Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Competencies based training

Competencies based training

Published by thananchai3589, 2017-08-05 22:34:25

Description: Unit_8_Competencies_based_training

Search

Read the Text Version

สมรรถนะเพือการทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ ึ (Competencies based training) .  1 ความหมายของการอาชวี ศกึ ษาระบบสมรรถฐาน (CBT) Competencies based training การศกึ ษาระบบสมรรถฐาน คอื การเรียนการสอนด้าน อาชพี ทเ่ี นน้ ความสามารถข้ันตํา่ โดยรวมเอาองคป์ ระกอบทด่ี ี ซึง่ มุง่ ใหเ้ กดิ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และความสามารถ (Ability) โดยคาํ นึงถงึ ความแตดตา่ งระหว่างบคุ คล 2 องคป์ ระกอบของการอาชวี ศึกษาระบบสมรรถฐาน Competencies based training 1. ความพรอ้ มของผเู้ รยี น ดา้ นพุทธพิ ิสยั ทักษะพสิ ยั และจติ พสิ ยั 2. คาํ นึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 3. การฝกึ ซ้าํ ๆ จนเกิดความชํานาญ 4. การเสรมิ แรง 5. การรคู้ ุณค่าและประโยชนข์ องส่ิงท่ีเรียน 3 1

สมรรถนะเพือการทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่อาชีศึกษาระบบสมรรถฐาน (CBT) ในประเทศไทย• การจัดการเรยี นการสอนดา้ นวิชาชีพ CBT Knowledge Skillกรมอาชวี ศึกษา •ความพรอ้ มของผู้เรียน • ระบบทใ่ี ช้เวลาเป็นเกณฑ์ •ความแตกตา่ งของผเู้ รียน (4,800 คาบ) •การกระทาํ ซํา้ ๆ • ระบบหน่วยกติ เป็นเกณฑ์ •แรงเสรมิ 4ทฤษฎกี ารอาชีวศกึ ษาระบบสมรรถฐาน (CBT)แนวคดิ การกาํ หนดความสามารถ• วิเคราะหภ์ าระงานในอาชีพ บริบทแวดล้อม• วิเคราะหค์ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ • วิเคราะหว์ ิชาชพี กาํ หนดบทบาท จดั กลุ่มความสามารถ บริบทแวดล้อม ความสามารถ ทีพึงประสงค์ เกณฑ์ การพฒั นาระบบสมรรถฐาน 5การพัฒนาอาชีวเทคนคิ ศกึ ษาระบบสมรรถฐานการฝกึ อบรมแบบองิ สมรรถฐานสาระสาํ คญั • ระบุสมรรถนะให้รัดกุม ตรวจสอบได้ ผู้ศกึ ษาตอ้ งทราบ • มเี กณฑ์และเงือ่ นไขทีช่ ัดเจน • โปรแกรม ส่งเสริมการพัฒนารายบุคคล • การประเมนิ ผลเนน้ ทกั ษะเปน็ สําคญั • นักศึกษาพฒั นาการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง /ชุดการเรยี น 6 2

สมรรถนะเพอื การทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ การพฒั นาอาชีวเทคนิคศกึ ษาระบบสมรรถฐานการพฒั นาชดุ การสอนแบบองิ สมรรถฐานสาระสําคญั • ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นเชียวชาญทกั ษะทพี งึ ประสงค์ • มเี วลาเพยี งพอต่อการฝึกทจี ะขา้ มไปลาํ ดบั ต่อไป • แบง่ ภาระงานออกเป็ นงานย่อยๆ • จดั หาวสั ดุการสอนทเี หมาะสมกบั สภาพของผูเ้ รยี น • เพมิ ความเรว็ ในการเรยี นดว้ ยตนเองอย่างเหมาะสม • ระบใุ หช้ ดั เจนในสงิ ทตี อ้ งรู้ • ช่วยเหลอื / หาวธิ ีใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ ทกั ษะดว้ ยความมนั ใจ 7คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องการจดั อาชวี ศกึ ษาระบบสมรรถฐานสาระสําคญั • เป็นการเรียนการสอนรายบคุ คล • ความสําเร็จผ้เู รยี นทรายโดยการป้อนกลับตลอดเวล • มีการเน้นยํ้าสาระสําคญั อยา่ งมีข้ันตอน • ความเรว็ ของการเรยี นรู้ข้ึนอยู่แต่ละบคุ คล • ผเู้ รยี นไดร้ บั ความรอู้ ยา่ งกวา้ งขวาง • เรียนด้วยชุดการเรยี น (Modular) อย่างยืดหยุ่น 8หลักการเรียนด้วยวธิ รี ะบบสมรรถฐานสาระสําคญั • ผเู้ รียนต้องทราบโครงสร้างและทศิ ทางของแผนการเรียน ล่วงหน้า • จัดประสบการณ์ใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รยี นแต่ละราย • สร้างความสนใจและแรงจูงใจให้เกิดกบั ผู้เรียนทแี่ ตกต่างกัน • เรยี งลาํ ดบั เนือ้ หาจากง่ายไปยาก • สรา้ งการโตต้ อบในรปู แบบการเลียนแบบ การสํารวจ การสะทอ้ นประสบการณ์ • ความสําเรจ็ จะก่อใหเ้ กดิ ความพอใจ มัน่ ใจ ทาํ ให้เกดิ แรงจูงใจ 9 3

สมรรถนะเพือการทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่การพัฒนาชุดการสอนแบบองิ สมรรถฐานLearning Guide ปก สว่ นนาํ Module คําแนะนาํ การใช้ชดุ การ เรียน วตั ถุประสงค์ ประสบการณ์ / กิจกรรม การประเมินผล รายการตรวจสอบ อนั ดับคุณภาพ ระดับทักษะ 10ตวั อย่าง รูปแบบการจัดอาชีวศึกษาระบบสมรรถฐาน Competencies based training1. การศกึ ษาทางไกล คือ ระบบการศึกษาทีผ้สู อนและผ้เู รียน อยหู่ า่ งไกลกนั2. การศกึ ษาเพือสร้างผู้ประกอบการ (SME) เป็นการเน้นให้ ผ้เู รียนมีเจตคตจิ ากการเป็นลกู จ้างให้หนั มาเป็นเจ้าของ ธรุ กจิ เอง3. การศกึ ษาแบบเทยี บประสบการณ์ เป็นการจดั การศกึ ษา ทีชว่ ยให้ผ้เู รียนไมเ่ สียเวลาในการเรียนรู้เพราะมีทกั ษะและ ความรู้จากการทํางานอยแู่ ล้ว 11ื 12 4

สมรรถนะเพอื การทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่สมรรถนะเพอื่ การทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationมาตรฐานฝมี อื แรงงาน การทดสอบมาตรฐานความรู้ 3 ระดบั ทกั ษะ - วฒุ บิ ตั รมาตรฐานฝมี อื แรงงานแห่งชาติ 1. มาตรฐานฝีมอื แห่ง 2. มาตรฐานกลาง 3. มาตรฐานนายจ้างเจตคติ การแขง่ ขันฝมี อื ช่าง ระดบั ชาติ ระดบั นานาชาติ 13การพฒั นาจิตลกั ษณะของผจู้ บอาชีวศกึ ษา การจดั ระเบยี บทางจิตและลักษณะนสิ ัยสามารถจดั ลาํ ดับได้ 5 ข้นั ตอน 1. การรับ (Receiving or Attention) หมายถงึ การรับรู้ตอ่ สถานการณ์ สงิ่ เรา้ จนเป็นความพยายามในการเรยี นรู้ เชน่ ความต้งั ใจ ขยัน ซ่ึงแบง่ ได้ 3 ระดับ 1.1 การรู้ตัว 1.2 ความเต็มใจทจี่ ะยอมรบั 1.3 การเลือกสรรสิ่งท่ีจะรบั 2. การตอบสนอง เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าโต้ตอบทยี่ อมรบั ด้วยความยินยอม เตม็ ใจ พึงพอใจ 3. การสร้างค่านิยม เปน็ การแสดงออกถงึ ความร้สู ึก สํานึกจนกลายเปน็ ความเชื่อ ทาํ ใหเ้ กิดการยอมรับ ชนื่ ชอบ ทาํ ให้เกดิ การยดึ มัน่ 14การพัฒนาจิตลักษณะของผู้จบอาชวี ศึกษา การจัดระเบยี บทางจติ และลกั ษณะนสิ ยั สามารถจดั ลําดบั ได้ 5 ขั้นตอน 4. การจดั ระบบค่านยิ ม ไดแ้ กค่ วามคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั คุณค่า 5. การสรา้ งลกั ษณะนิสยั จากค่านยิ ม เปน็ พฤติกรรมสงู สุดของผู้เรยี น โดยสร้างเป็นนสิ ยั มีลกั ษณะประจาํ ตัว 15 5

สมรรถนะเพอื การทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ รปู แบบสมรรถนะเพื่อการทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationรปู แบบ SCANS (Secretary’s Commission on Achieving Necessary Skills)ทักษะพ้นื ฐาน การจัดทรพั ยากร มนษุ ยส์ ัมพันธ์ • ทกั ษะเบ้ืองต้น สารสนเทศ • ทกั ษะทางความคดิ การใชค้ อมพิวเตอร์ • ความสามารถในการทาํ งาน ระบบตา่ งๆ การใช้เทคโนโลยี 16 รปู แบบสมรรถนะเพ่อื การทํางานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationรูปแบบ CPSC (Colombo Plan Staff College for Technician Education) CPSC 1. จรรยาบรรณในการทํางานตามวิชาชีพ 2. ตระหนกั ในการอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม • เจตคติ 3. การสอ่ื ความหมาย 4. การบริหารคุณภาพ (TQM) (Attitude) 5. การพฒั นาบคุ คลกิ ภาพ 6. การพัฒนาความสามารถในการประกอบการ • พฤตกิ รรม 17 (Behavior) • สมรรถนะเสรมิ(Non-Technical Competencies) รูปแบบสมรรถนะเพอื่ การทํางานในสถานประกอบการยุคใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationการเปรยี บเทียบประสบการอาชีวศกึ ษา - RPL (Recognition of Prior Learning)คณุ ลกั ษณะ •เป็นระบบการยอมรับด้านความรู้และทักษะ •เป็นกระบวนการของการประเมนิ •มจี ุดม่งุ หมาย / เนน้ ผลลพั ธจ์ ากการเรยี น 18 6

สมรรถนะเพอื การทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่รปู แบบสมรรถนะเพ่อื การทํางานในสถานประกอบการยุคใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationการเปรยี บเทยี บประสบการอาชวี ศึกษา - RPL (Recognition of Prior Learning)เกณฑ์ กรมอาชีวศกึ ษา • สอบเทียบความรไู้ ดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 25 • มหี ลกั ฐานมารับรอง • มีกรรมการสอบเทียบไมน่ อ้ ยกว่า 2 คน • การสอบเทยี บใหป้ ฏบิ ัตทิ ง้ั รายวชิ า - (ท, ป) • เวลาสาํ หรับสอบไม่นอ้ ยกว่าเวลาตามหลักสูตรทข่ี อเทยี บ • ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คร้ังใน1 ภาคเรียน และแต่ละครงั้ ไมค่ วรตดิ ตอ่ กนั • สถานศกึ ษาเปน็ ผู้กาํ หนดเวลา และควรกระทําคร้ังเดียว • การสอบเทยี บควรเปน็ ความสมคั รใจของผู้เรียน 19 รปู แบบสมรรถนะเพอื่ การทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationการเปรยี บเทียบประสบการอาชีวศกึ ษา - RPL (Recognition of Prior Learning)วธิ ีการ กศน. 1. ผลการเรยี นจากแหลง่ วิทยาการ 2. ผลการเรียนวชิ าชีพจากสถานประกอบการ 3. จากประสบการณ์ 4. จากการประกอบอาชีพ 5. จากการทาํ โครงการประกอบอาชีพ 20 รูปแบบสมรรถนะเพ่อื การทํางานในสถานประกอบการยุคใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationการเปรียบเทียบประสบการอาชีวศึกษา - RPL (Recognition of Prior Learning)วธิ ีการ ราชมงคล 1. ได้ไมเ่ กินครึ่งของหลักสตู ร 2. กรณีเรียน ป.ตรมี าแลว้ 3. เรียนมาแล้วไม่เกิน 5 ปี 4. กระทําได้ในภาคเรียนแรกท่เี ข้าเรียนเท่าน้ัน 5. การสอบเทยี บความรู้สามารถกระทําได้ในบางวชิ าเทา่ นนั้ 21 7

สมรรถนะเพือการทาํ งานในสถานประกอบการยคุ ใหม่ รปู แบบสมรรถนะเพ่ือการทาํ งานในสถานประกอบการยุคใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationการเปรียบเทยี บประสบการอาชวี ศึกษา - RPL (Recognition of Prior Learning)TAFE PHASE 2 PHASE 3 •Assessment •Review PHASE 1 - Interview -Select Method •Request - Decision -Conduct Review - consideration .grant/deny -Decision - Request entry .further .grant/deny .further to process assessment - Submit - Notification assessment .accept -Notification application .reject .accept .reject 22 รูปแบบสมรรถนะเพื่อการทํางานในสถานประกอบการยุคใหม่ Foundation of Technical and Vocational Educationการเปรยี บเทียบประสบการอาชวี ศกึ ษา - RPL (Recognition of Prior Learning) การอาชวี ศึกษาไทย 1. กําหนดเกณฑเ์ ปรียบเทยี บประสบการณข์ องสถานศกึ ษา 2. ยน่ื ขอคาํ รอ้ งและประเมนิ ขนั้ ต้น 3. เตรียมเอกสารผลงาน และการประเมินผล 4. ประเมินผลงาน ประสบการณ์ 5. รายงานผลการประเมนิ 23 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook