Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บรรณานิทัศน์หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

บรรณานิทัศน์หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

Description: บรรณานิทัศน์หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

Search

Read the Text Version

บรรณานิทัศน์ หนังสอื พระราชนิพนธ์ ในสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ชดุ เสด็จพระราชดาเนนิ เยือนตา่ งประเทศ หอ้ งสมุดประชาชน”เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอหนองฉาง จงั หวดั อทุ ยั ธานี



สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. มหัศจรรยท์ ุกวัน. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ริ้นติง้ แอนดพ์ บั ลิชช่งิ , 2540. มหัศจรรย์ทุกวัน เป็นบันทึกการเสด็จ ฯ เยือนหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ สาธารณรัฐอินเดีย ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่าง วันที่ 19-25 ธันวาคม 2539 นอกจากจะได้รับความรู้หลายๆ ด้าน ต้ังแต่ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ พฤกษศาสตร์ ชีววิทยาทางทะเลตลอดจนศิลปวัฒนธรรมของกลุ่มชน ต่าง ๆ แล้ว ผู้อา่ นจะเพลิดเพลินไปกับภาพถ่ายทัศนียภาพ ท่ีแปลกตาและธรรมชาติที่ สวยงามของหมูเ่ กาะอนั ดามันและนิโคบาร์อีกด้วย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. เยน็ สบายชายน้า. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชชง่ิ , 2535 เย็นสบายชายน้ํา เล่มนี้ บันทึกเร่ืองราวการเสด็จพระราชดําเนินเยือน สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 14-27 สิงหาคม 2539 โดยเร่ิมจากคุนหมิง ถึงฉงชิ่ง แล้วประทับเรือพระท่ีน่ังล่องไปตามแม่นํ้าแยงซีเกียง หรือฉางเจียง ซ่ึงเป็น แม่น้ําที่ยาวที่สุดในประเทศจีนและของ ทวีปเอเซีย และการทอดพระเนตรโครงการ ซานเสียซง่ึ เป็นโครงการก่อสรา้ งเขอื่ นทีใ่ หญท่ ี่สุดในโลก นอกจากผู้อา่ นจะได้รับความรู้ ทางประวัติศาสตร์ วรรณคดี และศิลปวัฒนธรรมของสถานท่ีต่างๆ ท่ีเสด็จฯ ทอดพระเนตรแล้ว ยังได้ร่วมช่ืนชมทัศนียภาพที่สวยงามทางธรรมชาติของแม่น้ําฉาง เจียง โตรกเขาซานเสีย และเทือกเขาหวงซาน เป็นต้น สําหรับผู้ที่สนใจศึกษาเร่ือง โครงการก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่อย่างเขื่อนซานเสีย ก็ทรงบันทึกข้อมูลทางวิชาการ ต่างๆ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. ใตเ้ มฆทเี่ มฆใต้. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรพ์ ริ้นติ้งแอนด์พบั ลง่ิ ชง่ิ , 2538 ใต้เมฆทเี่ มฆใต้ เลม่ นี้ เป็นบนั ทกึ การเสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรัฐประชาชนจนี อีกคร้งั หน่งึ ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหวา่ งวันท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ – 6 มนี าคม 2538 ซ่ึงเป็นปีของการเฉลิมฉลอง 20 ปี ความสมั พนั ธไ์ ทย– จนี

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. อนมั สยามมิตร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ์ ริ้นตงิ้ กรุ๊ป, 2537 อนัมสยามมิตร เลม่ น้ี บันทกึ เรื่องราวการเสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐสังคม นยิ มเวียดนาม ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2536 ในการเสด็จคร้ังนี้ทรงพบ ผู้นําระดับสูงของรัฐบาลเวียดนาม และเสด็จฯทอดพระเนตรสถานท่ีสําคัญในกรุง ฮานอย ทง้ั พิพิธภัณฑป์ ระวตั ศิ าสตร์ พิพิธภณั ฑ์ศลิ ปะสุสานโอจิมินห์ และอื่นๆ อีก มากมาย นอกจากนี้ยังได้ เสด็จฯ ทอดพระเนตรเมืองต่างๆ ของเวียดนามไม่ว่าจะ เป็น เมืองเดียนเบียนฟู เมืองดานัง เมืองเว้ และโฮชิมินท์ซิตี้ ซึ่งตามเนื้อหาใช้ สํานวนภาษาอ่านง่าย พร้อมภาพประกอบตลอดทั้งเล่มทําให้ผู้อ่านทราบถึงภูมิ หลัง และความรู้ทางประวัติศาสตร์ สังคม วิถีชีวิต เศรษฐกิจ ตลอดจนศิลป วัฒนธรรมของเวยี ดนามไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี. ลาวใกลบ้ า้ น. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ริ้นติ้งแอนดพ์ บั ลงิ่ ช่งิ , 2538. ลาวใกล้บ้าน เล่มนี้ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เม่ือคร้ังเสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหวา่ งวันท่ี 28 ตุลาคม 2537 ถึง 1 พฤศจิกายน 2537 ทรงทอดพระเนตรกิจการและสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีเวียงจันทน์ แขวงไชยะบุลี เขตพิเศษ เชียงฮ่อนหงสา แขวงบ่อแก้ว เป็นมิตรประเทศเพ่ือนบ้านที่มีความใกล้ชิดทาง ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา และภาษากับประเทศไทยเป็นอย่าง มาก เป็นอีกประเทศหนึง่ ทส่ี มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงให้ ความสนพระราชหฤทัย และได้เสด็จฯ เยือน หลายคร้ังนอกจากน้ันได้เสด็จฯ เย่ียม โครงการศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตร หลัก 22 ซ่ึงเป็นโครงการตาม พระราชดาํ รขิ องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวท่ีพระราชทานแก่รัฐบาลและประชาชน ลาวอีกดว้ ย

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. ลาวเหนอื เม่อื ปลายหนาว. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พริน้ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชช่งิ , 2540 ลาวเหนือเมื่อปลายหนาว เล่มน้ี บันทึกเร่ืองราวการ เสด็จฯเยือนลาวใน ครั้งนี้ (ระหว่างวันที่ 21-24 มกราคม 2540) ทําให้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯเยือนครบหมดทุกแขวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวแลว้ โดยไดเ้ สดจ็ ฯ เยือนแขวงทางตอนเหนอื ของ ลาว ไดแ้ ก่ แขวงอุดมไซ และแขวงหลวงนํ้าทา เพือ่ ทอดพระเนตรและศกึ ษาสภาพวิถี ชีวติ ความ เป็นอยู่ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมของประชาชนลาวในพ้ืนที่ดังกล่าว และ เสด็จฯ เย่ียมกิจการของโรงพยาบาลและโรงเรยี นของทอ้ งถ่ินอกี ดว้ ย

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ไทยเทีย่ วพมา่ . กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พริน้ ตงิ้ แอนดพ์ ับลชิ ชิ่ง, 2539 ไทยเที่ยวพม่า เล่มน้ี เป็นพระราชนิพนธ์ท่ีทรงบันทึกไว้เมื่อครั้งเสด็จพระ ราชดาํ เนนิ เยอื นสาธารณรัฐสงั คมนยิ มสหภาพพม่า หรือสหภาพ พม่าในปัจจุบัน เมื่อ วันท่ี 21-31 มีนาคม 2529 ตามคํากราบทูลเชิญของท่าน อู เนวิน ประธานพรรค โครงการสังคมนิยมพม่าในขณะนั้น โดยเป็นการเสด็จพระราชดําเนินเยือนประเทศ พม่าเป็นคร้ังแรกของพระองค์ เน้ือหาส่วนใหญ่ทรงเล่าถึงสภาพบ้านเมือง ภูมิ ประเทศ ความเป็นอยู่ โบราณวัตถุ โบราณสถาน ซ่ึงงดงามและทรงคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การพัฒนาประเทศ ฯลฯ แทรกด้วยสาระหน้ารู้ และมภี าพประกอบจาํ นวนมาก

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. แอนตารก์ ติกา หนาวหนา้ รอ้ น. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ต้ิงแอนดพ์ ับลิชชิง่ , 2537 แอนตาร์กติกา หนาวหน้าร้อน เป็นบันทึกเม่ือคร้ังเสด็จพระราชดําเนิน เยอื นทวีปแอนตาร์กติกา ประเทศนิวซีแลนด์ หรือข้ัวโลกใต้ ดินแดนแห่งความหนาว เย็น และทิวทัศน์อันงดงาม ระหว่างวันที่17-24 พฤศจิกายน 2536 ทรง ทอดพระเนตรหน่วยงานต่างๆ ภายใน Scott Base พิพิธภัณฑ์ของศูนย์แอนตาร์ กติการะหว่างประเทศ ถ้ําน้ําแข็ง Erebus Glacier Tongue เที่ยวชมนกเพนกวิน ฯลฯ ซ่งึ ทรงเลา่ เหตุการณว์ า่ เป็นการเดินทางท่ีต้องผจญภัยครั้งยิ่งใหญ่ สู่ดินแดนที่มี ความแตกต่างทางภมู ศิ าสตร์และภมู อิ ากาศจากประเทศไทยเปน็ อย่างมาก

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ขอใหเ้ จ้าภาพจงเจรญิ . กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ รนิ้ ตงิ้ กรุ๊ป, 2535 ขอให้เจ้าภาพจงเจริญ เป็นเรื่องราวครั้งเสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ระหวา่ งวันท่ี 27 สิงหาคม – 2 กันยายน 2534 เพ่ือทรงรับรางวัลแมกไซไซ เพ่ือทรง รับรางวัลแมกไซไซ รางวัลมีประกาศนียบัตร เหรียญและเงิน 3 หม่ืนเหรียญสหรัฐ เงินจํานวนน้ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯทรงบริจาคผู้ประสบภัยพิบัติ อัน เนื่องมาจากภูเขาไฟที่ฟิลิปปินส์ระเบิด ทรงใช้เวลาเยี่ยมเยียนสถานท่ีสําคัญของ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ท้ายเล่มหนังสอื เป็นภาคผนวก บทปาฐกถาทรงบรรยายประกอบสไลด์เป็น ภาษาองั กฤษ MY Experience in Community Development in Thailand

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. มว่ นซน่ื เมอื งลาว. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พรนิ้ ต้งิ แอนด์พับลชิ ชิ่ง, 2537 หนังสือพระราชนิพนธ์ ม่วนซ่ืนเมืองลาว เป็นบันทึกการเสด็จฯ เยือน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวถึง 4 วาระของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ คร้งั แรกในวนั ท่ี 11 เมษายน 2535 เสด็จฯ ทอดพระเนตรเมอื งปากเซ แขวงจําปาสัก โดยผา่ นทางช่องเมก็ อาํ เภอสริ ินธร จังหวัดอุบลราชธานี คร้ังที่สอง ระหว่างวันท่ี 16- 19 ตุลาคม 2535 ทรงพบประธานประเทศ และผู้นํารัฐบาลลาว และเสด็จฯ ทอดพระเนตรสถานท่สี าํ คัญต่างๆ ในแขวงพงสาลี และแขวงหลวงพระบาง ครั้งที่สาม ในวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2543 ตามเสด็จสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไปทรงร่วมพิธีฌาปนกิจศพท่านไกสอน พรหมวิหาน อดีต ประธานประเทศ และ ครั้งที่สี่ ระหว่างวันท่ี 9-14 พฤศจิกายน 2536 ทรงประกอบ พิธีถวายผ้าพระกฐินทั้งในกรุงเวียงจันทน์และแขวงหลวงพระบาง และเสด็จฯ ทอดพระเนตรสถานทส่ี าํ คัญตา่ งๆ อีกดว้ ย

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. แดรก๊ คูลา่ ผ้นู ่ารัก. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ริน้ ตง้ิ แอนด์พบั ลชิ ชง่ิ , 2537 แดร๊กคูล่าผู้น่ารัก ประเทศโรมาเนีย สาธารณรัฐประชาชนฮังการี สาธารณรัฐออสเตรีย เบลเยี่ยม และสวิตเซอร์แลนด์ทั้งทรงเสด็จฯ ไปเฝ้าฯ สมเด็จ พระราชินีฟาบิโอลา ที่ราชอาณาจักรเบลเยียม ระหว่าง 13-25 มีนาคม พ.ศ. 2537 ทรงเรียบเรียงตามลําดับเหตุการณ์ที่มีเรื่องราววัฒนธรรมท่ีเก่าแก่ สถาปัตยกรรม โบราณท่ีสวยงาม โดยมีภาพประกอบพร้อมคําอธิบายภาพและคําบรรยายเร่ืองราว ตามลําดับเหตุการณ์น้ันๆท้ายเล่มมีรายช่ือหนังสือพระราชนิพนธ์ชุด การเสด็จพระ ราชดําเนนิ เยือนตา่ งประเทศ

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. รอยยม้ิ หมีขาว. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชงิ่ , 2537 รอยย้ิมหมีขาว ทรงบันทึกเรื่องราวการเสด็จฯ เยือนสหพันธรัฐรัสเซีย ระหว่างวันท่ี 13 - 24 มีนาคม 2536 การเสด็จฯ เยือนสหพันธรัสเซีย ซ่ึงคร้ังหนึ่ง เป็นท่ีรู้จักในนาม ประเทศหลังม่านเหล็กภายใต้การปกครองแบบคอมมิวนิสต์ของ อดีตสหภาพโซเวียต มายาวนานหลายสิบปี ก่อนที่จะเกิดการเปล่ียนแปลงทาง การเมืองขนานใหญ่ อันนําไปสู่การปกครองแบบรัฐสภาและระบบเศรษฐกิจแบบทุน นิยมในปัจจุบัน รวมท้ัง ทรงทอดพระเนตรสถานที่สําคัญต่างๆท้ังทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนสภาพภูมิประเทศที่ สวยงามแปลกตา ทั้งในกรุงมอสโก นครเซนต์ปีเตอร์สเบอร์ก เมืองอัสตราคาน และ เมอื งโกรยาชนิ สก์ เปน็ ตน้

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. ไอรัก คอื อะไร?. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง, 2536 ไอรัก คอื อะไร? ทรงบนั ทึกเรอ่ื งราวการเสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย ระหว่างวันที่ 3 - 12 ตุลาคม 2535 ผู้อ่านจะได้ ทราบข้อมูลและเกร็ดความรู้ต่างๆที่เก่ียวกับประเทศมองโกเลีย สองดินแดนท่ีมี วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีน่าสนใจและเป็นต้นกําเนิดของอารยธรรม ตะวันออกอันเก่าแก่ ประกอบด้วยภาพถ่ายท่ีแสดงถึงลักษณะทางภูมิประเทศและ สภาพทางธรรมชาติท่ีสวยงามแปลกตา ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตวั ของชาวมองโกเลยี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. เขมรสามยก. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ์ รน้ิ ต้ิงแอนด์พับลชิ ช่งิ , 2537 เขมรสามยก เล่มนี้ ทรงบันทึกเรื่องราวทรงเสด็จพระราชดําเนินเยือน ประเทศกัมพูชา 3 ครั้ง คร้ังแรกระหว่าง 25-27 สิงหาคม พ.ศ. 2535 คร้ังที่ 2 เม่ือ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2536และคร้ังท่ี 3 ระหว่าง 12-18 มกราคม พ.ศ. 2536 ทรง ให้ความสนใจศึกษาเรื่องราวของประเทศกัมพูชา โดยเฉพาะในเรื่องอิทธิพลของ ศลิ ปวัฒนธรรมเขมรที่มีต่อไทย เช่น ด้านภาษาและวรรณคดี รูปแบบทางศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมกัมพูชาเป็นดินแดนแห่งอารยธรรมอันเก่าแก่ มีมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม ภาษา ประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่ทรงคุณค่ามากมาย จึงเหมาะ อย่างยิ่งสําหรับผู้สนใจศึกษาเร่ืองราว ด้านประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ อักษรศาสตร์ และนาฎศิลป์ ท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ทรงพระวริ ยิ ะบนั ทกึ ไว้อยา่ งน่าสนใจแล้ว ยงั เพลิดเพลนิ ไปกบั พระสํานวนโวหารและ พระอารมณข์ นั ทท่ี รงสอดแทรกไวอ้ ีกด้วย

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. มงุ่ ไกลในรอยทราย. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พรนิ้ ตง้ิ กรุ๊ป, 2535 มุ่งไกลในรอยทราย เล่มนี้ ซึ่งเป็นบันทึกเรื่องราวท่ี ทรงเสด็จพระราชดําเนิน เยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนระหว่างวันท่ี 7-21 เมษายน พ.ศ. 2533 ไว้อย่างไพเราะ งดงาม และน่าประทับใจนอกจากผู้อ่านจะได้รับสาระความรู้ และความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ยังได้ชมภาพถ่ายพระฉายาลักษณ์ในพระอิริยาบถต่าง ๆเช่น ประทับบน หลังอฐู เสด็จพระราชดาํ เนินไปในทะเลทราย พร้อมทั้งยังมีภาพวาดลายเส้น ภาพวาดฝี พระหัตถป์ ระกอบอยา่ งสวยงาม ตลอดจนบทกวีพระราชนพิ นธท์ ่ีไพเราะกินใจอีกด้วย

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ลาวตอนใต.้ กรุงเทพฯ : อมรินทร์พรน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง, 2539 ลาวตอนใต้ เล่มนี้ ทรงเสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ทรงให้ความสนพระราชหฤทัย และเคยเสด็จฯ เยือนหลายครั้ง สําหรับการ เสด็จฯ เยือนในคร้ังนี้(ระหว่างวันที่ 8-11 เมษายน 2539) พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาตามเสด็จด้วย ทรงพบประธานประเทศ และผู้นํารัฐบาล สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในนครเวียงจันทน์ เสด็จฯ เยี่ยมโครงการ ศูนย์พัฒนา และการบริการด้านการเกษตรซึ่งเป็นโครงการ ตามพระราชดําริ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว ยังได้เสด็จฯ ทอดพระเนตร สถานท่ีสําคัญทาง ธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม กับ ทรงศึกษาวัฒนธรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของประชาชนลาว ในเมืองตา่ งๆ เหล่านน้ั ดว้ ย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. เบอร์ลนิ ส้ินกา้ แพง. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร์พรน้ิ ตง้ิ แอนด์พับลชิ ชงิ่ , 2539 เบอร์ลินส้ินกําแพง เล่มนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เม่ือทรงเสด็จฯ เยือนสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างวันที่ 21 - 24 พฤษภาคม 2538 การเสด็จฯ เยือนต่างประเทศในคร้ังน้ี คือการเสด็จฯ ทรงเปิดงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ณ Kurzentrum นครแฟรงก์เฟร์ิต ซ่ึงเป็นการจัดนิทรรศการครั้งแรกในทวีปยุโรป และ ทรงพบประธานาธิบดี (Prof. Dr. Roman Herzog) แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ทีน่ ครเบอรล์ ิน

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ข้าวไทยไปญีป่ ่นุ . กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทรพ์ ร้ินตง้ิ แอนด์พบั ลิชชิ่ง, 2538 ข้าวไทยไปญปี่ ุ่น เลม่ น้ี เสดจ็ พระราชดาํ เนินเยือน ประเทศญ่ีปนุ่ ระหวา่ ง 23-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 บันทึกการเสด็จฯ เนื่องจากการท่ีสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ ทรงรับเชิญจากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI – International Rice Research Institute) ประเทศญ่ีปุ่น เสด็จ ฯ ไปทรงร่วมงานและบรรยาย พิเศษเรอ่ื งขา้ วไทยในงานวัน Japan-IRRI Day ที่กรุงโตเกียว สําหรับเน้ือหาของการ บรรยายพเิ ศษนนั้ ทรงกลา่ วถึงประวตั ขิ องข้าวไทยตงั้ แต่สมัยโบราณ ความสําคัญของ ขา้ วต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการเกษตรของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จนถึงเรื่องวิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมต่าง ๆ ของไทยทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับข้าว เปน็ ต้น

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. ประพาสอุทยาน. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พร้ินต้งิ แอนด์พับลชิ ช่งิ , 2538 ประพาสอุทยาน เล่มน้ี บันทึกเร่ืองราวการเสด็จพระราชดําเนินเยือน ประเทศอังกฤษ สก็อตแลนด์ และสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่าง วันที่ 4-17 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 การเสด็จครั้งนี้ช่วงเวลาเกือบ 2 สัปดาห์ ที่ประทับในยุโรปทรง ใช้ชีวิต ในสวนเสียเป็นส่วนมาก นอกจากน้ี ได้เสด็จฯทอดพระเนตรสวนพฤกศาสตร์หลาย แห่ง ทั้งในอังกฤษและสก๊อตแลนด์ รวมไปถึงการเสด็จฯ ทอดพระเนตรทัศนียภาพ ทางธรรมชาติที่งดงามของบริเวณ Lake District ในประเทศอังกฤษอีกด้วย อีกทั้ง เนื้อหาในพระราชนิพนธ์ที่นอกจากจะทรงสอดแทรกสาระและเกร็ดความรู้เก่ียวกับ พืชพรรณไม้ และธรรมชาติไว้อย่างน่าสนใจแล้ว ยังมีภาพประกอบที่สวยงามเป็น จํานวนมากอีกดว้ ย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สวนสมุทร. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ร้นิ ต้งิ แอนด์พับลิชชิ่ง, 2539 สวนสมทุ ร เล่มน้ี ทรงพระราชนพิ นธเ์ มอ่ื ครงั้ เสด็จฯ เยอื นสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันท่ี 28 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2538 ในครั้งนั้น ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตร สถานท่ีทีน่ ่าสนใจหลายแห่งอาทิ ทรงศึกษาสภาพภูมปิ ระเทศ พรรณพืช และชีวิตสัตว์ บริเวณเกาะปอร์เกอรอลส์ และเกาะปอร์โครส์ ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน, พิพิธภัณฑ์ ประวตั ิศาสตรธ์ รรมชาติ (MuseumNational d’ Histoire Naturelle) ในกรุงปารีสท่ี เป็นแหล่งรวบรวมความรู้หลายสาขาวิชาท่ี เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ อาทิ ธรณีวิทยา พฤกศาสตร์ และสัตววิทยา สํานักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพทิศซึ่งเป็นสถาบันที่ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาวิจัยวิชาการด้านต่างๆ เช่น ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษา และวัฒนธรรม และมานุษยวิทยา อีกทั้งทรงเสด็จฯ เยี่ยมสํานักงานกาชาดฝร่ังเศสใน กรงุ ปารสี อีกด้วย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. ปา่ สงู น้าใส. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรพ์ ริ้นติ้งกรุ๊ป, 2535 ป่าสูงน้ําใส เนื้อหาในพระราชนิพนธ์เล่มนี้ ทรงบันทึกความรู้และ ประสบการณ์ต่างๆ ที่เสด็จพระราชดําเนินประเทศบรูไน ระหว่างวันที่ 7 กันยายน - 14 กันยายน พ.ศ. 2534 เม่ือเสดจ็ พระราชดําเนนิ ไปถงึ ทรงเขา้ เฝา้ สมเดจ็ พระราชา ธิบดีแห่งบรูไน วันต่อ ๆ มาเสด็จไปทอดพระเนตรสถานที่สําคัญ เช่นพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติบรูไน ศูนย์ศิลปหัตถกรรมแท่นขุดเจาะนํ้ามัน และทรงฟังการบรรยายเรื่อง โครงการป่าพ้ืนเมืองร้อน หลังจากน้ันได้เสด็จออกทรงสํารวจป่าพันธ์ไม้ต่าง ๆ และ พ้ืนท่ีทดลองของนักวิจัย ซ่ึงเส้นทางอยู่ในป่าดงดิบ การเสด็จฯ ต้องผจญภัยที่ ยากลาํ บากยิ่งแต่ด้วยความสนพระราชหฤทัยใฝ่รู้ทรงมีมานะอดทนต่ออุปสรรคต่าง ๆ มีพระบรมฉายาลักษณ์หลายภาพที่หาดูได้ยาก หนังสือเล่มน้ีเป็นพระราชนิพนธ์อัน ทรงคณุ คา่ ให้ท้ังสาระน่ารู้และความบนั เทิงตลอดทง้ั เรอื่ ง

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. เกลด็ หิมะในสายหมอก. กรุงเทพฯ: อมรินทรพ์ ริน้ ต้ิง แอนด์ พบั ลิชช่งิ 2537 เกล็ดหิมะในสายหมอก เนื้อหาในพระราชนิพนธ์เล่มนี้ คราวเสด็จเยือน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นครั้งท่ี 3 ระหว่างวันที่ 4-17 มกราคม 2537 โดยคร้ังนี้ได้เสด็จเยือนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน อันเป็นถิ่นกําเนิด ของ แมนจู ซึ่งเป็นดินแดนสําคัญทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง พระ ราชนพิ นธช์ ุดนีม้ ีท้งั หมด 5 เล่ม เลม่ 1 ปักก่ิง, เล่ม 2 เหลียวหนิง, เล่ม 3 จ๋ีหลิน,เล่ม4 เฮยหลงเจียง และเล่ม 5 เป็นภาคผนวกให้ความรู้เก่ียวกับเมืองจีน เช่น ราชวงศ์ท่ี ปกครองจนี สุสานพระจักรพรรดริ าชวงศช์ งิ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. แกะรอยโสม. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร์พร้ินตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ช่ิง, 2534 แกะรอยโสม เล่มน้ี เป็นเรื่องราว การเสดจ็ เยือนประเทศสาธารณรฐั เกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ระหว่างวันท่ี 18-29 มี.ค. 2534 ซึ่งทรงบันทึกเหตุการณ์ ที่ทรงพบ เห็นในระหว่างการเสด็จเยือนสถานที่ต่างๆ ตลอดเวลาท่ีทรงประทับอยู่มี ภาพประกอบสวยงามทไี่ ด้ทรงบรรยายไว้ทง้ั ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี . มนตร์ ักทะเลใต้. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ รนิ้ ต้ิงแอนดพ์ ับลิชชิ่ง, 2540 มนต์รักทะเลใต้ บนั ทกึ เรื่องราวการเสด็จพระราชดําเนินเยือนสาธารณสิงคโปร์ และประเทศในหมู่เกาะแปซฟิ ิกใต้ อันได้แก่ ปาปัวนิวกินี ราชอาณาจักรตองกา เกาะคุก สาธารณรัฐฟิจิ และหมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะทะเลใต้ ระหว่าง 15-25 เมษายน พ.ศ. 2539 ในระหว่างท่ีประทับในประเทศเหล่านั้นทรงพบประมุขและผู้นําประเทศ เช่น ผู้สําเร็จราชการและนายกรัฐมนตรีของปาปัวนิวกินี เข้าเฝ้าสมเด็จพระราชาธิบดีและ สมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรตองกา และทรงพบประธานาธิบดีของสาธารณรัฐ ฟิจิ นอกจากน้ัน ทรงทอดพระเนตรสภาพภูมิประเทศและธรรมชาติท่ีสวยงาม สถานท่ี สําคัญต่างๆ ของประเทศเหล่านั้น ตลอดจนทรงศึกษาวิถีชีวิต สภาพความเป็นอยู่ และ วฒั นธรรมที่น่าสนใจของชนพนื้ เมืองอีกดว้ ย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี. เยือนถน่ิ อินเดยี นแดง. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ์ ริน้ ตง้ิ แอนดพ์ ับลิชชง่ิ , 2537 เยือนถ่ินอินเดียนแดง ทรงบันทึกเรื่องราวการเสด็จ ฯ เยือนประเทศ สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันท่ี 7 - 18 พฤศจิกายน 2535 ทอดพระเนตรกิจการและ สถานท่ีต่างๆ ในกรุง วอชิงตัน ดี.ซี. รัฐแมร่ีแลนด์ เวอร์จิเนีย แมสซาชูเสตส์ แอริโซนา แคลิฟอร์เนีย และฮาวาย จากท่ีทรงพระวิริยะอุตสาหะรวบรวมสาระและ เกร็ดความรู้ด้านต่าง ๆเกี่ยวกับประเทศน้ี ซ่ึงเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ที่เป็น แหล่งรวมสรรพวิทยา และเทคโนโลยีอันทันสมัยนับว่าพระราชนิพนธ์ฉบับน้ีเต็มไป ดว้ ยสาระประโยชนแ์ ละความรตู้ ่างๆทน่ี า่ สนใจไว้มากมาย

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ลยุ ป่าฝ่าฝน. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ รนิ้ ติง้ แอนด์พับลิชช่ิง, 2537 ลุยป่าฝ่าฝน. เมื่อคร้ังเสด็จฯ เยือนประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 11-15 เมษายน 2537 การเสด็จฯ เยือนในครั้งน้ัน นอกจากกําหนดการเข้าเฝ้าฯ สมเด็จ พระราชาธิบดี และพระราชินีแห่งมาเลเซีย และทรงพบผู้นํารัฐบาลมาเลเซียแล้วได้ เสด็จฯไป ยังเมืองคูชิงและเมืองมิริ ในรัฐซาราวัก เพื่อทอดพระเนตรและทรงทัศน ศึกษา สถานท่ีสําคัญทางธรรมชาติและพฤกษศาสตร์ อีกทั้งประเทศมาเลเซียยังเป็น เพื่อนบ้านท่ีสําคัญและมีความผูกพันทางด้านศิลปะวัฒนธรรมกับไทยมายาวนาน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกบั ภาคใต้ของประเทศไทย

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี. บหุ งาร้าไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรสัมพนั ธ,์ 2528 บหุ งาราํ ไป เปน็ หนังสอื ประกอบนิทรรศการเกี่ยวกับศลิ ปวฒั นธรรม ของอนิ โดนีเซยี เนอื้ หาในเล่มมีเรอ่ื งสถาปตั ยกรรมและประติมากรรม ผ้าปาเต๊ะ วา หยัง ดนตรีอินโดนีเซียความสัมพันธ์ทางด้านดนตรี ระหว่างของไทยและของ อินโดนีเซีย เป็นต้น จากเรื่องราวต่างๆแล้ว ยังเป็นประมวลภาพพระฉายาลักษณ์ ต้ังแต่เสดจ็ ออกจากสนามบินดอนเมอื งถึงประเทศอินโดนีเซีย ที่ทรงบันทึกเล่าเรื่อง การเดินทางไปเยยี่ มเยยี นสถานทีต่ า่ งๆ

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ทวภิ าคสัญจร. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ์ ร้ินต้งิ กรุ๊ป , 2535 ทวิภาคสัญจร เม่ือครั้งเสด็จพระราชดําเนินเยือนประเทศฝร่ังเศส และสเปน ระหว่างวันท่ี 16-31 พฤษภาคม 2535 ทรงเสด็จทอดพระเนตรสถานท่ีสําคัญของ ฝรั่งเศสหลายแห่งอาทิ หอไอเฟล ประสาทแวงแซน ร้านหนังสือ FNAC และเสด็จไปยัง สาํ นกั งานใหญอ่ งค์การยูเนสโกเพ่อื ทรงร่วมงานฉลองวันพระราชสมภพครบรอบ 100 ปี สมเดจ็ พระบรมราชชนก นอกจากนยี้ ังทรงเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานทีส่ ําคญั ของสเปน เชน่ โบสถ์ใหญท่ ส่ี ุดในสเปน วัง Alcazar เป็นตน้

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ข้ามฝงั่ แหง่ ฝนั . กรุงเทพฯ : อมรินทร์บคุ๊ เซ็นเตอร์, 2539 ข้ามฝั่งแห่งฝัน ทรงบันทึกเรื่องราวการเสด็จ ฯ เยือนสหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 4 - 10 กรกฎาคม 2538 การเสด็จพระราชดําเนินเยือนสหราช อาณาจักรคร้ังน้ีเสด็จ ฯ ไปทรงเปิดงานสําคัญ ๒ งานในกรุงลอนดอน คือ งานด้าน ดนตรีไทยศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยลอนดอน และนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ณ ราช สมาคมภูมิศาสตร์ และเสด็จ ฯ ไปทรงเยี่ยมสถานที่สําคัญอื่น ๆ อาทิ สวน พฤกษศาสตร์คิว พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์ดนตรี ตลาดปลาบิล ลงิ สเกต อีกทงั้ พระราชวังวนิ ด์เซอร์ อกี ดว้ ย

จดั ทาโดย หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอหนองฉาง จงั หวดั อทุ ยั ธานี