การนำเคร่ืองอินฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมิเตอรม์ าใชใ้ นการวัดปริมาณน้ำตาล ในผลสับปะรดแบบกึ่งปรมิ าณโดยไม่ทำลายตัวอยา่ ง Development of Near Infrared Spectrometer for Semiquantitative Analysis of Sugar Content in Pineapple จรี วัฒน์ ภิญโญ วัชรพงษ์ โสนทอง โครงการวิจัยทางเคมนี ้ี เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั รำไพพรรณี ปกี ารศกึ ษา 2563
การนำเคร่ืองอินฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมิเตอรม์ าใชใ้ นการวัดปริมาณน้ำตาล ในผลสับปะรดแบบกึ่งปรมิ าณโดยไม่ทำลายตัวอยา่ ง Development of Near Infrared Spectrometer for Semiquantitative Analysis of Sugar Content in Pineapple จรี วัฒน์ ภิญโญ วัชรพงษ์ โสนทอง โครงการวิจัยทางเคมนี ้ี เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั รำไพพรรณี ปกี ารศกึ ษา 2563
ใบรับรองงานวิจยั ครุศาสตรบัณฑติ (เคม)ี การนำเครื่องอินฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมเิ ตอร์มาใช้ในการวดั ปรมิ าณนำ้ ตาลในผลสบั ปะรด แบบก่ึงปริมาณโดยไมท่ ำลายตวั อยา่ ง นายจรี วฒั น์ ภญิ โญ รหสั 6015891011 นายวัชรพงษ์ โสนทอง รหัส 6015891026 คณะกรรมการสอบโครงรา่ งวจิ ัย ลงชอ่ื ......................................................................... อาจารยท์ ีป่ รึกษา (อาจารย์ ดร.วัชรี วรัจฉรยี กุล) ลงชอื่ ........................................................................ กรรมการสอบ (อาจารย์ ดร.ศุทธนิ ี เมฆประยูร) ลงชื่อ........................................................................ กรรมการสอบ (อาจารย์ ดร.จารวุ รรณ เมตตากลุ พทิ ักษ์) ไดผ้ ่านการสอบโครงงานวจิ ัยด้านเคมซี ง่ึ นับเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รปริญญา ครุศาสตรบณั ฑิต สาขาเคมี ลงช่ือ......................................................................... หัวหนา้ ภาควชิ าเคมี (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อุดม เครือวลั ย์) ............../............../..............
ค โครงการวจิ ัยเร่ือง การนำเครื่องอินฟราเรดยา่ นใกล้สเปกโทรมเิ ตอรม์ าใช้ในการวดั ปริมาณ นกั ศกึ ษา นำ้ ตาลในผลสับปะรดแบบก่งึ ปรมิ าณโดยไม่ทำลายตัวอย่าง หลักสูตร จรี วัฒน์ ภญิ โญ รหัส 6015891011 สาขา คณะ วัชรพงษ์ โสนทอง รหัส 6015891026 มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา ครุศาสตรบัณฑิต อาจารย์ที่ปรกึ ษา เคมี ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั รำไพพรรณี 2563 อาจารย์ ดร.วชั รี วรจั ฉรียกลุ บทคัดยอ่ สมาร์ทฟาร์มถูกนำไปใช้ในไร่สับปะรดสำหรับดำเนินการและตรวจสอบผลิตภัณฑ์ โดยผลสับปะรดที่ ได้จะถูกส่งไปยงั โรงงานน้ำผลไม้และผลไม้แปรรปู ซง่ึ ปัญหาส่วนใหญท่ ี่พบของเกษตรกรก็คือความหวาน ของสับปะรดที่ไม่ตรงตามมาตรฐานของโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้สับปะรดที่นำมาจำหน่ายให้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมได้ราคาที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเน้นไปที่การพัฒนาเครื่องอินฟราเรด ย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลในสับปะรด ซึ่งงานวิจัยในครั้งน้ีผู้วิจัย วิเคราะห์โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 72 ตัวอย่างที่มีปริมาณน้ำตาล 10.00-25.45 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในสบั ปะรด สับปะรดจะถูกแบ่งออกเป็นสามส่วน (ส่วน A B และ C) ซง่ึ ผลการวจิ ัยพบว่าความยาวคล่ืนท่ี เหมาะสมในการทำนายปริมาณน้ำตาลในสับปะรดทั้งสามส่วน (ส่วน A B และ C) คือ 901.0 912.7 และ 1459.3 นาโนเมตร ตามลำดับ นอกจากนี้ส่วนที่ดีที่สุดของสับปะรดในการทำนายปริมาณน้ำตาล คอื สว่ น A
ง Research Project Title Development of Near Infrared Spectrometer for Name Semiquantitative Analysis of Sugar Content in Course Pineapple Program Faculty Jeerawat Pinyo ID. 6015891011 University Academic Year Watcharaphong Sanothong ID. 6015891026 Advisor Bachelor of Education Chemistry Education Rambhai Barni Rajabhat University 2020 Watcharee Waratchareeyakul, Ph. D. ABSTRACT The smart farm was applied to pineapple farm for operating and monitoring agricultural product. This product was delivered to juice and fruit processing factory. The biggest problem for farmers was the sweet flavour of pineapple under the standard for the industrial factory. As a result, the pineapple price was lower than it should be. Consequently, this research emphasized on developing of the near-infrared spectrometer for semiquantitative analysis of sugar content in pineapple. This research was analysed using 72 samples of the 10.00-25.45 mg ml-1 sugar content in pineapple. This pineapple was divided into three parts (Part A, B and C). The results showed a suitable wavelength for predicting the sugar content in pineapple part A, B and C were 901.0 912.7 and 1459.3 nm, respectively. Moreover, the best part of pineapple for predicting the sugar content is part A.
กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบคุณอาจารย์ ดร.วัชรี วรัจฉรียกลุ อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยท่กี รณุ าให้คำปรึกษาและความ ชว่ ยเหลอื ใหง้ านวิจัยสำเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์วิระ ศรีมาลา ภาควิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และคุณสันติชัย บัวแก้ว ที่ช่วย จดั หาเครือ่ งอินฟราเรดยา่ นใกล้สเปกโทรมิเตอร์สำหรบั ทำการวจิ ยั และขอ้ มลู เกี่ยวกบั สมาร์ทฟาร์ม ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มธุรา อุณหศิริกุล ภาควิชาชีววทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณี สำหรบั วธิ ีการวิเคราะหป์ ริมาณน้ำตาลในผลสับปะรด ขอขอบคุณกรรมการสอบวิจัยได้แก่ อาจารย์ ดร.ศุทธินี เมฆประยูร และอาจารย์ ดร.จารุวรรณ เมตตากุลพิทักษ์ ทก่ี รณุ าตรวจทานและใหค้ ำแนะนำอีกทงั้ สละเวลาในการสอบวิจัยฉบบั นี้ ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านในภาควิชาเคมีที่ได้ให้คำแนะนำในงานวิจัยนี้และ ขอขอบคุณ เจ้าหนา้ ท่ีภาควชิ าเคมที กุ ท่านท่ีไดใ้ ห้ความช่วยเหลอื และอำนวยความสะดวกตลอดการทำวิจัย ขอขอบคุณเพ่อื น ๆ พ่ี ๆ น้อง ๆ ในภาควิชาเคมีทุกทา่ นทไ่ี ด้ให้ความชว่ ยเหลือและให้กำลังใจ ทำให้งานวจิ ยั ลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดี สดุ ท้ายนข้ี อกราบขอบพระคุณบิดา-มารดาและทุกคนในครอบครัวท่ีใหก้ ำลงั ใจความชว่ ยเหลือ และใหก้ ารสนบั สนนุ ทีด่ ีเสมอมา การวิจัยน้ีได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภฏั รำไพพรรณี ปีงบประมาณ 2563 คณะผูว้ ิจัย ตลุ าคม 2563
ช สารบญั หน้า ค บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบญั ซ สารบญั ตาราง ฌ สารบัญรปู 1 บทที่ 1 บทนำ 1 2 1.1 ความสำคัญและที่มาของงานวิจัย 2 1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงงานวจิ ัย 2 1.3 ขอบเขตของงานวิจัย 3 1.4 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั 3 บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยทเี่ กีย่ วข้อง 3 2.1 สบั ปะรดพนั ธ์ทุ ิปโก้หอมสุวรรณ 5 2.2 ชนิดของนำ้ ตาล 6 2.3 วิธีการวัดปริมาณนำ้ ตาล 6 2.4 เกษตรอจั ฉรยิ ะ 4.0 7 2.5 การคำนวณข้อมลู ทางสถติ ิ 8 2.6 เครอื่ งอนิ ฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมเิ ตอร์ 8 2.7 เครือ่ งยูวี-วิสเิ บิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ 12 2.6 งานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ ง 12 บทที่ 3 วิธกี ารดำเนินงานวิจัย 12 3.1 สารเคมแี ละอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทดลอง 15 3.2 วธิ ีการทดลอง บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานวิจัยและอภปิ รายผล 15 4.1 การวิเคราะหส์ เปกตรัมของเปลือกสับปะรดจากเคร่ืองอนิ ฟราเรดย่านใกล้ 17 สเปกโทรมเิ ตอร์ 4.2 การวเิ คราะหน์ ้ำตาลในสับปะรด
ช สารบัญ(ตอ่ ) 4.3 การวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ระหว่างสเปกตรมั ที่ได้จากเคร่ืองอินฟราเรดย่านใกล้ หน้า สเปกโทรมเิ ตอร์และปรมิ าณน้ำตาลในสบั ปะรด 20 บทที่ 5 สรปุ ผลการทดลอง และขอ้ เสนอแนะ 24 5.1 สรุปผลการวิจัย 24 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 24 25 เอกสารอ้างองิ
สารบัญตาราง หนา้ 17 ตารางท่ี 18 4.1 ค่าการดดู กลนื แสงของน้ำตาลกลูโคสที่ความเขม้ ขน้ ตา่ ง ๆ 19 4.2 คา่ การดูดกลนื แสงของน้ำตาลไซโลสทค่ี วามเข้มข้นต่าง ๆ 20 4.3 ปริมาณนำ้ ตาลในสับปะรดพนั ธ์ทุ ปิ โก้หอมสุวรรณ 21 4.4 การวิเคราะหส์ หสมั พันธ์อยา่ งงา่ ยของสับปะรดสว่ นเอ 21 4.5 การวิเคราะหส์ หสมั พนั ธ์อย่างง่ายของสับปะรดส่วนบี 23 4.6 การวเิ คราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของสบั ปะรดส่วนซี 4.7 คา่ ความคลาดเคล่ือนท่ไี ด้จากกลมุ่ ทดสอบที่ความยาวคล่นื 901 นาโนเมตร
สารบัญรปู รูปท่ี หนา้ 2.1 สบั ประรดพันธ์ทุ ปิ โกห้ อมสุวรรณ 3 2.2 โครงสร้างของน้ำตาลฟรุกโตสแบบโซ่เปิดและแบบวงแหวน 4 2.3 โครงสร้างของนำ้ ตาลกลโู คสแบบโซเ่ ปิดและแบบวงแหวน 4 2.4 โครงสร้างของน้ำตาลซูโครสแบบวงแหวน 5 4.1 การแบ่งสับปะรดออกเปน็ 3 ส่วนเพ่ือนำไปวัดด้วยเคร่ืองอนิ ฟราเรดย่านใกล้ สเปกโทรมเิ ตอร์ 15 4.2 รูปแสดงคา่ การดดู กลืนแสงท่ีความยาวคล่นื ตา่ ง ๆ ของสับปะรดสว่ นเอ 15 4.3 รูปแสดงคา่ การดดู กลืนแสงท่ีความยาวคล่นื ตา่ ง ๆ ของสับปะรดส่วนบี 16 4.4 รปู แสดงค่าการดดู กลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ของสบั ปะรดส่วนซี 16 4.5 รปู แสดงค่าการดดู กลนื แสงทคี่ วามยาวคล่ืนต่าง ๆ ของสับปะรดทั้ง 3 สว่ น 16 4.6 กราฟมาตรฐานของสารละลายกลูโคส 18 4.7 กราฟมาตรฐานของสารละลายไซโลส 19 4.8 การวเิ คราะห์สหสมั พันธ์อยา่ งงา่ ยของสว่ นเอเพ่ือทำนายปรมิ าณน้ำตาลเฉลี่ยในสบั ปะรด 22
บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความสำคญั และที่มาของงานวจิ ยั ในปัจจุบันอุตสาหกรรมน้ำผลไม้เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศ สามารถสร้าง รายได้จากการส่งออกปีละหลายพันล้านบาท ขณะที่ตลาดน้ำผลไม้ในประเทศมีมูลค่าประมาณ 1.3 หม่นื ล้านบาท มอี ัตราการเตบิ โตเฉลยี่ รอ้ ยละ 9 ตอ่ ปี ซึง่ เป็นผลมาจากพฤติกรรมผูบ้ รโิ ภคชาวไทย ทีห่ ันมาดแู ลเอาใจใสส่ ุขภาพมากยิง่ ข้ึน จงึ มีความพถิ ีพถิ นั ในการเลอื กบรโิ ภคอาหารและเครือ่ งด่มื โดย มุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย และน้ำผลไม้เป็นหนึ่งในเครื่องดื่มที่ผู้บริโภคเลือกด่ืม แทนเคร่ืองดม่ื ดบั กระหายชนิดอนื่ ท่ใี ห้ความร้สู ึกสดชื่นเพียงอย่างเดียว ประกอบกับผปู้ ระกอบการได้มี การนำนวัตกรรมมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สนองความต้องการของผู้บริโภคควบคู่กับการจัดกิจกรรม สง่ เสริมการตลาด นอกจากนี้อัตราการบรโิ ภคน้ำผลไม้ของผ้บู ริโภคชาวไทยอยู่ในระดบั ตำ่ กว่าชาวเยอรมัน ที่บริโภคน้ำผลไม้สูงถึง 34 ลิตรต่อคนต่อปี แต่ชาวไทยบริโภคน้ำผลไม้เพียง 4 ลิตรต่อคนต่อปี จึงอาจ กลา่ วได้ว่าอุตสาหกรรมน้ำผลไม้ไทยมโี อกาสเติบโตไดอ้ ีกมาก (ศูนยอ์ จั ฉริยะเพ่ืออตุ สาหกรรม, 2557) สบั ปะรดเป็นพชื เศรษฐกิจและสินค้าเกษตรส่งออกทสี่ ําคัญอีกอย่างหน่ึงของประเทศไทยในทาง การค้าตลาดหลักของสับปะรดเป็นการจําหน่ายให้กับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ส่วนตลาดรองเป็นการจําหน่ายในรูปของผลสดเพื่อการบริโภคภายในประเทศและ ต่างประเทศ (ปิยะวดี เจริญวัฒนะ, 2559) ทั้งนี้เกษตรกรนิยมจำหน่ายให้กับโรงงานอุตสาหกรรม มากกว่า เนื่องจากสามารถจำหน่ายสับปะรดในปริมาณมากและได้ราคาที่สูงกว่าการขายให้กับ พ่อค้าคนกลางหรอื ขายปลกี ให้กบั พอ่ ค้าแม่คา้ ในตลาดท่ัวไป ในการจำหน่ายสับปะรดให้โรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปัญหาเรื่อง ความหวานในสับปะรดแต่ละลูกไม่ได้ตามมาตรฐานของโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิง อตุ สาหกรรมนำ้ ผลไม้ทต่ี อ้ งการความหวานจากสบั ปะรดมากกว่าจากการปรุงแต่งรสชาตโิ ดยใช้น้ำตาล จึงทำใหเ้ กษตรกรท่ีปลูกสับปะรดต้องการหาวธิ ีการในการวัดน้ำตาลในสับปะรดเพ่ือจะได้สับปะรดท่ีมี ความหวานตามมาตรฐานของโรงงานอุตสาหกรรม และเป็นการก้าวเข้าสู่เกษตรอัจฉริยะ 4.0 (Smart Farmer 4.0) ซึ่งเป็น “นโยบายปักธง” ของรัฐบาลทหารเมื่อปี 2559 ซึ่งออกแบบมาเพื่อเปลี่ยน ประเทศไทยให้กลายเปน็ ประเทศทม่ี ีรายไดส้ งู ภายใน 5 ปี (เดอะอีสานเรคคอร์ด, 2562) โดยคณะผูว้ ิจยั ต้องการจะนำเครื่องอินฟราเรดย่านใกล้สโปกโทรมิเตอร์มาใช้ในการวัดกึ่งปริมาณของน้ำตาลใน สบั ปะรดโดยไม่ทำลายสารตวั อย่าง
2 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงานวิจัย เพื่อพฒั นาวธิ กี ารตรวจหาปริมาณน้ำตาลในสับปะรดพันธ์ุทปิ โก้หอมสวุ รรณท่ีง่าย รวดเร็ว และ ไม่ทำลายตัวอยา่ ง 1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั 1.3.1 ขอบเขตดา้ นเน้อื หา/ตวั แปร การศกึ ษานี้มุง่ เน้นท่กี ารตรวจวดั สบั ปะรดพันธ์ทิปโก้หอมสวุ รรณ โดยใช้วิธีทีง่ ่าย รวดเร็ว และสะดวกตอ่ การหาปรมิ าณนำ้ ตาล ตวั แปรตน้ คือ คา่ การดูดกลนื รังสอี นิ ฟราเรดยา่ นใกล้ของสับปะรดพันธ์ทุ ิปโกห้ อมสวุ รรณ ตัวแปรตาม คอื ปริมาณนำ้ ตาลในสบั ปะรดพันธุท์ ปิ โก้หอมสุวรรณ ตวั แปรควบคุม คือ ชนิดของสับปะรด 1.3.2 กลุ่มตัวอยา่ ง สับปะรดทเี่ ลอื กใชเ้ ป็นสบั ปะรดพนั ธทุ์ ิปโก้หอมสุวรรณ 1.3.3 ระยะเวลาในการดำเนินการวจิ ยั ตัง้ แต่เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2562 ถึง เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2563 1.4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 1.4.1 เกษตรกรไทยมรี ายไดเ้ พ่ิมขน้ึ เนื่องจากสามารถจำหน่ายสับปะรดพันธุ์ทิปโก้หอมสุวรรณที่มีความหวานที่ได้ตาม มาตรฐานของโรงงานอตุ สาหกรรม 1.4.2 พฒั นาวธิ ีการตรวจหาน้ำตาล สามารถพัฒนาวิธีการตรวจหาปริมาณน้ำตาลในสับปะรดพันธุ์ทิปโก้หอมสุวรรณที่ง่าย รวดเร็ว และไมท่ ำลายตวั อยา่ ง
บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง 2.1 สับปะรดพนั ธ์ทุ ิปโก้หอมสวุ รรณ สับปะรดสายพันธุ์ทิปโก้หอมสุวรรณเป็นสับปะรดที่ปลูกใน จ.ประจวบคีรีขันธ์แห่งเดียวในประเทศ ไทย และได้รับการพัฒนาสายพันธุ์มาเพื่อผู้บริโภคโดยเฉพาะ บนโจทย์ที่ว่าจะทําอย่างไรให้คนไทย รับประทานสับปะรดกันมากขึ้นเพื่อให้คนไทยมีสุขภาพดี บริษัท ทิปโก้ ฟูดส์ จํากัด (มหาชน) ผู้นํา ตลาดนำ้ ผลไม้ในประเทศไทยจึงพฒั นาสับปะรดสายพันธุ์ทิปโก้หอมสวุ รรณขึ้น ซงึ่ มีเอกลักษณ์ท่ีมีเน้ือ สีเหลืองทอง รสชาติหวาน กลิ่นหอม วิตามินซีสูง ความเป็นกรดต่ำกว่าสับปะรดพันธุ์อื่นทําให้ไม่ ระคายเคืองหรือทำใหเ้ ป็นแผลในระบบทางเดินอาหาร นอกจากนี้ยังมีเปลือกบางทําให้ปอกงา่ ย ทั้งน้ี อาจกล่าวได้ว่าสับปะรดสายพันธุ์ทิปโก้หอมสุวรรณเป็นสับปะรดที่ออกแบบมาเพื่อคนไทยโดยเฉพาะ แสดงดังรปู ท่ี 2.1 (มตชิ นออนไลน์, 2562) รูปที่ 2.1 สบั ปะรดพันธทุ์ ปิ โกห้ อมสวุ รรณ ท่มี า : มตชิ นออนไลน์ (2559) 2.2 ชนิดของน้ำตาล น้ำตาลฟรุกโตส (Fructose) หรอื เลวโู ลส (Laveulose) เป็นน้ำตาล (Sugar) ชนดิ หนึ่ง ซึ่งเป็น คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ประเภท น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharide) มีคาร์บอน 6 อะตอม (Hexose) เป็นน้ำตาลคีโทส (Ketose) และเป็นน้ำตาลรีดิวซ์ (Reducing Sugar) สมบัติทางกายภาพ ของนำ้ ตาลฟรุกโตสทีใ่ ช้ในอาหารอยู่ในรูปของด-ี ฟรุกโตส (D-Fructose) มีลักษณะเป็นผลึกของแข็ง สีขาว จุดหลอมเหลว (Melting Point) ที่ 102 องศาเซลเซียส น้ำตาลฟรุกโตสสามารถดูดน้ำได้ดี (Hygroscopic) เมื่ออยู่ในบรรยากาศ ที่มีความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity) เกินร้อยละ 60 ซึ่งผลึกของน้ำตาลฟรุกโตสจะดูดความชื้นจนกลายเป็นของเหลว ทำให้เป็นปัญหาในการจัดเก็บ แสดงดงั รปู ที่ 2.2 (พมิ พ์เพญ็ พรเฉลิมพงศ์ และนธิ ิยา รตั นาปนนท์, ม.ป.ป.)
4 รูปท่ี 2.2 โครงสรา้ งของนำ้ ตาลฟรุกโตสแบบโซ่เปดิ และแบบวงแหวน ทม่ี า : พมิ พเ์ พญ็ พรเฉลิมพงศ์ และนธิ ิยา รัตนาปนนท์ (ม.ป.ป.) นำ้ ตาลกลโู คส (Glucose) เปน็ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ประเภท น้ำตาลโมเลกุลเด่ียว (Monosaccharide) มีคาร์บอน 6 อะตอม (Hexose) ชนิดแอลโดส (Aldose) และน้ำตาลกลูโคสที่ พบอยู่ในรูปดี-กลูโคส (D-Glucose) ซึ่งเป็นน้ำตาลรีดิวซ์ (Reducing Sugar) น้ำตาลกลูโคส อาจเรียกว่า เดกซ์โทรส (Dextrose) หมายถึงดี-กลูโคส (D-Glucose) สมบัติทางกายภาพ น้ำตาลกลูโคสมีลักษณะ เป็นผลึกของแข็งสีขาว จุดหลอมเหลว (Melting Point) ที่ 146 องศาเซลเซียส ความสามารถใน การละลายของน้ำตาลฟรุกโตส กลูโคส และน้ำตาลทราย เป็นกรัมในน้ำ 100 กรัม และเป็นร้อยละท่ี อณุ หภูมิต่าง ๆ แสดงดังรูปท่ี 2.3 (พมิ พเ์ พญ็ พรเฉลมิ พงศ์ และนิธยิ า รตั นาปนนท์, ม.ป.ป.) รูปท่ี 2.3 โครงสร้างของน้ำตาลกลโู คสแบบโซ่เปิดและแบบวงแหวน ท่มี า : พมิ พ์เพญ็ พรเฉลิมพงศ์ และนธิ ิยา รตั นาปนนท์ (ม.ป.ป.)
5 น้ำตาลซูโครส (Sucrose) เป็นน้ำตาล (Sugar) ที่เรียกกันทั่วไปว่าน้ำตาลทราย ท่ีใช้เป็นสารให้ ความหวาน (Sweetener) อย่างกว้างขวางทัว่ โลก พบอย่ใู นพชื และผลไม้หลายชนิด แตท่ น่ี ำมาใช้เป็น วัตถุดิบผลิตน้ำตาลทางการค้า คือ อ้อยและหัวบีท น้ำตาลซูโครสเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharide) ซึ่งประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharide) 2 ชนิด คือน้ำตาลฟรุกโตส (Fructose) และน้ำตาลกลูโคส (Glucose) เชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคไซด์ (Glycosidic Bond) มีสูตรโมเลกุล คือ C12H22O11 ซึ่งน้ำตาลซูโครสเป็นน้ำตาลไม่รดี ิวซ์ (Non Reduction Sugar) เพราะไม่มีหมู่ฟังก์ชนั เหลืออยู่ในโมเลกุล แสดงดงั รปู ท่ี 2.4 (พมิ พเ์ พญ็ พรเฉลมิ พงศ์ และนธิ ยิ า รตั นาปนนท์, ม.ป.ป.) รูปท่ี 2.4 โครงสรา้ งของน้ำตาลซูโครสแบบวงแหวน ทมี่ า : พมิ พ์เพญ็ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์ (ม.ป.ป.) 2.3 วิธีการวัดปรมิ าณนำ้ ตาล นำ้ ตาลในผลไมม้ ี 3 ชนดิ คือ น้ำตาลกลโู คส ฟรกุ โตส และซูโครส ซึ่งน้ำตาลทงั้ 3 ชนิดจดั อยู่ใน ประเภทสารอาหารกลุ่มคารโ์ บไฮเดรต นำ้ ตาลกลูโคสและนำ้ ตาลฟรุกโตสเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดยี วหรือ โมโนแซคาไรด์เมื่อร่างกายได้รับแล้วสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย น้ำตาลกลูโคสพบได้ในผลไม้ทั่วไป นำ้ ตาลฟรุกโตสพบในผลไม้ทีม่ ีรสหวานและในน้ำผึ้งส่วนน้ำตาลซูโครสอยู่ในกลุ่มน้ำตาลโมเลกุลคู่หรือ ไดแซคคาไรด์ ซึ่งจะประกอบด้วยน้ำตาลกลูโคสกับฟรุกโตส เมื่อร่างกายได้รับแล้วต้องถูกย่อยให้เป็น น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวก่อนจึงจะถูกดูดซึมได้ และวิธีการวัดปริมาณน้ำตาลในผลไม้มีหลากหลายวิธี เช่น วิธีการวัดองศาบริกซ์ (oBrix) วิเคราะห์ด้วยวิธีเครื่องโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) และวิธีดีเอ็นเอส (DNS Method) ซึ่ง การวิจัยในครั้งนี้ได้เลือกใช้วิธีดีเอ็นเอส เนื่องจากมีความเหมาะสมในการทำวิจยั และเป็นที่นิยมในการ ตรวจวดั ปรมิ าณนำ้ ตาลในผลไม้ (สำนกั โภชนาการ กรมอนามยั , 2557)
6 2.4 เกษตรอัจฉริยะ 4.0 เกษตรอัจฉริยะ 4.0 (Smart Farmer 4.0) คือ นโยบายปักธงของรัฐบาลทหารเมื่อปี 2559 โดยออกแบบมาเพื่อเปลี่ยนประเทศไทยให้กลายเป็นประเทศที่มีรายได้สูงภายใน 5 ปี และแผนนี้ รายงานว่าเป็นกลไกการเติบโตใหม่ท่ีจะขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศไปข้างหน้าด้วยอตุ สาหกรรม และนวัตกรรมไฮเทคที่จะผลักดันประเทศให้ผลิตสิน ค้าและบริการมูลค่า ที่เพิ่มขึ้นในระดับสูง (เดอะอีสานเรคคอรด์ , 2562) ฟาร์มอัจฉริยะเป็นฟาร์มที่มีการจัดการอย่างถูกต้องแม่นยำ (Smart Farm หรือ Precision Farm) จัดเป็นนวัตกรรมใหม่ของการเกษตรในยุคดิจติ อล มกี ารนำเอาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ หลายด้านมาใช้ในฟาร์ม เช่น จีพีเอส (GPS) จีไอเอส (GIS) การสำรวจระยะไกล (Remote-Sensing) การตรวจจบั ใกล้เคยี ง (Proximal-Sensing) วีอารท์ ี (VRT) และดเี อสเอส (DSS) โดยผ่านเครือข่ายสัญญาณ อินเตอร์เน็ตไร้สายในการรับส่งข้อมูลและมีการประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ฟาร์มอัจฉริยะมี ข้ันตอนการดำเนินงาน 5 ข้ันตอน คือ การเก็บข้อมูล การวินิจฉัยข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การ ปฏิบัติการตามแผน และการประเมินผล โดยมีการจัดการฟาร์มในทุกขั้นตอน คือ การจัดทำแผนที่ สภาพดิน การให้นำ้ การใหป้ ยุ๋ การกำจดั ศัตรพู ืช การเกบ็ เก่ยี ว การคำนวณต้นทนุ กำไร ตลอดจนการ วางแผนการเพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป การดำเนินการฟาร์มอัจฉริยะส่งผลให้เกิดการใช้ปัจจัยการ ผลิตท่มี ปี ระสิทธิภาพ เพ่ิมปรมิ าณผลผลิตท่ีมีคุณภาพ คุม้ คา่ ต่อการลงทุน ลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ลดต้นทุน ลดการจ้างแรงงาน ประหยดั เวลา และนำไปสู่การเกษตรยัง่ ยืนและเป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม 2.5 การคำนวณข้อมลู ทางสถิติ 2.5.1 การวเิ คราะหส์ หสัมพันธ์อย่างง่าย เปน็ การศึกษาระดับความสัมพันธ์ของ X กับ Y วา่ มีความสมั พนั ธ์กนั มากน้อยเพียงใด และ มีทิศทางความสมั พนั ธอ์ ย่างไร เมื่อ X เปน็ ตวั แปรอสิ ระ และ Y เปน็ ตัวแปรตาม ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple Correlation Coefficent) เป็นค่าที่ วัดความสัมพันธ์ของ X กับ Y ว่า มีขนาดและทิศทางของความสัมพันธ์อย่างไร กำหนดให้ x คือ สมั ประสิทธส์ิ หสัมพันธ์อย่างง่ายของประชากร เมื่อ –1 ≤ x ≤ 1 เน่ืองจากในการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ไม่ได้เก็บข้อมูลจากประชากรแต่เป็นการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ดังน้ันค่าสัมประสิทธ์ิท่ีได้จึง เป็นค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สัญลักษณ์ว่า r เมื่อ –1 ≤ r ≤ 1 (นายธีระพงษ์ กระการดี, ม.ป.ป.) 2.5.2 การวเิ คราะห์ถดถอยอยา่ งงา่ ย การวิเคราะหถ์ ดถอยอยา่ งงา่ ยเป็นการศึกษาความสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปร 2 ตัวแปร คือ ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ซึ่งความสัมพันธ์ของตัวแปรจะอยู่ในรูปของ เส้นตรงหรือเส้นโค้ง เป็นต้น ซ่ึง
7 ในทนี่ ี้จะกล่างถึงเพียงความสัมพันธ์ของลักษณะเส้นตรงเท่านั้น ซงึ่ เรียกว่า การวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) ซง่ึ สามารถแสดงความสมั พนั ธ์ในรปู สมการเชิงเสน้ ตรง โดยมีรปู แบบ ของสมการเสน้ ตรงคอื y = mx + c เม่ือ m และ c เปน็ คา่ คงที่ (นายธีระพงษ์ กระการดี, ม.ป.ป.) 2.5.3 การแบ่งกลมุ่ ขอ้ มูล ทางผู้วิจัยได้เลือกการแบ่งกลุ่มข้อมูลเป็น 70 กับ 30 เนื่องจากสเปกตรัมถูกจัดให้อยู่ กึ่งกลางและประมวลผลล่วงหน้าโดยการปรับแก้การกระเจิงแบบผลคูณ (Multiplicative Scatter Correction, MSC) และการปรับความแปรปรวนให้เป็นมาตรฐาน (Standard Normal Variate, SNV) หรืออนุพันธ์อันดับหนึ่งซึ่งจะใช้ตัวกรองสาวิทซกี-โกเลย์(Savitzky – Golay) ที่มีหน้าต่าง 21 จุด และพหุนามลำดับแรก สเปกตรัมการสอบเทียบอยู่ภายใต้การถดถอยกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Squares Regression, PLSR) ด้วยการตรวจสอบความถูกต้องแบบการกำหนดจำนวนแฝง ของตัวแปรในรูปแบบสุดท้ายระหว่างห้าถึงแปด ซ่ึงต้นตำรับชุดข้อมลู ถูกแบง่ แบบสุม่ เปน็ สองส่วนย่อย คือ ชุดสอบเทียบ ประกอบไปด้วยร้อยละ 70 ของตัวอย่าง และชุดการตรวจสอบภายนอก ประกอบไปด้วยรอ้ ยละ 30 ของตัวอย่าง ประสิทธภิ าพของโมเดลการสอบเทียบได้รบั การประเมินโดย ใช้ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) ข้อผิดพลาดกำลังสองของค่าเฉลี่ยรากของการสอบเทียบ (Root Mean Square Error of Calibration, RMSEC) และค่าเฉล่ียกำลงั สองของการทำนาย (Root Mean Square of the Prediction, RMSEP) (Alamar, 2016) 2.6 เคร่ืองอนิ ฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์ เครื่องอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์ (Near Infrared Spectrometer, NIRS) เป็นเครื่อง ที่ใช้รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นย่านอินฟราเรดใกล้ สามารถส่องไปยังสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ เช่น สอ่ งผา่ นอาหารหรอื วัตถดุ ิบทางอาหารดว้ ยความรอ้ นผา่ นเข้าไปในเน้ือวสั ดแุ ล้วมีการเปลีย่ นแปลง พันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนกับไฮโดรเจน (C-H) ไนโตรเจนกับไฮโดรเจน (N-H) และออกซิเจน กับไฮโดรเจน (O-H) โดยการยืด-หดหรือบดิ -งอในรูปแบบต่าง ๆ แล้วทำการตรวจวัดคลื่นแสงที่ไม่ถกู ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ หรือเป็นคลื่นแสงที่สะท้อนกลับออกมาจากตัวอย่าง (เนื่องจาก เครื่องไม่สามารถวัดการดูดกลืนแสงได้โดยตรง) แล้วนำความเข้มแสงสะท้อนกลับของตัวอย่างและ วสั ดุมาตรฐานอา้ งองิ มาคำนวณด้วยสมการ A = log (Ir/Is) โดยท่ี A = การดดู กลืนแสง Ir = ความเขม้ แสงสะท้อนกลับของวัสดุมาตรฐานอา้ งองิ Is = ความเขม้ แสงสะท้อนกลับของตวั อย่าง เมื่อนำค่า A มาพล็อตที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ จะเกิดเป็นสเปกตรัมที่มีลักษณะเฉพาะตัวใน แต่ละตัวอยา่ งทน่ี ำมาวเิ คราะห์ (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน, ม.ป.ป.)
8 2.7 เครือ่ งยวู ี-วสิ เิ บลิ สเปกโทรโฟโตมเิ ตอร์ (UV-VIS Spectrophotometer) เครื่องยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในวิเคราะห์สารโดยอาศัยหลักการ ดูดกลืนรังสีของสารที่อยู่ในช่วง อัลตราไวโอเลต (Ultra Violet, UV) และ วิสิเบิล (Visible, VIS) ความยาวคลื่นประมาณ 190-1000 นาโนเมตร โดยที่ความยาวคลื่นแสงจะมีความสัมพันธ์กับปริมาณ และชนิดของสารตัวอย่าง เมื่อทำการวัดปริมาณแสงที่ผ่านหรือสะท้อนมาจากตัวอย่างเทียบกับแสงจาก แหล่งกำเนิดแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ตามกฎของเบียร์-แลมเบิร์ต (Beer-Lambert) ค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance) ของสารจะแปรผันกับจำนวนโมเลกุลที่มีการดูดกลืนแสง ดังนั้นจึงสามารถใช้เทคนิคนี้ใน การระบชุ นิดและปริมาณของสารต่าง ๆ ทม่ี ีอยใู่ นตัวอย่างได้ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ม.ป.ป.) ส่วนประกอบของเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ มี 5 ส่วน คือ (1) แหล่งกำเนิดแสง ให้แสงช่วง ความยาวคลื่นที่เหมาะสม เช่น 190-1100 นาโนเมตร (2) ตัวแยกแสง เป็นส่วนที่ใช้จัดเกี่ยวกับ แสงภายในเครื่อง (3) เซลล์ใส่สารตัวอย่าง (Cell Compartment) และ คิวเวทท์ (Cuvette) ที่ใช้ใส่ ตวั อยา่ งที่ต้องการนำไปวัด (4) มาตรแสง (Detector) ส่วนตรวจสอบแสงท่ีเหลือจากการดูดกลืน ตัวอย่าง(5) เครอ่ื งบนั ทกึ และอ่านผล (Readout System) (กาญจณา ขนั ทกะพนั ธ,์ 2560) 2.8 งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง กาญจนา กิระศักด์ิ และคณะ (2558) รายงานว่า การวัดค่าความหวานของอ้อย (Commercial Cane Sugar; CCS) ด้วยเทคนิคอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรสโกปีแบบฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์ม (Fourier-Transform Near-Infrared, FT-NIR) ซึ่งจะใช้ตัวอย่างของอ้อยที่ปลูกจากแหล่งปลูกต่าง ๆ ใน เขตตะวันออกเฉียงเหนือจำนวน 1,150 ตัวอย่าง ด้วยวิเคราะห์หาของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ (บริกซ์) หาร้อยละน้ำตาลซูโครส (โพล) และร้อยละเส้นใยของอ้อย เพื่อนำมาใช้คำนวณค่า CCS แล้วนำค่า เคมีวิเคราะห์ทั้งหมดมาสร้างสมการร่วมกับค่าสเปกตรา (Spectra) ของน้ำอ้อยและเส้นใยโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป (TQ Analyst Software) เพ่อื ให้ไดส้ มการประเมินค่า CCS ท่ไี ด้จากสมการของน้ำอ้อย และสมการของเส้นใยพบว่าสมการทำนายค่า CCS สมการของน้ำอ้อยให้ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ ค่า ความคลาดเคลอ่ื นจากการทดสอบประสทิ ธภิ าพ และคา่ ความคลาดเคล่ือนจากการทำนายที่ 0.996 0.610 และ 0.573 ตามลำดบั ธิดารัตน์ เหล่าชัย (2559) ระบุว่าความหวานเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพของอ้อยและน้ำตาล ดังนั้นใน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดทดสอบความหวานของอ้อยและน้ำตาล โดยการตรวจวัดความ เข้มข้นของซูโครส อาศัยเทคนิคไบโอเซนเซอร์เพื่อสร้างเป็นไครโอเจลไบโอเซนเซอร์และอนุภาคนาโน แม่เหล็ก เม่ือเตมิ ซูโครสและ สารโอไดอะนซิ ิดนี ได้สารละลายสนี ้ำตาล จากนน้ั นำสารนี้ไปตรวจวัดการ ดูดกลืนแสงด้วยเครื่องยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ที่ความยาวคลื่น 430 นาโนเมตร ในการ
9 ทดสอบพบว่าอนุภาคนาโนแม่เหล็กที่สังเคราะห์ได้มีขนาด 43 นาโนเมตร มีสมบัติความเป็นแม่เหลก็ ยิ่งยวดภายใต้สภาวะที่เหมาะสมพบว่า ชุดทดสอบนี้มีความเที่ยงตรงและความถูกต้องสูง ช่วงความ เข้มข้นที่เป็นเส้นตรงในช่วง 10 ถึง 60 มิลลิโมลต่อลิตร ขีดจำกัดในการตรวจพบและขีดจำกัดในการ ตรวจพบเชิงคุณภาพเทา่ กับ 3 และ 11 มลิ ลโิ มลต่อลิตร วารณุ ี ภสู่ จั จพงษ์ และคณะ (2546) ได้ทำการวจิ ัยเพอ่ื ศึกษาปริมาณนำ้ ตาล 3 ชนดิ คอื น้ำตาล กลูโคส ฟรุกโตส และซูโครส ในราก และสารหลั่งรากข้าวของข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ที่ปลูกในทราย ตามวิธีแซนด์โฟนิก (Sand Phonic) โดยใช้สารละลายสูตรมาตรฐานฮอกแลนด์ (Hoagland) เพื่อ นำมาศึกษาความสัมพันธ์ของน้ำตาลซึ่งจะใช้เทคนิคโครมาโทกราฟีของเหลวประสิทธิภาพสูง (High Performance Liquid Chromatography) ในรากข้าวและสารหลั่งรากข้าว จากผลการศึกษา พบว่าปริมาณน้ำตาลกลูโครสในรากข้าวมีมากที่สุดในระยะเจริญพันธุ์ (Reproductive) ส่วน น้ำตาลฟรุกโตสและซูโครส พบมากในระยะ Ripening สำหรับน้ำตาลรวมเฉลี่ยในรากพบในระยะ เจริญพันธ์ุ (Reproductive) มากกว่าระยะการทำใหส้ ุก (Ripening) สำหรับปริมาณน้ำตาลในสารหลั่งราก จะพบน้ำตาลกลูโครสในระยะที่เป็นพืชพันธุ์ (Vegetative) และพบน้ำตาลฟรุกโตสในระยะเจริญพันธุ์ (Reproductive) แต่ไม่พบน้ำตาลซูโครสในสารหลั่งรากเลย รวมท้ังไม่พบว่าปริมาณน้ำตาลในราก มีความสมั พันธ์กับปรมิ าณน้ำตาลในสารหลงั่ รากข้าว ศิริบุญ พูลสวัสดิ์ (ม.ป.ป.) ได้ทำการวิจัยเพื่อศึกษาปริมาณน้ำตาล และวัดค่าวอเตอร์แอกติวิตี (Water Activity) ของตัวอย่างผลไม้แห้ง 31 ตัวอย่าง ซึ่งจะเปรียบเทียบโดยอาศัยผลของการวิเคราะห์ ปริมาณน้ำตาลท่ีคิดเป็นร้อยละของน้ำหนักอบแห้งในผลไม้ชนิดเดียวกัน ทำให้เปรียบเทียบได้ถูกต้อง เพราะไม่ต้องคำนึงถึงปริมาณความชืน้ ซง่ึ จากการศึกษาและทดลองในครงั้ น้ี เม่ือเปรยี บเทียบในผลไม้ ชนิดเดียวกันแล้วพบว่าตัวอย่างสับปะรดอบแห้งและแกนสับปะรดอบแห้งซึ่งมีปริมาณน้ำตาลรีดิวซงิ คำนวณเป็นน้ำตาลเดกซ์โทรส ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดคำนวณเป็นน้ำตาลอินเวิร์ตใกล้เคียงกัน และมีค่าวอเตอรแ์ อกติวิตีต่ำกว่า 0.6 ซึ่งตัวอย่างเหล่านี้เป็นผลไม้แห้งซึ่งสามารถเก็บรักษาไว้โดย ไม่ถูกทำลายโดยเชื้อจุลินทรีย์เหมือนกัน แต่ปริมาณน้ำตาลซูโครสนั้นแตกต่างกัน ดังนั้นในการผลิต อาจปรับปรุงโดยการลดปริมาณน้ำตาลซูโครสลง ซึ่งเท่ากับเป็นการลดต้นทุนแต่ก็ยังสามารถผลิต ผลไมแ้ หง้ ที่มคี ณุ ภาพดี คือเกบ็ รกั ษาไดน้ านเชน่ เดยี วกนั อรอุมา ศรีชื่นชม (2545) ทำศึกษาชนิดและปริมาณของน้ำตาลในลูกหว้าสายพันธ์ุ 3A และ 13A ด้วยเครื่องโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) เครื่องตรวจวัดแบบดัชนีหักเห (RI Detector) คอลัมน์ Asahipak NH2P-50 4E มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางขนาด 4.6 มิลลิเมตร และมีความยาวของคอลัมน์ขนาด 250 มิลลิเมตร ใช้อะซีโตไนไตรล์ต่อน้ำ อัตราส่วน 75 : 25 เป็นเฟสในการเคล่ือนที่ (Mobile Phase) และมีอัตราการไหล (Flow Rate) เท่ากับ 1.0 มิลลิลิตรต่อนาที ซึ่งจากการทดลองพบว่าลูกหว้าทั้ง 2 สายพันธุ์ มีน้ำตาลฟรุกโตสและ
10 กลูโคสเป็นองค์ประกอบ แต่ไม่พบน้ำตาลซูโครส (Sucrose) ในลูกหว้าทั้ง 2 สายพันธุ์ โครมาโทแกรม ของน้ำตาลฟรุกโตส (Fructose) ในลูกหว้าสายพันธ์ุ 3A และ 13A มีเวลาในเก็บรักษา (Retention Time) เท่ากับ 9.35 และ 9.10 นาที ตามลำดับ โดยลูกหว้าสายพันธุ์ 3A มีปริมาณน้ำตาลฟรุกโตสและกลูโคส เท่ากับร้อยละ 4.5 และร้อยละ 3.54 ตามลำดับ ลูกหว้าสายพันธุ์ 13A มีปริมาณน้ำตาลฟรุกโตสและ กลูโคสเท่ากับร้อยละ 4.5 และร้อยละ 3.54 ตามลำดับ ลูกหว้าสายพันธุ์ 3A มีปริมาณน้ำตาลฟรุกโตส และกลูโคสมากกวา่ ลูกหวา้ สายพันธ์ุ 13A อยู่ 1.38 และ 1.10 เทา่ ตามลำดับ Alamar et al. (2016) การศึกษาในปัจจุบันได้ศึกษาการประยุกต์โดยใช้อินฟราเรดย่านใกล้ สเปกโทรสโกปี ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งของวิธีการวิเคราะห์ ท่ีถูกใช้ในการ ประเมินคุณภาพในปัจจุบัน (ความช้ืน น้ำตาลทั้งหมด ความเป็นกรด ละลายน้ำได้ของแข็ง pH และ กรดแอสคอร์บิก) ของฝรั่งแช่แข็งและเนื้อเสาวรส ตัวอย่าง 50 ตัวอย่างถูกวิเคราะห์โดยอินฟราเรด ย่านใกล้สเปกโทรสโกปี และวิธีการอ้างอิง การถดถอยกำลังสองน้อยที่สุด (Partial Least Squares Regression, PLSR) ถกู ใช้เพือ่ พัฒนาการสอบเทยี บแบบจำลองเพื่อเชื่อมโยงสเปกตรัมของอินฟราเรด ย่านใกล้สเปกโทรสโกปี ซึ่งวิธีอ้างอิงจะระบุการปลอมปนด้วยน้ำ นอกจากนี้ในตัวอย่างเนื้อฝรั่ง และตัวอย่างเนื้อเสาวรสสีเหลือง ร้อยละ 58 ร้อยละ 44 ตามลำดับ ยังมีตัวแปรและปัจจัยแฝงใน โมเดล (Partial Least-Square, PLS) ที่ผลิตได้มีค่าที่ต่ำกว่าข้อผิดพลาดกำลังสองของค่าเฉลี่ยราก ของการสอบเทียบ (Root Mean Square Error of Calibration, RMSEC) ซึ่งข้อผิดพลาดกำลังสอง ของคา่ เฉลย่ี รากของการทำนายและค่าสัมประสิทธ์ิการพิจารณาทส่ี ูงกว่า 0.7 ของความชื้นและน้ำตาลรวม จะนำมาเสนอเป็นการสอบเทียบที่ดีที่สุดในแบบจำลอง ซึ่งสำหรับเนื้อฝรั่ง ข้อผิดพลาดกำลังสองของ ค่าเฉลี่ยรากของการทำนายที่ได้คือ 0.240 และ 0.269 ตามลำดับ และเนื้อเสาวรส ข้อผิดพลาด กำลังสองของค่าเฉลี่ยรากของการทำนายท่ีได้ คือ 0.401 และ 0.413 ตามลำดับ จึงทำให้สามารถ ประยุกต์ใช้แบบจำลองเหล่าน้ีเพื่อตรวจสอบการปลอมปนในฝรั่งและสีเหลืองเนื้อเสาวรส โดยเติมน้ำ หรือน้ำตาล ลงในแบบจำลองที่สร้างขึ้นสำหรับใช้ในการสอบเทียบพารามิเตอร์ ซึ่งคุณภาพของเน้ือ ผลไม้แช่แข็งในการศึกษาครั้งน้ีได้ระบุไว้ว่าอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรสโกปีที่ใช้ควบคู่ไปกับเทคนิค การสอบเทียบหลายตัวแปร สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของเนื้อฝรั่งและเนื้อ เสาวรสสเี หลืองได้ Hu et al. (2008) ในการวัดปรมิ าณน้ำตาลรีดิวซงิ ในอาหาร ยา หรือกระบวนการทางชีววทิ ยา นิยมวัดปริมาณน้ำตาลรีดิวซิงด้วยวิธีดีเอ็นเอส โดยเตรียมสารละลาย 3,5-ไดไนโตรซาลิไซลิก เอซิด (3,5-Dinitrosalicylic Acid) หนัก 6.3 กรัม มาละลายในโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 2 โมลต่อลิตร (2M NaOH) ปริมาตร 262 มิลลิลิตร หลังจากนั้นนำมาผสมด้วยโพแทสเซียมโซเดียมทาเทรต (Potassium Sodium Tartrate) 185 กรัม ลงในน้ำร้อน 500 มิลลิลิตร ตามด้วยฟีนอล (Phenol) และโซเดียมซัลไฟต์ (Sodium Sulfite) อย่างละ 5 กรัม หลังจากนั้นทิ้งไว้ให้เย็นจนมีอุณหภูมิประมาณ
11 อุณหภูมิห้องแล้วปรับปริมาตรให้เป็น 1000 มิลลิลิตร และทำการเตรียมสารละลายมาตรฐานกลูโคส และไซโลสตอ่ เพ่อื ทำกราฟมาตรฐานสำหรับคำนวณน้ำตาลในตวั อย่าง Marsden et al. (1982) การวัดปริมาณน้ำตาลรีดิวซิงโดยใช้กรดไดไนโตรซาลิไซลิก (Dinitrosalicylic Acid) เป็นวิธีท่ีง่าย รวดเร็ว และวัดปริมาณน้ำตาลรีดิวซิงได้ดี โดยสีท่ีเกิดขึ้นจะ เกิดจากปฏิกิริยารีดักชัน โดยการเปล่ียน 3,5-ไดไนโตรซาลิไซลิก เอซิด (3,5-Dinitrosalicylic Acid) ไปเป็น 3-อะมิโน-5-ไนโทรซาลิไซลิก เอซิด (3-Amino-5-Nitrosalicylic Acid) ในหมู่ของแอลดีไฮด์ บนน้ำตาลรีดิวซิง วิธีนี้จะทำได้โดยเตรียมสารละลายมาตรฐานหรือดีเอ็นเอส 3 มิลลิลิตร ผสม กับสารตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร ลงในหลอดทดลองแล้วนำไปต้มในอ่างน้ำร้อน 15 นาที แล้วทำให้เย็นลงท่ี อุณหภูมิห้องอย่างน้อย 15 นาที หลังจากนั้นไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 575 นาโนเมตร และคำนวณค่าความเข้มข้นจากกราฟมาตรฐาน
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนนิ การวิจัย 3.1 สารเคมแี ละอปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในการทดลอง 3.1.1 สารเคมี 1) 3,5-กรดไดไนโตรซาลไิ ซลกิ (3,5-Dinitrosalicylic Acid) Lab Grade, Himedia 2) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium Hydroxide, NaOH) AR Grade, Univar 3) โซเดียมโพแทสเซียมทาร์เทรต (Sodium Potassium Tartrate, KNaC4H4O6) AR Grade, Kemaus 4) ไซโลส (Xylose) Lab Grade, Himedia 5) กลโู คส (Glucose) AR Grade, Univar 3.1.2 อุปกรณ์ 1) หลอดทดลอง 2) บกี เกอร์ 3) ขวดวัดปริมาตร 4) ชอ้ นตักสาร, มีดแกะสลกั , ผา้ ขาวบาง, หลอดหยด 5) ไมโครเพลท 96 หลมุ (Microplate 96 well) NuncTM, Denmark 6) เครอ่ื งอินฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมิเตอร์ (Near Infrared Spectrometer) TEXAS INSTRUMENTS, USA 7) เครื่องไมโครเพลทรีดเดอร์ (Microplate Reader) Metertech, ACCUREADER M965, TW 8) เครื่องยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (UV-Vislble Spectrophotometer) Thermo Scientific, GENESYS 10S, USA 3.2 วิธกี ารทดลอง 3.2.1 การวิเคราะห์สเปกตรัมของเปลือกสับปะรดจากเคร่ืองอินฟราเรดยา่ นใกล้สเปกโทรมิเตอร์ 1) ทำการกำหนดตำแหน่งบนสับปะรดทั้งหมด 12 ตำแหน่ง โดยให้แบ่งตำแหน่งของ สบั ปะรดตามแนวตั้งออกเป็น 4 ส่วน และตามแนวนอนแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน (ส่วนเอ สว่ นบี และสว่ นซี) จากนั้นทำการเชื่อมต่อเครื่องอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์เข้ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะใช้ โปรแกรมดีแอลพี เอ็นไออาร์สแกน (DLP NIRscan Nano GUI) ในการตรวจวัด เมื่อทำการเชื่อมต่อ
13 สำเร็จแล้วใหน้ ำเครือ่ งอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์มาสแกนที่บรเิ วณผวิ ของเปลือกสับปะรดที่ ถกู กำหนดตำแหนง่ ไวท้ ัง้ 12 ตำแหนง่ ซง่ึ แตล่ ะตำแหนง่ จะทำการแสกนทง้ั หมด 3 คร้ัง 2) นำข้อมูลค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ที่ได้จากสเปกตรัมของเปลือก สับปะรดจากเครื่องอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์ มาเปรียบเทียบเพื่อหาความแตกต่างระหว่าง ส่วนเอ สว่ นบี และสว่ นซี 3.2.2 การวิเคราะหป์ รมิ าณนำ้ ตาลในสับปะรด 1) การเตรยี มสารละลายมาตรฐานกรดไดไนโตรซาลไิ ซลิก - ละลายกรดไดไนโตรซาลิไซลิก (3,5-Dinitrosalicylic Acid) 0.5 กรัม ลงใน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 2 โมลต่อลิตร ปริมาตร 10 มิลลิลิตร บนอ่างน้ำร้อนที่ อุณหภูมปิ ระมาณ 80-90 องศาเซลเซียส คนจนละลายเป็นเนื้อเดียวกนั เตมิ โซเดียมโพแทสเซียมทราเทรต 15 กรัม ลงในน้ำกลน่ั 25 มลิ ลิลติ ร คนใหล้ ะลายจนหมด และผสมกันในขณะท่ีร้อน จากนัน้ เตมิ น้ำกลั่นให้ ได้ปริมาตร 50 มลิ ลิลติ ร แล้วเกบ็ ลงในขวดสชี าที่อุณหภมู ิหอ้ ง 2) การเตรยี มกราฟมาตรฐานของนำ้ ตาลกลูโคส - ชั่งน้ำตาลกลูโคส 50 มิลลิกรัม ละลายด้วยน้ำกลั่นและปรับปริมาตรในขวดวัด ปรมิ าตรขนาด 50 มิลลลิ ติ ร เพ่ือใหไ้ ดส้ ารละลายมาตรฐานกลโู คสเขม้ ขน้ 1,000 ไมโครกรมั ต่อมลิ ลลิ ติ ร - ทำการวัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายมาตรฐานน้ำตาลกลูโคสความเข้มขน้ 100 ไมโครกรมั ต่อมลิ ลลิ ิตร โดยใส่สารละลายมาตรฐานกรดไดไนโตรซาลิไซลิก 300 ไมโครลิตร ลงใน หลอดทดลอง แล้วเตมิ สารละลายมาตรฐานกลโู คสทเี่ ตรียมไว้ ปริมาตร 100 ไมโครลิตร จะได้ปรมิ าตร ทั้งหมด 400 ไมโครลิตร หลังจากนั้นนำหลอดทดลองไปต้มในอ่างน้ำร้อน 15 นาที แล้วทำให้เย็นใน อ่างนำ้ ทอี่ ุณหภมู หิ ้องและอ่างน้ำแข็ง รวมกันไมน่ อ้ ยกว่า 15 นาที หลังจากนน้ั เติมนำ้ กลั่น 600 ไมโครลิตร เขย่าใหเ้ ข้ากัน แลว้ จึงปิเปตมา 200 ไมโครลิตร ลงในไมโครเพลท 96 หลุม จำนวน 1 หลุม (ทำซำ้ 3 ครงั้ ) - ทำการวัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายมาตรฐานน้ำตาลกลูโคสความเข้มขน้ 75 50 25 และ 0 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร โดยใช้วิธีการข้างต้นแต่เปลี่ยนปริมาตรของสารละลาย มาตรฐานกลูโคสท่ีเตรียมไว้เป็น 75 50 25 และ 0 ไมโครลิตร แล้วเติมน้ำกล่ันลงในหลอดทดลอง ให้ไดป้ ริมาตร 400 ไมโครลติ ร กอ่ นนำไปตม้ - วัดคา่ การดูดกลืนแสงด้วยเครื่องไมโครเพลทรีดเดอรท์ ่ีความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร หลังจากนั้นสร้างกราฟมาตรฐานด้วยค่าการดูดกลืนแสงที่ได้และค่าความเข้มข้นของสารละลาย มาตรฐานของน้ำตาลกลูโคส เพื่อหาสมการเส้นตรง (y = mx + c) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R2) เพื่อใช้ในการคำนวณปริมาณนำ้ ตาลรีดวิ ซิงในตวั อยา่ งนำ้ สับปะรด
14 3) การวัดปรมิ าณน้ำตาลรดี วิ ซงิ ในตวั อย่างน้ำสบั ปะรด - นำสบั ปะรดท่ีถูกกำหนดตำแหน่งไวล้ ูกละ 12 ตำแหนง่ (จากข้อ 3.2.1) มาทำการ คว้านเน้ือสับปะรดในแต่ละตำแหน่งออก หลงั จากนนั้ นำผ้าข้าวบางมาทำการกรองน้ำสับปะรดที่ได้ใน แต่ละตำแหน่ง เพอื่ ทจี่ ะไดน้ ้ำสับปะรดตวั อย่างสำหรบั การวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลรดี วิ ซิงในข้ันตอนต่อไป - เติมสารละลายกรดไดไนโตรซาลิไซลิก 300 ไมโครลิตรในหลอดทดลองขนาดเล็ก แล้ว เติมสารตัวอย่างน้ำสับปะรด 10 ไมโครลิตร แล้วเติมน้ำกลั่น 90 ไมโครลิตร หลังจากนั้นนำหลอดทดลอง ไปตม้ ในอ่างน้ำรอ้ นประมาณ 15 นาที แล้วตง้ั ท้ิงไว้ให้เยน็ ท่อี ุณหภูมหิ อ้ งและในอ่างน้ำแข็ง ระยะเวลา รวมกันต้องไม่น้อยกว่า 15 นาที หลังจากนั้นเติมน้ำกลั่น 600 ไมโครลิตร จะได้ปริมาตรรวม 1 มิลลิลิตร แลว้ นำมาเจือจาง 2.5 เท่า โดยปเิ ปตสารในหลอดทดลองมา 80 ไมโครลิตร ใส่ลงในไมโครเพลท 96 หลุม จำนวน 1 หลุม จากนั้นปิเปตน้ำกล่ันอีก 120 ไมโครลิตร เพื่อให้ได้ปริมาตรรวม 200 ไมโครลิตร ต่อ 1 หลุม (ทำซ้ำ 4 ครั้ง) - วัดค่าการดูดกลืนดว้ ยเครื่องไมโครเพลทรีดเดอร์ที่ความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร จากนั้นนำค่าการดูดกลืนแสงที่ได้มาแทนค่าในสมการเส้นตรงของกราฟมาตรฐาน เพื่อคำนวณหา ปรมิ าณน้ำตาลรีดวิ ซงิ ในตวั อย่างนำ้ สับปะรด 3.2.3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสเปกตรัมที่ได้จากเครื่องอินฟราเรดย่านใกล้ สเปกโทรมิเตอรแ์ ละปรมิ าณนำ้ ตาลในสับปะรด 1) นำข้อมูลของค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ที่ได้จากสเปกตรัมของ เปลือกสับปะรดจากเครอื่ งอินฟราเรดยา่ นใกลส้ เปกโทรมิเตอร์ แต่ละสว่ น (สว่ นเอ สว่ นบี และส่วนซี) มาแบง่ ชดุ ขอ้ มลู ออกอีกคร้ัง เพอื่ สรา้ งกลมุ่ สมการเทียบมาตรฐาน (Calibration Set) และกลุ่มทดสอบ (External Validation Set) ร้อยละ 70 ของข้อมูลทั้งหมด และร้อยละ 30 ของข้อมูลทั้งหมด ตามลำดับ ดว้ ยวิธกี ารส่มุ สมบูรณ์โดยการจับฉลาก 2) นำข้อมูลที่ได้จากข้อ 1 มาวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple Correlation Analysis, R) ซง่ึ เปน็ การศึกษาระดับความสัมพันธ์ของปริมาณน้ำตาลในสับปะรด กบั คา่ การดูดกลืนแสงที่ ความยาวคล่ืนต่าง ๆ ว่ามคี วามสมั พันธ์กนั มากน้อยเพียงใด 3) นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis, R2) เป็น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว (ตัวแปร X และ Y) ที่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเชิงเส้น (Linear) โดยมีสมการถดถอยกค็ ือ y = mx + c 4) สรุปความสัมพันธ์ที่ได้ระหว่างปริมาณน้ำตาลในสับปะรดกับค่าการดูดกลืนแสงที่ ความยาวคล่ืนต่าง ๆ
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานวิจยั และอภปิ รายผล 4.1 การวิเคราะห์สเปกตรัมของเปลือกสับปะรดจากเครื่องอินฟราเรดย่านใกล้ สเปกโทรมิเตอร์ กำหนดตำแหน่งบนสับปะรดได้ 12 ตำแหน่ง โดยแบ่งสับปะรดออกตามแนวนอนได้ทั้งหมด 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนเอ (Part A) ส่วนบี (Part B) และส่วนซี (Part C) ซึ่งแต่ละส่วนก็ได้มีการแบ่งตำแหน่งออก อีกส่วนละ 4 ตำแหน่ง รวมเป็นทั้งหมด 12 ตำแหน่ง ซึ่งแต่ละตำแหน่งที่ทำการวัดด้วยเครื่องอินฟราเรด ย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์จะทำการวัดผ่านเปลือกสับปะรดโดยไม่ทำลายตัวอย่าง แสดงดงั รูปที่ 4.1 รปู ที่ 4.1 การแบ่งสับปะรดออกเป็น 3 สว่ น เพอ่ื นำไปวัดด้วยเครื่องอนิ ฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมิเตอร์ ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ที่ได้จากสเปกตรัมของเปลือกสับปะรดส่วนเอ ที่วัดด้วย เคร่ืองอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์ของสับปะรดสว่ นเอ แสดงดังรูปท่ี 4.2 2.0 1.8 ่คาการ ูดดก ืลนนแสง 1.6 1.4 1.2 1.0 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 1000 1100 1200 1300 1400 1500 1600 1700 900 ความยาวคล่ืน รปู ที่ 4.2 รูปแสดงคา่ การดูดกลืนแสงทคี่ วามยาวคล่ืนตา่ ง ๆ ของสบั ปะรดส่วนเอ ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ที่ได้จากสเปกตรัมของเปลือกสับปะรดส่วนเอ ที่วัดด้วย เครอ่ื งอินฟราเรดยา่ นใกลส้ เปกโทรมเิ ตอร์ของสบั ปะรดสว่ นบี แสดงดงั รปู ท่ี 4.3
16 ่คาการ ูดดก ืลนแสง 1.6 1.4 1.2 1000 1100 1200 1300 1400 1500 1600 1700 1.0 คามยาวคล่นื 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 900 รูปท่ี 4.3 รปู แสดงค่าการดูดกลนื แสงทีค่ วามยาวคลนื่ ตา่ ง ๆ ของสับปะรดส่วนบี ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ที่ได้จากสเปกตรัมของเปลือกสับปะรดส่วนเอ ที่วัดด้วย เครอ่ื งอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์ของสับปะรดสว่ นซี แสดงดังรูปท่ี 4.4 1.8 1.6 ่คาการ ูดดก ืลนแสง 1.4 1.2 1.0 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 1000 1100 1200 1300 1400 1500 1600 1700 900 คามยาวคลื่น รูปที่ 4.4 รูปแสดงค่าการดูดกลืนแสงทคี่ วามยาวคลน่ื ตา่ ง ๆ ของสับปะรดส่วนซี จากข้อมูลข้างต้นพบว่าค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ของเปลือกสับปะรดแต่ละ ส่วน มีค่าที่ไม่แตกต่างกันมาก หากพิจารณาเพียงสเปกตรัมก็ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นส่วนใดของ ผลสับปะรด ซึ่งเมื่อนำค่าทั้งหมดมารวมกันแล้วจะได้ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ แสดงดังรูปที่ 4.5 2.0 1.8 1.6 ่คาการ ูดดก ืลนแสง 1.4 1.2 1.0 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 1000 1100 1200 ความ1ย3า0ว0คล่ืน 1400 1500 1600 1700 900 รูปที่ 4.5 รูปแสดงคา่ การดูดกลนื แสงทคี่ วามยาวคลน่ื ต่าง ๆ ของสับปะรดท้งั 3 ส่วน
17 4.2 การวเิ คราะหป์ รมิ าณน้ำตาลในสับปะรด 4.2.1 การสรา้ งกราฟมาตรฐานกลูโคส ในการตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในสับปะรดสายพันธ์ุทิปโก้หอมสุวรรณ มีจุดประสงค์เพื่อ พัฒนาวิธีการตรวจหาปริมาณนำ้ ตาลในสับปะรดพันธุ์ทิปโก้หอมสุวรรณทีง่ ่าย รวดเร็ว และไม่ทำลาย ตัวอย่าง ซึ่งจากการวิจัยจะต้องวัดค่าการดูดกลืนแสงของน้ำตาลกลูโคสที่ความเข้มข้นต่าง ๆ แสดงดังตารางที่ 4.1 เพอื่ นำค่าท่ีได้มาสรา้ งกราฟมาตรฐานกลูโคส แสดงดงั รูปที่ 4.6 ตารางที่ 4.1 ค่าการดดู กลืนแสงของน้ำตาลกลูโคสที่ความเขม้ ข้นต่าง ๆ ความเข้มขน้ ของกลูโคส การทดลอง ค่าการดดู กลืนแสง คา่ การดูดกลืนแสงเฉล่ีย (ไมโครกรัมตอ่ มิลลิลิตร) ครัง้ ที่ 1 0.08 0 2 0.08 0.08 ± 0.08 3 0.08 1 0.16 25 2 0.16 0.16 ± 0.00 3 0.16 1 0.26 50 2 0.30 0.30 ± 0.04 3 0.34 1 0.47 75 2 0.50 0.44 ± 0.08 3 0.35 1 0.57 100 2 0.50 0.56 ± 0.06 3 0.62
18 0.6่คาการ ูดดก ืลนแสง 0.5 0.4 120 0.3 0.2 y = 0.0054x + 0.027 0.1 R² = 0.9991 0 0 20 40 60 80 100 ความเข้มข้นของกลูโคส (ไมโครกรัมต่อไมโครลติ ร) รปู ที่ 4.6 กราฟมาตรฐานของสารละลายกลโู คส 4.2.2 การสร้างกราฟมาตรฐานไซโลส การวดั ปริมาณนำ้ ตาลในอาหารหรือผลไม้ต่าง ๆ ไม่ได้ระบุเพียงแค่ปริมาณนำ้ ตาล แต่ยัง ระบุถึงชนิดของน้ำตาลได้ ตัวอย่างเช่น น้ำตาลกลูโคส น้ำตาลฟรุกโตส เป็นต้น ทั้งนี้ยังมีน้ำตาลที่ สำคญั ในการตรวจวัดหาปริมาณอกี ชนิดคือน้ำตาลไซโลส ซง่ึ จากการวิจัยจะต้องวัดค่าการดูดกลืนแสง ของน้ำตาลไซโลสที่ความเข้มข้นต่าง ๆ แสดงดังตารางที่ 4.2 เพื่อนำค่าที่ได้มาสร้างกราฟมาตรฐานไซโลส แสดงดังภาพท่ี 4.7 ตารางที่ 4.2 คา่ การดดู กลนื แสงของน้ำตาลไซโลสท่ีความเขม้ ข้นต่าง ๆ ความเขม้ ขน้ ของไซโลส การทดลอง คา่ การดดู กลืนแสง คา่ การดูดกลืนแสงเฉล่ีย (ไมโครกรมั ตอ่ มลิ ลิลิตร) คร้งั ที่ 1 0.06 0 2 0.06 0.06 ± 0.00 3 0.06 1 0.18 25 2 0.19 0.19 ± 0.00 3 0.19 1 0.35 50 2 0.35 0.35 ± 0.00 3 0.35 1 0.50 75 2 0.49 0.50 ± 0.01 3 0.49
19 ตารางท่ี 4.2(ต่อ) การทดลอง ค่าการดูดกลืนแสง ค่าการดดู กลืนแสงเฉล่ยี ความเขม้ ข้นของไซโลส คร้งั ท่ี 0.61 ± 0.02 (ไมโครกรัมตอ่ มลิ ลิลิตร) 1 0.63 100 2 0.58 3 0.61 0.7 0.6 ค่าการ ูดดก ืลนแสง 0.5 0.4 y = 0.0057x + 0.0566 0.3 0.2 R² = 0.997 0.1 0 0 20 40 60 80 100 120 ความเข้มข้นของไซโลส (ไมโครกรัมต่อไมโครลติ ร) รูปท่ี 4.7 กราฟมาตรฐานของสารละลายไซโลส 4.2.3 การปรียบเทยี บปรมิ าณน้ำตาลในสับปะรด เมื่อได้กราฟมาตรฐานของสารละลายกลูโคสและของสารละลายไซโลสมาแล้วนำไป เปรียบเทียบกับผลการวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลในสับปะรดแต่ละลูก พบว่ากราฟมาตรฐานที่ใช้วัด ปริมาณน้ำตาลในสับปะรดแล้วมีผลของความคลาดเคล่ือนน้อยกว่าคือกราฟมาตรฐานของสารละลาย กลูโคส แสดงดังตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.3 ปรมิ าณน้ำตาลในผลสับปะรดทปิ โก้หอมสวุ รรณ ปรมิ าณน้ำตาลตำ่ สุด ปรมิ าณนำ้ ตาลสูงสุด ปริมาณน้ำตาลเฉล่ีย (มิลลิกรัมต่อมลิ ลลิ ติ ร) (มิลลิกรัมต่อมิลลลิ ติ ร) (มิลลิกรัมต่อมลิ ลิลิตร) 17.28 ± 3.34 10.00 25.45
20 4.3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสเปกตรัมที่ได้จากเครื่องอินฟราเรดย่านใกล้ สเปกโทรมเิ ตอรแ์ ละปรมิ าณน้ำตาลในสบั ปะรด นำข้อมูลของค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ที่ได้จากสเปกตรัมของเปลือก สับปะรดจากเครอื่ งอนิ ฟราเรดย่านใกล้สเปกโทรมิเตอร์ แตล่ ะสว่ น (ส่วนเอ ส่วนบี และส่วนซี) มาแบ่ง ชุดข้อมูลออกอีกครั้ง เพื่อสร้างกลุ่มสมการเทียบมาตรฐาน (Calibration Set) และกลุ่มทดสอบ (External Validation Set) ร้อยละ 70 ของข้อมูลทั้งหมด และร้อยละ 30 ของข้อมูลทั้งหมด ตามลำดับ ด้วยวิธีการสุ่มสมบูรณ์โดยการจับฉลาก จากนั้นนำข้อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple Correlation Analysis, R) ซึ่งเป็นการศึกษาระดับความสัมพันธ์ของปริมาณน้ำตาลใน สับปะรด กับคา่ การดดู กลืนแสงทคี่ วามยาวคลนื่ ตา่ ง ๆ วา่ มีความสัมพนั ธ์กันมากนอ้ ยเพียงใด 4.3.1 การวิเคราะหส์ หสัมพันธ์อย่างงา่ ย การศึกษาความสัมพันธ์เชิงเส้นระหวา่ งตัวแปร 2 ตัว มีหลักง่าย ๆ ในการพิจารณาโดย การนำข้อมูลท่ีไดจ้ ากตวั อยา่ ง 2 ชดุ ท่เี กย่ี วข้องกันมาจัดทำแผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram) โดยในเบ้ืองตน้ แผนภาพการกระจายที่ได้ จะทำให้เหน็ ได้งา่ ยว่าข้อมลู 2 ชุดมคี วามสมั พันธ์กันหรือไม่ หรือมีลักษณะของความสัมพันธ์เป็นอย่างไร ซึ่งจากการทดลองพบว่าค่าสหสัมพันธอ์ ยา่ งง่าย (R) ของ สับปะรดสว่ นเอ มคี า่ ตง้ั แต่ 0.003 ถงึ 0.274 ซ่งึ จะเหน็ ได้ว่ามี 5 ความยาวคลื่นท่ีมีค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย สงู ท่ีสุดและน่าจะมีความเหมาะสมท่ีสุดในการทำนายปริมาณน้ำตาลในสบั ปะรด แสดงดงั ตารางที่ 4.4 ตารางที่ 4.4 การวเิ คราะหส์ หสัมพนั ธ์อยา่ งง่ายของสบั ปะรดส่วนเอ สหสมั พนั ธอ์ ยา่ งง่าย (R) ความยาวคลื่น (นาโนเมตร) 0.274 901.0 0.268 904.9 0.262 908.9 0.259 912.8 0.257 918.0 ค่าสหสัมพันธอ์ ย่างงา่ ย (R) ของสับปะรดส่วนบี มีค่าตั้งแต่ 0.003 ถึง 0.096 ซึ่งจะเห็น ได้ว่ามี 5 ความยาวคลื่นท่ีมีค่าสหสัมพันธ์อย่างงง่ายสูงที่สุดและน่าจะมีความเหมาะสมที่สุดในการ ทำนายปริมาณนำ้ ตาลในสับปะรด แสดงดงั ตารางที่ 4.5
21 ตารางท่ี 4.5 การวิเคราะหส์ หสมั พันธ์อยา่ งง่ายของสับปะรดสว่ นบี สหสัมพันธอ์ ย่างง่าย (R) ความยาวคล่นื (นาโนเมตร) 0.096 912.7 0.095 1701.1 0.093 901.0 0.093 901.0 0.089 908.9 จากการทดลองพบว่าค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย (R) ของสับปะรดสว่ นซี มคี ่าต้ังแต่ -0.061 ถึง 0.035 ซ่ึงจะเหน็ ไดว้ า่ มี 5 ความยาวคล่ืนทีม่ ีค่าสหสมั พันธ์อยา่ งงา่ ยสูงทสี่ ุดและน่าจะมคี วามเหมาะสม ท่สี ุดในการทำนายปรมิ าณนำ้ ตาลในสบั ปะรด แสดงดังตารางท่ี 4.6 ตารางที่ 4.6 การวิเคราะหส์ หสมั พันธ์อยา่ งง่ายของสบั ปะรดสว่ นซี สหสัมพนั ธ์อย่างง่าย (R) ความยาวคลน่ื (นาโนเมตร) 0.035 1459.3 0.034 1443.0 0.034 1452.8 0.034 1456.0 0.033 1433.1 จากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่ายพบว่าสับปะรดส่วนเอมีความเหมาะสมในการ ทำนายปรมิ าณน้ำตาลมากทีส่ ุด โดยใช้ความยาวคลื่นต้ังแต่ 901.0 - 918.0 นาโนเมตร 4.3.2 การวเิ คราะห์ถดถอยอยา่ งง่าย ในการศึกษาเรื่องการวิเคราะห์การถดถอย ถ้าเป็นการศึกษาจากข้อมูลเพียงสองชุดที่มี ความสัมพันธ์กันโดยที่มีตัวแปรตาม (Dependent Variable) หนึ่งตัวและมีตัวแปรอิสระ (Independent Variable) เพียงหนึ่งตัว และตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันในลักษณะของความสัมพันธ์เชิงเส้นเรียกว่า เปน็ การวิเคราะห์การถดถอยอยา่ งง่าย (Simple Regression Analysis) โดยรูปแบบของสมการการถดถอย เป็น y = mx + c + error เมือ่ Y เป็นตวั แปรตาม X เปน็ ตวั แปรอสิ ระ สว่ น c และ m เป็นคา่ พารามิเตอร์ ที่เรียกว่า ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย โดยที่ c คือค่าคงที่ของสมการหรือระยะจุดตัดแกน Y และ ส่วน m คือค่าความชนั ของสมการ ส่วนคา่ คลาดเคล่ือน (Error) ระหว่างข้อมูลจรงิ กับค่าพยากรณ์ ซ่ึง
22 ค่าความคลาดเลื่อนจะมีการแจกแจงแบบปกติที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 0 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1 ซ่ึงค่าการ ูดดก ืลนแสง ต้องทำการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ทั้งสามส่วนในสับปะรดเพื่อทำนายปริมาณน้ำตาลเฉลี่ย และส่วนที่มีค่า สหสัมพันธ์ที่น่าจะมีความเหมาะสมที่สุดในการทำนายปริมาณน้ำตาลในสับปะรดคือส่วนเอ แสดงดังรูปท่ี 4.8 ความยาวคล่ืนท่ี 901.0 นาโนเมตร 0.80 0.60 0.40 0.20 y = 0.0092x + 0.3056 0.00 R² = 0.0748 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 ปริมาณน้าตาลเฉล่ีย (มิลลิกรัมตอ่ มิลลิลิตร) ค่าการ ูดดก ืลนแสง ความยาวคล่ืนท่ี 904.93 นาโนเมตร 0.60 0.40 0.20 y = 0.0091x + 0.309 R² = 0.0718 0.00 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 ปริมาณน้าตาลเฉลี่ย (มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ความยาวคลื่นท่ี 908.85 นาโนเมตร 0.60 ค่าการ ูดดก ืลนแสง 0.40 0.20 y = 0.0088x + 0.3159 R² = 0.0686 0.00 7 ป9ริมาณน้า1ต1 าลเฉล1่ีย3(มิลลิก1ร5ัมตอ่ มิล1ล7 ิลิตร) 19 21 23 25 5 รูปท่ี 4.8 การวิเคราะหส์ หสัมพนั ธ์สว่ นเอเพื่อทำนายปริมาณน้ำตาลเฉลี่ยในสับปะรด
23 จากการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่ายพบว่าการกระจายตัวของกลุ่มข้อมูล ยังมีการ เกาะกลุ่มของชุดข้อมูลค่อนข้างมาก ทำให้ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ไม่มีความน่าเชื่อถือ ซึ่งอาจเกิดความ ผดิ พลาดมาจากสเปกตรัมท่ีได้จากเคร่ืองอินฟราเรดยา่ นใกล้สเปกโทรมิเตอร์ มคี วามคลาดเคล่ือนของ ชดุ ข้อมูล แสดงดงั ตารางท่ี 4.7 ตาราง 4.7 คา่ ความคลาดเคล่ือนทไี่ ด้จากกลุ่มทดสอบทค่ี วามยาวคล่นื 901 นาโนเมตร ตวั อย่างที่ ปริมาณนำ้ ตาลที่วดั ไดจ้ ริง ปริมาณน้ำตาลท่ไี ด้ คา่ ความคลาดเคลื่อนร้อยละ จากการทำนาย 1 14.15 23.89 68.81 2 14.31 16.95 18.42 3 14.66 7.07 51.81 4 21.33 17.82 16.46 5 10.96 8.90 18.78 6 12.81 16.97 32.42 7 14.31 0.01 99.91 8 12.81 16.85 31.50 9 15.42 21.52 39.58 10 14.57 42.41 191.08 11 15.42 23.45 52.06 12 14.78 14.48 2.05 13 10.00 29.53 195.32 14 15.39 14.52 5.65 15 14.17 2.84 79.93 16 21.33 24.63 15.46 17 14.57 11.10 23.84 18 15.46 1.60 89.67 19 13.32 15.85 18.96 20 11.56 6.38 44.80 21 14.78 16.94 14.59
บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจยั จากการทำการวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลในผลสับปะรดแบบกึ่งปริมาณพบว่า การวิเคราะห์ ปรมิ าณในสับปะรดไดม้ ีการสร้างกราฟมาตรฐานของกลูโคส ซ่งึ คา่ สัมประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ์ (R2) ท่ีได้คือ 0.9991 และเมื่อนำผลการวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลในสับปะรดทั้ง 6 ลูก มาทำการเปรียบเทียบกับ กราฟมาตรฐานพบว่า ปริมาณน้ำตาลเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 10.00 – 25.45 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ซึ่ง เมื่อนำไปวิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์ระหว่างสเปกตรัมที่ได้จากเครื่องอินฟราเรดย่านใกลส้ เปกโทรมิเตอร์ กับปรมิ าณน้ำตาลในสับปะรดจะได้วิธีการวิเคราะห์ออกมา 2 วธิ ี คือ วิธีการวเิ คราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย และวิธีการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย ซึ่งเม่ือทำด้วยวิธีการวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแล้วพบว่า ค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย (R) ของสับปะรดส่วนเอ จะมีค่าความยาวคลื่นตั้งแต่ 0.003 ถึง 0.274 ซึ่งจะเห็น ได้ว่ามีความยาวคลื่นท่ีมีค่าสหสัมพันธ์อยา่ งงา่ ยสูงที่สดุ และน่าจะมีความเหมาะสมที่สุดในการทำนาย ปริมาณน้ำตาลในสับปะรด แต่เมื่อทำวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย พบว่า ความสัมพันธ์ของค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ กับปริมาณน้ำตาลเฉล่ีย มีกระจายตัว ของกลุ่มข้อมูลที่น้อยหรือกลุ่มข้อมูลมีการเกาะตัวกันอยู่ค่อนข้างมาก จึงทำให้ข้อมูลที่ได้ออกมา มีความน่าเชื่อถือไมม่ ากพอท่ีจะนำผลการวจิ ัยไปใชใ้ นงานอืน่ ๆ ต่อไป 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 5.2.1 โดยแนวคิดนี้สามารถนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับผลไม้ชนิดอื่นได้โดยวธิ กี ารอาจจะแตกต่างกนั ไปตามความเหมาะสมของการทดสอบนั้น ๆ 5.2.2 วิธีการนี้อุปกรณ์บางอย่างต้องใช้เครื่องมือเฉพาะในการตรวจสอบ เช่น เครื่องอินฟราเรด ยา่ นใกล้สเปกโทรมิเตอร์ จึงอาจตอ้ งมีค่าใช้จ่ายที่สูงหรือไม่สามารถหาเครื่องมือมาใช้ในการทดสอบได้ 5.2.3 ควรมีการวัดค่าองศาบริกซ์ (oBrix) เพิ่มเพื่อจะได้มาทำการเปรียบเทียบกับวิธีการ วัดปริมาณน้ำตาลที่ใช้ในปัจจุบัน 5.2.4 ควรทำการชั่งน้ำหนักของตัวอย่างสับปะรดก่อนนำมาทำการทดลองเพ่ือตรวจสอบว่า น้ำหนักของผลสบั ปะรดมปี ัจจัยต่อการเกดิ ปรมิ าณนำ้ ตาลในสับปะรดหรอื ไม่
เอกสารอ้างอิง กาญจณา ขันทกะพันธ์. 2560. UV-VIS Spectrophotometer. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : chem.eng.psu.ac.th. สบื คน้ วันที่ 16 ธนั วาคม 2562. กาญจนา กิระศักดิ์ และคณะ. 2558. การวัดค่าความหวานของอ้อยด้วยแสงย่านใกล้อินฟราเรด. วารสารวชิ าการเกษตร. 33(2) : 160-164. เดอะอีสานเรคคอร์ด. 2562. เกษตรกรรมอัจฉริยะ ว่าด้วยแผนการผลิตน้ำตาลที่ปะทะกับความ จริงอันแสนขมขื่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://isaanrecord.com. สืบค้นวันที่ 16 ธันวาคม 2562. ธิดารัตน์ เหล่าชัย. 2559. การสร้างชุดทดสอบความหวานของอ้อยและน้ำตาล. ปริญญา วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี. ธีรพงษ์ กระการดี. ม.ป.ป. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.stvc.ac.th. สืบค้นวันที่ 20 ตุลาคม 2563. นันทยา จงใจเทศ ปิยนันท์ อึ้งทรงธรรม และพิมพร วัชรางค์กุล. 2557. ปริมาณน้ำตาลในผลไม้ ไทย. พมิ พค์ รงั้ ที่ 1. นนทบุรี : องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . ปิยะวดี เจริญวัฒนะ. 2559. ผลของไซโตไคนินและออกซินต่อการเจริญและพัฒนาของการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสับปะรด. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. 11(3) : 65. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์ 2542. Fructose / น้ำตาลฟรักโทส. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.foodnetworksolution.com. สืบค้นวันที่ 16 ธนั วาคม 2562. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. ม.ป.ป. Glucose / น้ำตาลกลูโคส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.foodnetworksolution.com. สบื คน้ วันที่ 16 ธนั วาคม 2562. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. ม.ป.ป. Sucrose / น้ำตาลซูโครส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.foodnetworksolution.com. สบื ค้นวันที่ 16 ธันวาคม 2562. มติชนออนไลน์. 2562. สับปะรดพันธทุ์ ปิ โก้หอมสุวรรณ สบั ปะรดสายพนั ธ์ไุ ทยทไ่ี ด้คุณภาพระดับ โลก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.matichon.co.th. สืบค้นวันที่ 16 ธันวาคม 2562.
26 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ม.ป.ป. เครื่อง NIRS. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : eng.kps.ku.ac.th. สืบคน้ วนั ที่ 16 ธนั วาคม 2562. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ม.ป.ป. UV-VIS Spectrophotometer. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : mic.eng.ku.ac.th. สืบคน้ วนั ที่ 16 ธันวาคม 2562. วารุณี ภู่สัจจพงษ์ และคณะ. 2546. น้ำตาลกลูโครส ฟรุกโตส และซูโครส ในรากและสารหลั่งราก ของขา้ วพันธส์ุ ุพรรณบรุ ี 1. วารสารวิจัยและพฒั นา มจธ. 26(3) : 339. ศิริบุญ พูลสวัสดิ์ และนิลสุดา ฉัตรธนากร. ม.ป.ป. การศึกษาปริมาณน้ำตาลในผลไม้แห้ง. กรม วิทยาศาสตรบ์ ริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล้อม. ศูนย์อัจฉรยิ ะเพื่ออุตสาหกรรม. 2557. อุตสาหกรรมน้ำผลไม้ สถานการณ์ผลิตและตลาดน้ำผลไม้ ไทย. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://fic.nfi.or.th. สบื คน้ วันท่ี 16 ธันวาคม 2562. สกุลรัตน์ แสนปุตะวงษ์. 2558. อิทธิพลของสูตรอาหารสังเคราะห์และความเข้มข้นของ 6- benzyladenine ต่อการเพ่ิมจํานวนยอดของสบั ปะรดภูแล. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครศรธี รรมราช. 34(1) : 77-79. อรอมุ า ศรีช่นื ชม. 2545. การวิเคราะหห์ าชนิดและปริมาณนำ้ ตาลในลกู หวา้ . วิทยาศาสตรบ์ ัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ Alamar, P.D., Caramês, E.T., Poppi, R.J. and Pallone, J.A. 2016. Quality Evaluation of Frozen Guava and Yellow Passion Fruit Pulps by NIR Spectroscopy and Chemometrics. Food Research International. 85 : 209-214. Hu, R., Lin, L., Liu, T., Ouyang, P., He, B. and Liu, S. 2008. Reducing Sugar Content in Hemicellulose Hydrolysate by DNS Method: A Revisit. Journal of Biobased Materials and Bioenergy. 2(2) : 156-161. Marsden, W.L., Gray, P.P., Nippard, G.J. and Quinlan, M.R. 1982. Evaluation of the DNS Method for Analysing Lignocellulosic Hydrolysates. Journal of Chemical Technology and Biotechnology. 32(7‐12) : 1016-1022.
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: