เวลาและการแบ่ง ยุคสมัย ประวัติศาสตร์ สากล(ตะวันตก)
การนับและการเทียบศั กราชของโลกตะวันตก ศักราชสากลที่นิ ยมใช้อย่า งแพร่หลายมากที่สุด คือ คริศต์ ศักราช ซึ่งเป็น ศักราชของคริสต์ศาสสนา เริ่มนั บเมื่อพระเยซู ประสูติเป็นปีที่ 1 หรือ A.D. 1 หรือ ค.ศ. 1 เรียกกันว่า christian Era และ Anno Domini ในภาษาละตินแปลว่า ปีแห่งพระเจ้า มี ตัว ย่อว่า A.D. และยังมี ปีก่อนที่พระเยซูประสูติ เรียก Before Christ มีตัวย่อว่า B.C. ผู้ริเริ่มวิธีการนั บ ค.ศ. คนแรก คือ ไดโอนิ ซิอุส เอซิกุอุส (Dionysius Exiguus) ซึ่งเป็นบาทหลวงชาวโรมัน มีชีวิตอยู่ในช่วง คริสต์ศตวรรษ 6 แต่เดิมต้องเริ่ม นั บ ค.ศ. 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ปี 753 หลังสถาปนากรุงโรม แต่ด้วยธรมเนี ยมการ เริ่มต้นปีใหม่ นั้ นต้องเริ่มในวันที่ 1 มกราคม จึงถือเอาวันที่ 1 มกราคม ปี 754 หลัง สถาปนากรุงโรมเป็นการเริ่มต้นคริสต์ราชที่ 1
ผู้เริ่มนั บเวลาก่อนปีที่พระเยซูประสูติ คือ บีด (Bede) ซึ่งเป็นนั ก ประวัติศาสตร์และนั กเทววิทยาชาวอังกฤษในช่วงต้นคริสต์ ศตวรรที่ 8 การแพร่หลายของคริสต์ศักร าช คริสต์ราชเริ่มแพร่หลายออกไป ทั่วโลก ในช่วงคริสต์วรรษที่ 16 โดยเฉพาะในช่วงการขยายอำนาจ ของจักรวรรดิตะวันตกในปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ดัง นั้ น การใช้คริสต์ราชจึงได้รับความนิ ยมและเป็น มาตรฐานโดย ทั่วไป หลังยุคจักรวรรดินิ ยมสิ้นสุด เมื่อยุคจักรวรรดินิ ยมสิ้นสุดลง ดินแดนหรือ อาณานิ คมต่างๆ ที่นั บถือศาสนาอื่นๆที่ไม่ใช่คริสต์ ศาสนาต่างได้รับเอกราช จึงเกิด ความไม่ชอบใจกับการนั บศักราช ตามคริสต์ศาสนา ดังนั้ นนั กวิชาการจึงได้เสนอให้ใช้ศักราชแบบ ใหม่ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับศาสนาใดๆเพื่อให้ผู้ที่นั บถือศาสนาต่าง กัน อารยธรรมต่างกันสามารถใช้ร่วมกันได้เป็นสากล ศักราชแบบ ใหม่นี้ เรียกว่า Common Era (C.E.) หรือศักราชร่วมหรือสากล ศักราช สำหรับปีก่อน ค.ศ. ใช้ Before Common Era (BCE) หรือ ก่อนศักราชร่วมหรือก่อนสากลศักราช
วิธีการทาง ประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์ การใช้ข้อมูลจากส่วนประกอบต่างๆ ทั้งเอกสาร จดหมายเหตุ โบราณวัตถุ โบราณสถาน แหล่งสถานที่ต่างๆ การบอกเล่า การ ถ่ายทอดจากประสบการณ์จริง สำหรับการนำมาใช้อ้างอิง เพื่อให้ เกิดความเชื่อมโยง สร้างความสัมพันธ์และการเกี่ยวข้องกันให้ได้ มากที่สุด เพื่อสำหรับนำมาประกอบการศึกษาวิเคราะห์ และ สั งเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้นตอน 1.การกำหนดเรื่องที่ต้องการศึกษา:เนื่ องจากเรื่องราวใน ประวัติศาสตร์มีลักษณะกว้างมาก เนื่ องจากหลักฐานในแต่ละยุค สมัยมีมากมายสำหรับการสืบค้น และในบางครั้งข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์เป็นข้อมูลที่กระจัดกระจาย จึงควรกำหนดเรื่องที่ ต้องการศึกษาให้ชัดเจน เพื่อไม่ให้หลงประเด็น ขั้นตอนนี้ ผู้ศึกษา ควรมีกระบวนการสั งเกตและตั้งคำถาม 2.การนำหลักฐานมารวบรวม:ลักษณะของข้อมูลมีทั้งเป็นลาย ลักษณ์อักษรปรากฏชัดเจน หรือเป็นข้อมูลที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร 3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน:ประเมินหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่ได้รับมา ว่าเป็นหลักฐานที่เกิดขึ้นจริงหรือเป็นหลัก ฐานที่มีการดัดแปลงเสริมจากความเป็นจริงหรือไม่
4.การนำหลักฐานข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดหมวด หมู่:การนำมาจัดเป็นหมวดหมู่ทำให้ง่ายต่อการค้นหา การนำไปใช้ และการศึกษาวิจัยต่อยอดทางประวัติศาสตร์ อาจเป็นการเพิ่ม ข้อมูลหลักฐานใหม่ๆที่ยังไม่เคยถูกค้นพบ ทำให้เหตุการณ์นั้ นๆใน ประวัติศาสตร์ตรงประเด็นและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ผู้ศึกษาควรวางตัวให้เป็นกลาง เพื่อให้สามารถนำข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์มาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน การจัด เรียงลำดับความสำคัญของเหตุการณ์อย่างเที่ยงธรรม ถูกต้อง และ สมบูรณ์ ให้ได้มากที่สุด 5.การนำข้อมูลมาเรียบเรียงและการนำเสนอ:การนำข้อมูลเชิง ประวัติศาสตร์ที่ได้ทั้งหมด มาเรียบเรียงเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ หลักฐานข้อมูลให้เกิดความสอดคล้อง มีเหตุผลและหลักฐานใน ประวัติศาสตร์ ในขั้นตอนนี้ ผู้เรียบเรียงต้องมีความเป็นกลาง ซื่อสัตย์ และจริงใจต่อข้อมูล เพื่อสู่การนำเสนอให้ตรงประเด็น เข้าใจง่าย และมีความสมจริงในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คือการนำเสนอหลัก ฐานและข้อมูลในทางประวัติศาสตร์ ในรูปแบบที่เข้าใจง่ายต่อผู้รับ ฟังหรือผู้อ่าน เช่น การนำเสนอด้วยสื่อต่างๆ การบรรยาย หรือการ เขียนเรียบเรียงเป็นรูปเล่มรายงาน เป็นต้น
หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ (ตะวันออก)
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีน โครงกระดูกมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ โครงกระดูกมนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man) เครื่องปั้ นดินเผา ปั้ นดินเผาวัฒนธรรมหยางเชา(Yang–shao Culture) หลักฐานลายลักษณ์ อักษรในสมัยราชวงศ์ ชาง วัฒนธรรมหยางเชา(Yang–shao Culture) สุสาน สุสานจักรพรรดิฉิ นซื่อหวงตี้
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เครื่องปั้ นดินเผาลายเชือกทาบ ตุ๊กตาโจมอนและตุ๊กตาดินเผาฮานิ วะ หลักฐานโบราณคดีสมัยยาโยอิ ภาชนะดินเผาสี แดงตกแต่งด้วยลายเลขา คณิ ต ปราสาท ปราสาทโคจิ การเมือง รัฐธรรมนูญฉบับ ค.ศ.1947 หลัง จากที่ญี่ปุ่นยอมแพ้สงครามโลก ครั้งที่ 2
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดีย เมืองโบราณ เฮนโดจาโร และฮารัปปา คัมภีร์พระเวท คัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน หนั งสือประวัติศาสตร์ หนั งสือประวัติศาสตร์ของซาห์ ฟีรุส
จัดทำโดย นายชูโชค จรูญศักดิ์ ม.6/2 เลขที่ 8 นายธัญยธรณ์ นิ ลทวงษ์ ม.6/2 เลขที่ 11 นางสาวจิรัดชยา ก่านพรมมา ม.6/2 เลขที่ 16 นางสาวชลลดา จันทร์แจ่ม ม.6/2 เลขที่ 17 นางสาวณิ ชาภา ภูวิชญะพล ม.6/2 เลขที่ 18 นางสาวนัชชา วาดวงศ์ ม.6/2 เลขที่ 27
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: