ 24% 7. สมทุ รปราการ 24% ปทมุ ธานี 24% 8. สมุทรสาคร 8% เชยี งใหม่ 23% 9. สมุทรสงคราม 9% ตราด 23% สระบรุ ี 23% มากกวา 80% ตาก 23% 61% - 80% 22% 41% - 60% สมทุ รสงคราม 22% 21% - 40% น่าน 21% นอ ยกวา 21% 21% ชลบรุ ี 21% สงิ หบ์ รุ ี 19% พษิ ณุโลก 18% สโุ ขทัย 18% แมฮ่ อ่ งสอน 18% ระยอง 18% สรุ นิ ทร์ 17% เชยี งราย 17% นครราชสมี า 16% สมทุ รสาคร 16% อบุ ลราชธานี 16% ระนอง 16% ขอนแกน่ 15% 15% พังงา 14% ตรงั 14% 14% สงขลา 14% ลําปาง 14% พระนครศรอี ยธุ ยา 14% ศรสี ะเกษ 14% นครปฐม 14% พะเยา 13% สกลนคร 13% 13% สตลู 13% นครสวรรค์ 13% 13% ลพบรุ ี 12% ชยั นาท 12% เพชรบรุ ี 12% นครนายก 12% อา่ งทอง 11% บงึ กาฬ 11% ราชบรุ ี 11% กําแพงเพชร 11% อตุ รดติ ถ์ 11% เพชรบรู ณ์ 10% 10% พจิ ติ ร 10% กระบ่ี 10% สรุ าษฎรธ์ านี 10% ฉะเชงิ เทรา 10% อดุ รธานี 9% อทุ ยั ธานี 9% กาญจนบรุ ี 9% ปราจนี บรุ ี 9% 8% เลย 8% สพุ รรณบรุ ี 8% มกุ ดาหาร 8% หนองบวั ลําภู 7% 7% สระแกว้ 6% ประจวบครี ขี นั ธ์ 5% 5% มหาสารคาม 4% จันทบรุ ี 4% ชมุ พร 3% บรุ รี มั ย์ 3% 3% อํานาจเจรญิ รอ้ ยเอด็ หนองคาย แพร่ ชยั ภมู ิ กาฬสนิ ธุ์ ยโสธร พัทลงุ ลําพนู นครพนม ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส รูปท่ี 3-6 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2558 รายจังหวดั บทที่ 3 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 43
3.4 การจัดล�ำดับอัตราการสวมหมวก นิรภัย จ�ำแนกตามภมู ิภาค ปี พ.ศ. 2558 จากผลสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นปี พ.ศ. 2558 ตามทนี่ �ำเสนอในหัวขอ้ ที่ 3-1 ถึง 3-3 สามารถนำ� มาจัดล�ำดบั จังหวดั ท่ีมีอัตรา การสวมหมวกนิรภัยสูงสุดและต�่ำสุดในแต่ละภูมิภาค เพื่อสะท้อนให้เห็นถึง ระดบั ความรนุ แรงของสถานการณป์ ญั หาพฤตกิ รรมเสย่ี งการไมส่ วมหมวกนริ ภยั ท่ีแตกต่างกนั ในแตล่ ะจงั หวัด ทัง้ ในภาพรวมผ้ขู บั ขแ่ี ละผู้โดยสาร เฉพาะผ้ขู บั ขี่ และเฉพาะผู้โดยสารดังแสดงในรปู ท่ี 3-7 ถึง 3-9 44 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนือ 2558 ลําดบั จังหวดั 2558 ภาคกลางและตะวันออก 52.0% 1 สรุ ินทร 43.6% ลำดับ จังหวดั 49.1% 2 นครราชสีมา 42.2% ลําดบั จังหวดั 2558 1 เชียงใหม 47.2% 3 อุบลราชธานี 40.6% 2 ตาก 45.1% 4 ขอนแกน 39.4% 1 กรุงเทพมหานคร 75.8% 3 นาน 44.0% 5 ศรสี ะเกษ 37.5% 4 พษิ ณุโลก 43.9% 6 สกลนคร 36.7% 2 นนทบรุ ี 59.8% 5 สุโขทัย 42.8% 7 บงึ กาฬ 34.0% 6 แมฮอ งสอน 37.9% 8 อุดรธานี 30.7% 3 สมุทรปราการ 56.0% 7 เชยี งราย 37.1% 9 เลย 30.1% 8 ลาํ ปาง 36.5% 10 มุกดาหาร 29.6% 4 ปทุมธานี 55.8% 9 พะเยา 33.9% 11 หนองบวั ลําภู 29.6% 10 นครสวรรค 33.8% 12 มหาสารคาม 29.0% 5 ตราด 50.2% 11 กําแพงเพชร 33.5% 13 บรุ ีรัมย 26.6% 12 อตุ รดิตถ 32.8% 14 อํานาจเจริญ 26.6% 6 สระบรุ ี 50.1% 13 เพชรบรู ณ 30.4% 15 รอยเอด็ 26.4% 14 พิจิตร 24.2% 16 หนองคาย 25.4% 7 สมุทรสงคราม 47.4% 15 อทุ ยั ธานี 21.9% 17 ชัยภมู ิ 22.8% 16 แพร 40.2% 18 กาฬสนิ ธุ 22.8% 8 ชลบุรี 45.6% 17 ลําพนู 19 ยโสธร 22.5% รวม 20 นครพนม 18.2% 9 สงิ หบ ุรี 45.5% รวม 33.8% 10 ระยอง 43.6% 11 สมทุ รสาคร 40.8% 12 พระนครศรีอยุธยา 37.5% 13 นครปฐม 37.2% 14 ลพบรุ ี 36.0% 15 ชยั นาท 35.7% ภาคใต 16 เพชรบรุ ี 35.4% ลําดบั จังหวัด 2558 17 นครนายก 34.6% 1 นครศรธี รรมราช 58.4% 2 ภูเก็ต 57.8% 18 อา งทอง 34.3% 3 ระนอง 40.3% 4 พังงา 38.8% 1. สงิ หบ ุร� 45% 19 ราชบรุ ี 33.9% 5 ตรัง 38.6% 6 สงขลา 38.4% 2. อา งทอง 34% 20 ฉะเชงิ เทรา 31.0% 7 สตลู 36.6% 8 กระบี่ 31.8% 3. ปทุมธานี 56% 21 กาญจนบรุ ี 30.3% 9 สุราษฎรธ านี 31.3% 10 ชุมพร 27.5% 4. นครปฐม 37% 22 ปราจนี บุรี 30.1% 11 พทั ล ุง 22.2% 5. นนทบรุ � 60% 12 ปตตานี 17.5% 6. กรงุ เทพมหานคร 76% 23 สพุ รรณบรุ ี 29.9% 13 ยะลา 16.8% 14 นราธิวาส 13.1% 7. สมุทรปราการ 56% 24 สระแกว 29.4% รวม 36.0% 8. สมทุ รสาคร 41% 25 ประจวบคีรขี นั ธ 29.1% 9. สมุทรสงคราม 47% 26 จนั ทบรุ ี 27.9% รวม 52.9% รปู ที่ 3-7 การจดั ลำ�ดบั อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผู้ขับข่ีและผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 จำ�แนกตามภูมิภาค บทท่ี 3 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 45
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนือ 2558 ลําดับ จังหวัด 2558 ภาคกลางและตะวนั ออก 57.1% 1 สรุ ินทร 52.8% ลำดับ จังหวัด 56.6% 2 นครราชสมี า 49.1% ลาํ ดับ จงั หวัด 2558 1 เชยี งใหม 56.5% 3 อบุ ลราชธานี 48.2% 2 ตาก 55.7% 4 ขอนแกน 45.7% 1 กรุงเทพมหานคร 85.9% 3 นา น 53.0% 5 ศรีสะเกษ 45.3% 4 พิษณุโลก 52.2% 6 สกลนคร 43.2% 2 นนทบุรี 71.3% 5 สโุ ขทยั 48.5% 7 บงึ กาฬ 40.4% 6 แมฮ อ งสอน 47.0% 8 อดุ รธานี 36.3% 3 สมุทรปราการ 70.3% 7 เชียงราย 42.4% 9 เลย 35.4% 8 ลําปาง 41.6% 10 มุกดาหาร 35.2% 4 ปทุมธานี 69.1% 9 พะเยา 41.3% 11 หนองบัวลาํ ภู 34.4% 10 นครสวรรค 40.7% 12 มหาสารคาม 34.3% 5 ตราด 61.8% 11 กําแพงเพชร 40.3% 13 บุรรี มั ย 33.5% 12 อตุ รดิตถ 39.3% 14 อํานาจเจริญ 31.6% 6 สระบรุ ี 60.6% 13 เพชรบรู ณ 38.1% 15 รอ ยเอ็ด 30.6% 14 พิจิตร 28.4% 16 หนองคาย 29.2% 7 สมุทรสงคราม 57.2% 15 อทุ ัยธานี 25.2% 17 ชยั ภมู ิ 27.3% 16 แพร 46.7% 18 กาฬสนิ ธุ 27.2% 8 ชลบุรี 54.3% 17 ลําพนู 19 ยโสธร 25.6% รวม 20 นครพนม 22.1% 9 สิงหบรุ ี 53.1% รวม 39.9% 10 ระยอง 52.5% 11 สมุทรสาคร 51.6% 12 พระนครศรีอยุธยา 49.6% 13 นครปฐม 48.1% 14 ลพบรุ ี 43.4% 15 ชยั นาท 43.2% ภาคใต 16 เพชรบุรี 42.9% ลาํ ดับ จงั หวัด 2558 17 นครนายก 42.5% 1 นครศรีธรรมราช 69.4% 2 ภเู กต็ 68.5% 18 อางทอง 41.9% 3 ระนอง 53.6% 4 พังงา 52.1% 1. สิงหบ รุ � 54% 19 ราชบุรี 41.4% 5 ตรงั 49.6% 6 สงขลา 48.2% 2. อา งทอง 41% 20 ฉะเชิงเทรา 39.0% 7 สตูล 45.0% 8 กระบ่ี 40.2% 3. ปทมุ ธานี 70% 21 กาญจนบุรี 38.3% 9 สรุ าษฎรธานี 39.2% 10 ชุมพร 33.4% 4. นครปฐม 50% 22 ปราจีนบรุ ี 37.2% 11 พัทลงุ 29.7% 5. นนทบรุ � 71% 12 ปต ตานี 24.7% 6. กรุงเทพมหานคร 86% 23 สพุ รรณบุรี 36.3% 13 ยะลา 23.0% 14 นราธวิ าส 17.9% 7. สมุทรปราการ 69% 24 สระแกว 36.0% รวม 45.6% 8. สมุทรสาคร 52% 25 ประจวบคีรีขันธ 35.1% 9. สมทุ รสงคราม 62% 26 จนั ทบุรี 32.0% รวม 61.8% มากกวา 80% 61% - 80% 41% - 60% 21% - 40% นอยกวา 21% รปู ท่ี 3-8 การจดั ลำ�ดบั อตั ราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผ้ขู บั ข่ี ปี พ.ศ. 2558 จำ�แนกตามภูมภิ าค 46 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผูใ้ ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื 2558 ลําดบั จงั หวัด 2558 ภาคกลางและตะวนั ออก 34.3% 1 สรุ นิ ทร 21.5% ลำดับ จังหวัด 24.9% 2 นครราชสมี า 20.5% ลาํ ดบั จังหวดั 2558 1 เชยี งใหม 23.2% 3 อุบลราชธานี 18.3% 2 ตาก 22.6% 4 ขอนแกน 18.2% 1 กรุงเทพมหานคร 39.9% 3 นา น 21.2% 5 ศรีสะเกษ 17.6% 4 พษิ ณโุ ลก 20.6% 6 สกลนคร 16.5% 2 นนทบรุ ี 28.4% 5 สโุ ขทัย 18.6% 7 บงึ กาฬ 16.4% 6 แมฮ องสอน 17.2% 8 อุดรธานี 16.2% 3 สมุทรปราการ 24.6% 7 เชียงราย 14.9% 9 เลย 13.9% 8 ลําปาง 14.5% 10 มุกดาหาร 13.3% 4 ปทมุ ธานี 23.8% 9 พะเยา 13.7% 11 หนองบัวลาํ ภู 12.6% 10 นครสวรรค 12.1% 12 มหาสารคาม 12.2% 5 ตราด 22.8% 11 กาํ แพงเพชร 11.3% 13 บุรรี ัมย 11.2% 12 อุตรดิตถ 10.4% 14 อํานาจเจริญ 10.8% 6 สระบุรี 21.6% 13 เพชรบูรณ 9.2% 15 รอยเอด็ 10.6% 14 พจิ ติ ร 8.9% 16 หนองคาย 9.6% 7 สมทุ รสงคราม 18.0% 15 อทุ ัยธานี 6.7% 17 ชยั ภมู ิ 9.6% 16 แพร 19.5% 18 กาฬสินธุ 9.3% 8 ชลบุรี 15.7% 17 ลาํ พนู 19 ยโสธร 7.7% รวม 20 นครพนม 4.3% 9 สิงหบรุ ี 15.6% รวม 15.4% 10 ระยอง 15.1% 11 สมุทรสาคร 14.4% 12 พระนครศรีอยธุ ยา 13.9% 13 นครปฐม 13.9% 14 ลพบุรี 13.7% 15 ชยั นาท 13.3% ภาคใต 16 เพชรบรุ ี 13.3% ลําดับ จังหวดั 2558 17 นครนายก 13.3% 1 นครศรธี รรมราช 33.8% 2 ภเู กต็ 24.2% 18 อา งทอง 12.6% 3 ระนอง 22.8% 4 พังงา 13.8% 1. สิงหบรุ � 22% 19 ราชบรุ ี 12.1% 5 ตรงั 11.8% 6 สงขลา 11.3% 2. อา งทอง 14% 20 ฉะเชงิ เทรา 10.5% 7 สตลู 9.8% 8 กระบี่ 8.1% 3. ปทมุ ธานี 13% 21 กาญจนบุรี 9.7% 9 สรุ าษฎรธานี 5.0% 4. นครปฐม 6% 10 ชุมพร 4.6% 5. นนทบรุ � 25% 22 ปราจีนบุรี 9.0% 11 พทั ลุง 3.5% 12 ปต ตานี 3.2% 6. กรงุ เทพมหานคร 40% 23 สุพรรณบุรี 8.3% 13 ยะลา 3.1% 14 นราธิวาส 3.0% 7. สมุทรปราการ 24% 24 สระแกว 7.6% รวม 12.3% 8. สมุทรสาคร 8% 25 ประจวบครี ขี ันธ 7.4% 9. สมทุ รสงคราม 9% 26 จันทบุรี 5.8% รวม 24.5% มากกวา 80% 61% - 80% 41% - 60% 21% - 40% นอยกวา 21% รูปที่ 3-9 การจดั ลำ�ดบั อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2558 จำ�แนกตามภูมภิ าค บทที่ 3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2558 47
48 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146