Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบสรุปการดำเนินงาน Model Teacher ปิยะนุช

แบบสรุปการดำเนินงาน Model Teacher ปิยะนุช

Published by Miss Sukanya Saensri, 2022-08-11 01:04:14

Description: แบบสรุปการดำเนินงาน Model Teacher ปิยะนุช

Keywords: โรงเรียนบ้านละกอ ชุม,ชนแห่งการเรียนรู้ scl

Search

Read the Text Version

แบบสรุปการดำเนนิ งาน Model Teacher โครงการ พัฒนาโรงเรยี นบ้านละกอเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ช่อื – สกลุ นางปยิ ะนชุ สตุ ยสรณาคม ตำแหนง่ ครู อัตราจ้าง โรงเรียน บ้านละกอ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2 หน้าที่ปฏบิ ัติการสอนท่ีได้รบั มอบหมาย สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายละเอียดการดำเนินงานตามกจิ กรรม Lesson Study (PLAN DO SEE) ปฏิทนิ การดำเนนิ งาน ท่ี วัน วนั ที่ คาบ เวลา กิจกรรม 1 ศกุ ร์ 3 ธ.ค. 64 1 16.00-17.00 น. จดั ตงั้ ทีมชุมชนแห่งการเรียนรู้ 2 เสาร์ 4 ธ.ค. 64 1 15.00-16.00 น. ประชมุ คน้ หาปญั หา หาสาเหตุ และแนวทางการแกป้ ัญหา ของนักเรียน 3 เสาร์ 3 ธ.ค. 64 1 16.30-17.30 น. รว่ มออกแบบกจิ กรรมการเรียนรวู้ งรอบท่ี 1 4 พธุ 7 ธ.ค. 64 5 16.00-21.00 น. รว่ มออกแบบและสะท้อนสื่อ/การวดั ผลและการ ประเมินผล/แบบฝึก/ใบงาน วงรอบท่ี 1 5 พุธ 8 ธ.ค. 64 1 11.00-12.00 น. การปฏบิ ัตกิ ารจัดกิจกรรมเปิดช้ันเรยี น วงรอบท่ี 1 6 พธุ 8 ธ.ค. 64 1 13.00-14.00 น. ร่วมสะทอ้ นคิดหลังเปดิ ชนั้ เรียนวงรอบที่ 1 7 พธุ 8 ธ.ค. 64 1 14.00-15.00 น. ร่วมออกแบบกิจกรรมการเรียนร้วู งรอบท่ี 2 8 จนั ทร์ 10 ม.ค. 65 1 13.00-14.00 น. ร่วมออกแบบและสะท้อนสื่อ/การวดั ผลและการ ประเมนิ ผล/แบบฝกึ /ใบงาน วงรอบท่ี 2 9 องั คาร 11 ม.ค. 65 1 11.00-12.00 น. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเปดิ ชน้ั เรียนวงรอบท่ี 2 10 อังคาร 11 ม.ค. 65 1 13.00-14.00 น. รว่ มสะท้อนคดิ หลงั เปดิ ชั้นเรียนวงรอบท่ี 2 11 องั คาร 11 ม.ค. 65 1 14.30-15.30 น. ร่วมออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูว้ งรอบที่ 3 12 องั คาร 19 เม.ย. 65 1 10.00-11.00 น. ร่วมออกแบบและสะท้อนสอ่ื /การวดั ผลและการ ประเมินผล/แบบฝึก/ใบงาน วงรอบท่ี 3 13 พธุ 20 เม.ย. 65 1 10.00-11.00 น. การปฏบิ ัติกจิ กรรมเปิดชน้ั เรียนวงรอบที่ 3 14 พุธ 20 เม.ย. 65 1 11.00-12.00 น. ร่วมสะท้อนคดิ หลงั เปิดชัน้ เรียนวงรอบท่ี 3

แผนการเรยี นร้ทู ่ี 22 นาฏยศัพท์ ชอ่ื รายวิชา นาฏศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ14102 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ เวลา 1 ชวั่ โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย วนั ท่ีสอน............................ ครผู สู้ อน นางปิยะนชุ สตุ ยสรณาคม

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด ความรูส้ กึ ความคิดอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ตัวชีว้ ดั ศ 3.1 ป.4/1 ระบทุ กั ษะพืน้ ฐานทางนาฏศิลป์ และการละครท่ใี ชส้ ื่อความหมายและอารมณ์ ศ 3.1 ป.4/2 ใชภ้ าษาท่าและนาฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้สู่ตัวชีว้ ัด 1. อธิบายเกี่ยวกบั นาฏยศพั ท์ (K) 2. ปฏิบตั ทิ ่าราตามนาฏยศพั ท์ (P) 3. นกั เรียนมีความสขุ ในกิจกรรมและกลา้ ท่จี ะแสดงออกมากขนึ้ ช่ืนชมการแสดงท่าราตามนาฏยศพั ทท์ ่สี วยงาม (A) สาระสาคญั นาฏยศพั ทเ์ ป็นพืน้ ฐานท่าราไทยท่ที กุ คนควรเรยี นรูแ้ ละฝึกฝนใหเ้ กดิ ความชานาญ เพ่อื ใชเ้ ป็นพืน้ ฐานในการเรยี นปฏิบตั ิ ท่าราไทยหรือการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย สาระการเรียนรู้ นาฏยศพั ท์ : จบี ตงั้ วง คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

ใฝ่ เรียนรู้ -ตวั ชวี้ ดั ท่ี 4.1 ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกจิ กรรม มุง่ ม่นั ในการทางาน -ตวั ชวี้ ดั ท่ี 6.1 ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ท่กี ารทางาน -ตวั ชวี้ ดั ท่ี 6.2 ทางานดว้ ยความเพียรพยามและอดทนเพ่อื ใหง้ านเสรจ็ ตามเปา้ หมาย รักความเป็ นไทย ตวั ชวี้ ดั ท่ี 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมคี วามกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น 1.ความสามารถในการสอ่ื สาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4.ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) 1. นาเสนอท่านาฏยศพั ท์ 10 ท่า การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันที่ 1 การเรยี นรู้ ตั้งคาถาม ( 5 นาที ) 1.ครกู ล่าวทักทายนกั เรียน และสรา้ งข้อตกลงรว่ มกนั ในการรว่ มกจิ กรรมในชวั่ โมง(โดยสมาชิกในกลุ่มรว่ มกนั โดยกำหนดเวลาเรียน 50 นาที และถา้ ทำงานท่ีได้รับมอบหมายเสร็จแล้วจะให้พักผอ่ นตามอัธยาศัยกอ่ นหมดชั่วโมงเรยี น(แก้ปัญหาการขาดความมน่ั ใจใน ตนเอง และ ไม่กล้าแสดงออกหนา้ ชน้ั เรียน)

2.ติดบตั รคาดา้ นขา้ งของกระจกทงั้ 2 ดา้ น ดา้ นละ 5 บตั รคา (ขออาสาสมคั ร 2 คนเพ่อื ติดบตั รคา จากคาตอบท่เี พ่ือนตอบจาก เสยี งสว่ นใหญ่) จากนนั้ ครูเปิดบตั รภาพบนหนา้ จอทีวี และและใหน้ กั เรยี นตอบคาถามวา่ ภาพนี้ ตรงกบั บตั รคาใด (โดยครูเปิด ภาพทีละ 1 ภาพและกระตนุ้ ใหเ้ ด็กตอบคาถาม โดยครูถามว่า ภาพท่ี 1 เรยี นว่าท่าอะไร ครูตงั้ คาถามว่า เพราะอะไรจึงตอบวา่ จบี ควา่ ) เปิดบตั รคา นาฏยศพั ท์ บนจอทีวี แลว้ ใหน้ กั เรยี นอ่านจานวน 1 รอบ แลว้ ครูอธิบายเก่ียวกบั นาฏยศพั ทใ์ ห้ นกั เรยี นฟัง ขัน้ ที่ 2 การเรียนรู้แสวงหาสาระสนเทศองคค์ วามรู้(10 นาท)ี 3.ครูสาธิตการปฏิบตั ินาฏยศพั ท์เรียงตามคาตอบท่ีนกั เรียนตอบในบตั รคาต่อไปนีท้ ีละท่าแลว้ ใหน้ ักเรียนปฏิบตั ิตามจนทุกคน สามารถทาไดถ้ กู ตอ้ ง(โดยการสอนทลี ะท่า เรียงตามท่เี ดก็ เรียงบตั รคา และเฉลย วา่ เรียงถกู หรอื ผดิ พรอ้ มกบั อธิบายทา่ ) จีบควา่ ตงั้ วงบน(ตวั พระ/ตวั นาง) ตงั้ วงล่าง(ตวั พระ/ตวั นาง) จบี ปกขา้ ง จบี หงายชายพก จีบหงาย ตงั้ วงกลาง(ตวั พระ/ตวั นาง) จบี ลอ่ แกว้ จบี ส่งหลงั จีบปกหนา้ **** เปลี่ยนบตั รคาขา้ งบนนี้ เป็นบตั รภาพแทน **** ขน้ั ที่ 3 การเรียนรู้เพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ (15 นาท)ี 4. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเป็นกลมุ่ ละ 4 คน และใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ฝึกปฏิบตั ิ นาฏยศพั ทต์ ามบตั รคาจนทกุ คนในกลมุ่ สามารถ ทาไดถ้ กู ตอ้ ง สวยงามและพรอ้ มเพรยี งกนั ครูตงั้ คาถาม ถา้ เพ่อื นจาท่าไม่ได้ หรอื ไม่สามารถปฏบิ ตั ทิ ่านนั้ ๆ ได้ นกั เรียนจะแกไ้ ขอยา่ งไร ตวั อย่างคาตอบ ช่วยสอนเพ่อื น ใหก้ าลงั ใจเพ่อื น ฯ ข้ันท่ี 4 การเรยี นรู้เพอ่ื การส่ือสาร (15 นาท)ี

5. แตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอโดยการใหก้ ลมุ่ ท่ีพรอ้ มออกมานาเสนอก่อน(ถา้ ไม่พรอ้ มจบั สลาก) แนะนาช่ือกลมุ่ (ตงั้ ช่อื เองและ แนะตวั )และบอกช่ือทา่ นาฏยศพั ทท์ ีละท่า ใหค้ รูและเพ่อื นกลมุ่ อ่นื ๆ ดทู ลี ะกลมุ่ หากพบขอ้ บกพรอ่ งใหค้ รูใหค้ าแนะนาเพ่ิมเติม ถา้ ทาไดด้ ใี หเ้ พ่อื นกลมุ่ อ่ืน ๆ แสดงความรูส้ กึ ช่นื ชมทลี ะกลมุ่ จนครบทกุ กลมุ่ **** ครูเสรมิ แรง พฤตกิ รรมของเด็กแต่ละกลมุ่ **** ขั้นที่ 5 การเรียนรู้เพอื่ ตอบแทนสังคม ( 5 นาท)ี 6. ครูใชค้ าถามเพ่อื ใหน้ กั เรียนประเมนิ ผลการปฏิบตั ิของตนเอง ดงั นี้ • นาฏยศพั ทใ์ ดท่นี กั เรียนทาไดด้ ที ่สี ดุ (ตวั อย่างคาตอบ จบี คว่า) • นาฏยศัพทท์ ่าใดท่ีนักเรียนควรปรับปรุงมากท่ีสุด จะมีวิธีปรบั ปรุงอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ จีบส่งหลัง ปรับปรุงโดยการศกึ ษาเพ่ิมเตมิ และฝึ กปฏิบตั บิ ่อย ๆ) 7.นกั เรียนจะนาท่านาฏยศพั ทน์ ไี้ ปใชป้ ระโยชน์ อะไรไดบ้ า้ ง ตวั อยา่ งคาตอบ เพ่อื ใชเ้ ป็นพนื้ ฐานในการเรียนปฏิบตั ทิ ่าราไทย หรือการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย ใหถ้ กู ตอ้ งสวยงาม และเกดิ ความประทบั ใจแกผ่ ชู้ ม การจัดบรรยากาศเชงิ บวก •ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ฝึกปฏบิ ตั ิทา่ ราตามนาฏยศพั ทอ์ ย่างอสิ ระ(ภายใตข้ อ้ ตกลงท่ีกาหนดรว่ มกนั ) ส่ือการเรยี นรู้ 1. บตั รคา 2. บตั รภาพ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. วิธกี ารวัดและประเมินผล 1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่

2. เคร่อื งมอื 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม 2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 3. เกณฑก์ ารประเมิน 3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คะแนน 9-10 ระดบั ดมี าก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมนิ ชิน้ งานท่ี 10 ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรือ่ ง ฝึกปฏิบตั ินาฏยศพั ท์ เกณฑก์ าร 4 ระดับคะแนน ประเมิน ฝึกปฏิบตั นิ าฏย 321 ฝึกปฏบิ ตั นิ าฏย ศพั ทไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง ศพั ท์ ฝึกปฏิบตั ินาฏย ฝึกปฏบิ ตั ินาฏย ฝึกปฏิบตั นิ าฏย ศพั ทไ์ ดถ้ กู ตอ้ งดว้ ย ศพั ทไ์ ดถ้ กู ตอ้ งโดยมี ศพั ทไ์ ดถ้ กู ตอ้ งโดยมี ตนเอง สามารถ

ดว้ ยตนเอง สามารถ แกไ้ ขปัญหาใน ครูและผอู้ ่นื ให้ ครูและผอู้ ่นื ให้ คาแนะนาบา้ ง คาแนะนาเทา่ นนั้ แกไ้ ขปัญหาใน ระหวา่ งปฏิบตั ไิ ด้ ระหว่างปฏบิ ตั แิ ละ แตไ่ ม่สามารถให้ สามารถให้ คาแนะนาผอู้ ่นื ได้ คาแนะนาผอู้ ่นื ได้

แบบประเมินการปฏิบัตกิ ิจกรรม (P๑) รายการประเมนิ ท่ี ชื่อ-สกลุ ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ได้ ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ได้ ฝึ กปฏิบัตินาฏย ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ได้ ่ผาน ถู ก ต้ อ ง ด้ ว ย ต น เ อ ง ถูกตอ้ งดว้ ยตนเอง สามารถ ศั พ ท์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ถูกตอ้ งโดยมีครูและผูอ้ ื่น ไ ่มผ่าน สามารถแก้ไขปัญหาใน แก้ไขปัญหาในระหว่าง โดยมคี รูและผูอ้ นื่ ให้คาแนะนาเท่าน้ัน(๐- ร ะ ห ว่ า ง ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ๔)

สามารถให้คาแนะนา ปฏิบตั ไิ ด้ แตไ่ ม่สามารถให้ ให้คาแนะนาบา้ ง ผอู้ นื่ ได(้ ๙-๑๐) คาแนะนาผอู้ ืน่ ได(้ ๗-๘) (๕-๖) 1 เด็กชายกติ ตภิ ูมิ เทอมกระโทก ๙ / / 2 เดก็ ชายกิตติพงค์ นวนลม ๙ / / 3 เดก็ ชายกติ ติธัช เทอมกระโทก ๙ / / 4 เด็กชายทนิ ภัทร พรมสิงห์ ๘ / / 5 เด็กชายธนกฤต ถังกระโทก ๘ / / 6 เดก็ ชายธีรพงศ์ กุงกดุ โถ ๙ / / 7 เด็กชายวิทวัส ทิศกระโทก ๘ / / 8 เด็กชายปฏิภาณ พฤติสาร ๙ / / 9 เด็กหญิงกมลลักษ์ ทิศกระโทก ๙ / / 10 เดก็ หญิงชุติมนั ต์ แสนประสิทธ์ิ ๙ / 11 เด็กหญิงชลธชิ า ทศิ กระโทก ๙ 12 เด็กหญงิ ญาดา อบทองหลาง ๙ 13 เดก็ หญงิ ณัฐกัญญา คงสลี า ๙ 14 เดก็ หญิงพิมพ์วิภา จำเรญิ ควร ๙ 15 เด็กหญิงสิริมา ทิศกระโทก ๘ 16 เด็กหญงิ สายรงุ้ ทศิ กระโทก ๙ 17 เดก็ หญิงอมรพรรณ เกวียนปรุ ๙ 18 เด็กหญงิ อริสรา สุขแก้ว ๙ 19 เด็กหญิงกันยารัตน์ เงินยวด ๘























ภาพกจิ กรรม PLC ข้ันการเปดิ ช้ันเรยี นและประชมุ สะท้อนผลการเปิดช้นั เรยี น ภาพนกั เรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมระหวา่ งการเปิดชนั้ เรียนในกจิ กรรม PLC ภาพสมาชิกเขา้ ร่วมสังเกตการเปดิ ช้ันเรียนในกจิ กรรม PLC

ภาพสมาชิกเขา้ ร่วมประชุมสะทอ้ นการเปิดช้นั เรียนในกจิ กรรม PLC

แผนการจัดการเรียนรู้ (ปรบั ปรุงแผนหลังวพิ ากษ์) แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการเรียนรทู้ ่ี 26 การใชน้ าฏยศัพทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศิลปไ์ ทยประกอบเพลงพระราชนพิ นธ์ (1) รหัสวชิ า ศ14102 ชือ่ รายวชิ า นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 7 นาฏยศพั ท์และภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ปไ์ ทย เวลา 1 ชั่วโมง ครูผ้สู อน นางปิยะนชุ สตุ ยสรณาคม วนั ทส่ี อน............................ มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศิลปท์ เ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ ปญั ญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ตัวชวี้ ัด ศ 3.1 ป.4/1 ระบทุ กั ษะพ้นื ฐานทางนาฏศลิ ป์และการละครที่ใช้สือ่ ความหมายและอารมณ์ ศ 3.1 ป.4/2 ใช้ภาษาทา่ และนาฏยศพั ท์หรือศัพทท์ างการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว ศ 3.2 ป.4/1 อธบิ ายประวตั คิ วามเปน็ มาของนาฏศลิ ปห์ รือชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ จุดประสงคก์ ารเรียนรูส้ ตู่ วั ชี้วดั 4. อธิบายเก่ยี วกับประโยชนข์ องการนำนาฏยศพั ทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธเ์ ราสู้ (K) 5. ฝึกปฏบิ ัตกิ ารนำนาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์เราสู้ (P) 6. นักเรียนมคี วามสขุ ในกจิ กรรมและกล้าที่จะแสดงออกมากข้ึน (A) สาระสำคัญ คนไทยมีสายเลือดนักสู้อยู่ในตัว ในอดีตมีการต่อสู้เพื่อกอบกู้ชาติบ้านเมืองของไทยพระบาทสมเด็จ-พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดชฯ ทรงพระราชนพิ นธ์เพลงเราสู้ เพือ่ สรา้ งเสริมจติ ใจของคนไทยให้เข้มแขง็ และรักชาติ สาระการเรยี นรู้ การใชน้ าฏยศัพทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์ : เพลงพระราชนพิ นธ์เราสู้ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ -ตัวชว้ี ดั ท่ี 4.1 ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรม มงุ่ ม่ันในการทำงาน -ตัวชวี้ ัดท่ี 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏบิ ัติหน้าท่กี ารทำงาน -ตัวชี้วดั ที่ 6.2 ทำงานดว้ ยความเพยี รพยามและอดทนเพอื่ ใหง้ านเสรจ็ ตามเปา้ หมาย รกั ความเป็นไทย ตวั ชว้ี ัดที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1.ความสามารถในการสอื่ สาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแก้ปญั หา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) • การแสดงท่ารำประกอบเพลงพระราชนิพนธเ์ ราสู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันที่ 1 การเรียนรู้ ตง้ั คำถาม (5นาท)ี 1.ครูกลา่ วทักทายนกั เรยี น และสร้างข้อตกลงร่วมกนั ในการร่วมกจิ กรรมในชั่วโมง โดยกำหนดเวลาเรียน 50 นาที และถา้ ทำงานที่ ไดร้ บั มอบหมายเสร็จแลว้ จะใหพ้ ักผ่อนตามอธั ยาศัยก่อนหมดช่ัวโมงเรยี น (แกป้ ญั หาการขาดความมน่ั ใจในตนเอง และ ไม่กลา้ แสดงออกหน้าช้ันเรียน) 2.เปดิ วดี โี อเพลงเราสู้ ให้นกั เรียนฟัง แลว้ ใชค้ ำถามให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ ดงั น้ี • นักเรียนรู้จักเพลงน้ีหรอื ไม่ (ร้จู ัก/ไมร่ จู้ กั ) • เพลงท่นี กั เรียนได้ฟงั คือเพลงอะไร (ตวั อยา่ งคำตอบ เพลงเราสู้) • เมอ่ื ได้ฟังเพลงนี้นกั เรียนรสู้ กึ อย่างไร (ตวั อย่างคำตอบ ฮกึ เหิม รกั และหวงแหนประเทศไทยมากข้ึน) ขั้นที่ 2 การเรียนรู้แสวงหาสาระสนเทศองค์ความรู้ (15นาที) 3.ใหน้ กั เรียนคน้ หาเนือ้ เพลงเราสู้จากโทรศัพทม์ ือถอื แลว้ ปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปน้ี • นำนกั เรยี นอา่ นเนอ้ื รอ้ งเพลงพระราชนิพนธ์เราส้ทู ีละท่อนจนจบเพลง และทุกคนสามารถอ่านไดถ้ ูกต้อง

• ครูนำนักเรียนรอ้ งเพลงพระราชนิพนธ์เราสู้ ทีละท่อน แล้วให้นักเรียนรอ้ งตามจนจบเพลง และทุกคนสามารถร้องได้ ถูกต้อง • ครูสาธติ การรำโดยใช้นาฏยศัพท์และภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ไทยประกอบเพลง พระราชนิพนธ์เราสู้ ใหน้ กั เรียนดแู ละปฏบิ ัติตามทีละทา่ และนักเรยี นทุกคนสามารถทำไดถ้ กู ต้อง โดยมีครคู อยใหค้ ำแนะนำและดแู ลอยา่ งใกลช้ ิด ข้นั ที่ 3 การเรียนรูเ้ พอ่ื สร้างองค์ความรู้ (20นาที) 4.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อร่วมกันฝึกท่ารำประกอบเพลงพระราชนิพนธ์เราสู้จนทุกคนสามารถทำได้ถูกต้อง สวยงาม และพรอ้ มเพรียงกัน ขั้นท่ี 4 การเรียนรูเ้ พ่ือการสื่อสาร (5นาที) 5.ใหน้ กั เรียนทบทวนท่ารำโดยครคู อยใหค้ ำแนะนำและดูแลอย่างไกลชดิ 6.ใหน้ ักเรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังนี้ • ก า ร ใ ช ้ น า ฏ ย ศ ั พ ท ์ แ ล ะ ภ า ษ า ท ่ า ท า ง น า ฏ ศ ิ ล ป ์ ไ ท ย ป ร ะ ก อ บ เ พ ล ง พ ร ะ ร า ช น ิ พ น ธ ์ เ ร า สู้ จะทำให้ผู้แสดงและผูช้ มเข้าใจ ซาบซึ้งในอารมณ์เพลง และความหมายของเพลงมากขึ้น นอกจากนี้ยังทำให้เกิดความรู้สึกรัก และ หวงแหนในชาติไทยมากขนึ้ ข้นั ท่ี 5 การเรยี นรูเ้ พอื่ ตอบแทนสังคม (5นาที) 7.ให้นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามทา้ ทาย ดังนี้ • ถ้ามีผคู้ ดิ ร้ายต่อประเทศไทยนักเรยี นจะทำอยา่ งไร(นักเรียนสามารถตอบได้อย่างอสิ ระ) การจัดบรรยากาศเชิงบวก 1. ให้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับเพลงพระราชนพิ นธเ์ ราสู้อย่างอสิ ระ 2. ใหน้ กั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิท่ารำประกอบเพลงพระราชนพิ นธเ์ ราสู้อย่างอสิ ระ สือ่ การเรยี นรู้ 3. วีดีโอเพลงเราสู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธกี ารวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 2. เครอ่ื งมือ 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 3.เกณฑ์การประเมิน

3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1 รายการ ถือวา่ ไมผ่ า่ น 3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรบั ปรุง



แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม (P๑) รายการประเมิน ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ฯ ฝึกปฏบิ ตั ินาฏยศพั ทฯ์ เพลง ฝึ กปฏิบัตินาฏย ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ฯ ที่ ชื่อ-สกลุ เพลง เราสู้ ไดถ้ ูกตอ้ งดว้ ย เราสู้ ได้ถูกตอ้ งดว้ ยตนเอง ศพั ทฯ์ เพลง เราสู้ เพลง เราสู้ ไดถ้ ูกตอ้ งโดย ผ่าน ตนเอง สามารถแก้ไข สามารถแก้ไขปัญหาใน ได้ถูกต้องโดยมี มี ค รู แ ล ะ ผู้ อื่ น ใ ห้ ไ ่มผ่าน ปัญหาในระหว่างปฏิบตั ิ ระหว่างปฏิบัติได้ แต่ไม่ ครู และผู้อื่นให้ คาแนะนาเทา่ น้นั (๐-๔) และสามารถใหค้ าแนะนา สามารถให้คาแนะนาผูอ้ ื่น คาแนะนาบา้ ง(๕- ผูอ้ ่ืนได(้ ๙-๑๐) ได(้ ๗-๘) ๖) 1 เดก็ ชายกิตติภมู ิ เทอมกระโทก ๙ / / 2 เดก็ ชายกิตติพงค์ นวนลม ๙ / / 3 เด็กชายกติ ติธชั เทอมกระโทก ๙ / / 4 เด็กชายทนิ ภัทร พรมสงิ ห์ ๙ / / 5 เด็กชายธนกฤต ถงั กระโทก ๙ / / 6 เด็กชายธรี พงศ์ กุงกุดโถ ๙ / / 7 เดก็ ชายวทิ วัส ทศิ กระโทก ๙ / / 8 เดก็ ชายปฏิภาณ พฤติสาร ๙ / / 9 เด็กหญงิ กมลลักษ์ ทิศกระโทก ๙ / / 10 เดก็ หญิงชตุ มิ ันต์ แสนประสิทธ์ิ ๙ / 11 เด็กหญิงชลธิชา ทิศกระโทก ๙ 12 เดก็ หญงิ ญาดา อบทองหลาง ๙ 13 เดก็ หญงิ ณัฐกญั ญา คงสีลา ๙ 14 เดก็ หญิงพมิ พ์วิภา จำเริญควร ๙ 15 เด็กหญงิ สิริมา ทิศกระโทก ๙ 16 เด็กหญงิ สายรงุ้ ทศิ กระโทก ๙ 17 เดก็ หญิงอมรพรรณ เกวียนปรุ ๙ 18 เด็กหญิงอรสิ รา สขุ แกว้ ๙ 19 เด็กหญงิ กันยารัตน์ เงนิ ยวด ๙

ภาพกจิ กรรม PLC ขัน้ การเปิดชั้นเรียนและประชมุ สะทอ้ นผลการเปิดช้ันเรียน ภาพนกั เรียนปฏิบัติกิจกรรมระหวา่ งการเปดิ ช้ันเรยี นในกจิ กรรม PLC

ภาพสมาชกิ เข้ารว่ มสงั เกตการเปิดชน้ั เรียนในกิจกรรม PLC ภาพสมาชกิ เข้ารว่ มประชมุ สะท้อนการเปดิ ชัน้ เรยี นในกจิ กรรม PLC

แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรูท้ ่ี 26 การใช้นาฏยศัพท์และภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ไทยประกอบเพลงพระราชนพิ นธ์ (2) รหสั วชิ า ศ14102 ชื่อรายวชิ า นาฏศิลป์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7 นาฏยศัพท์และภาษาทา่ ทางนาฏศิลปไ์ ทย เวลา 1 ช่วั โมง ครผู สู้ อน นางปิยะนุช สุตยสรณาคม วนั ท่สี อน 20 เมษายน 2565 มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด อยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ศ 3.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่าของนาฏศิลปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิ ปัญญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ตัวชีว้ ัด ศ 3.1 ป.4/1 ระบทุ ักษะพน้ื ฐานทางนาฏศลิ ป์และการละครท่ีใช้ส่ือความหมายและอารมณ์ ศ 3.1 ป.4/2 ใชภ้ าษาท่าและนาฏยศัพทห์ รอื ศัพทท์ างการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเร่ืองราว ศ 3.2 ป.4/1 อธิบายประวตั คิ วามเปน็ มาของนาฏศลิ ปห์ รือชดุ การแสดงอยา่ งงา่ ย ๆ จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ตู่ วั ช้ีวดั 7. อธิบายเกย่ี วกับประโยชนข์ องการนำนาฏยศัพทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธเ์ ราสู้ (K) 8. รอ้ งเพลงพระราชนิพนธ์เราสู้ (P) 9. นักเรียนมีความสุขในกิจกรรมและกลา้ ทจ่ี ะแสดงออกมากขน้ึ (A) สาระสำคญั การแสดงโดยใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทย จะทำให้ผู้แสดงกล้าแสดงออกในทาง ที่เหมาะสมนอกจากนี้ยังทำให้ทั้งผู้แสดงและผู้ชมเข้าใจ ซาบซึ้งในความหมายของเพลงและเกิดความรู้สึกรักและหวงแหนชาติไทย มากขน้ึ สาระการเรยี นรู้ การใชน้ าฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์ : เพลงพระราชนพิ นธ์เราสู้ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ -ตัวช้ีวดั ท่ี 4.1 ตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม มุ่งมัน่ ในการทำงาน -ตัวชวี้ ดั ที่ 6.1 ตัง้ ใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าทก่ี ารทำงาน

-ตัวช้ีวดั ที่ 6.2 ทำงานดว้ ยความเพยี รพยามและอดทนเพ่ือให้งานเสรจ็ ตามเปา้ หมาย รกั ความเป็นไทย ตัวชวี้ ดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ช้นิ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้) • นำเสนอทา่ รำเพลงพระราชนพิ นธ์ เราสู้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ ที่ 1 การเรียนรู้ ต้ังคำถาม (2นาท)ี 1. ครูกลา่ วทกั ทายนักเรียน และสร้างข้อตกลงรว่ มกนั ในการรว่ มกิจกรรมในชั่วโมง ถา้ นักเรียนทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จแลว้ (รอ้ งเพลงเราส)ู้ จะให้พักผอ่ นตามอธั ยาศยั กอ่ นหมดช่ัวโมงเรียน (แก้ปญั หาการขาดความม่ันใจในตนเอง และ ไมก่ ล้าแสดงออก หน้าชัน้ เรยี น) 2. เปิดวดี ีโอเพลงเราสู้ ให้นักเรยี นฟัง แล้วใชค้ ำถามให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ดงั น้ี • นักเรยี นมคี วามพร้อมในการนำเสนอท่ารำเพลงเราสหู้ รือไม่ (พร้อม/ไม่พร้อม) • นักเรียนมีปัญหาในการฝึกปฏบิ ัติท่ารำเพลงเราสู้หรือไม่ อย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ มี โดยมีปัญหาจำเนื้อร้องไม่ได้ จำทา่ รำไม่ได้)

• นักเรียนมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ฝึกร้องเพลง ฝึกท่ารำ เราสู้บ่อย ๆ จนพร้อม เพรียงกนั ) ขน้ั ที่ 2 การเรยี นรแู้ สวงหาสาระสนเทศองค์ความรู้ (3นาที) ข้นั ที่ 3 การเรียนรูเ้ พอื่ สร้างองค์ความรู้ (3นาท)ี 3.ให้นักเรียนเตรียมความพร้อม โดยครูสาธิตพร้อมนักเรียนปฏิบัติตาม เพลงพระราชนิพนธ์ เราสู้ ครูจะแนะนำและดูแลนักเรียน อย่างใกล้ชดิ และท่ัวถงึ 4.หลังจากที่นักเรียนฝึกซ้อม จนเกิดความชำนาญ ให้นักเรียนเตรียมนำเสนอท่ารำเพลงพระราชนิพนธ์เราสู้ โดยการฝึกแนะนำตัว ก่อนนำเสนอ ขน้ั ท่ี 4 การเรียนรเู้ พ่ือการส่ือสาร (10นาที) ขน้ั ที่ 5 การเรยี นรเู้ พ่ือตอบแทนสงั คม (10นาท)ี 5. สมุ่ นักเรยี น(ท่ีมีความพร้อม) นำเสนอทา่ รำเพลงพระราชนิพนธ์เราสู้ ให้ครแู ละเพื่อนๆ ฟงั /ดู โดยจะมีการแนะนำตัวเองก่อนที่จะ เร่ิมร้องเพลง (ครอู อกแบบการนำเสนอเพื่อใหน้ กั เรยี นนำเสนอไดถ้ กู ต้องและรวดเรว็ ) 6. จากนัน้ ครใู ช้คำถามเพ่อื ให้นักเรียนประเมินการรำของตนเอง ดังน้ี • นกั เรียนปฏบิ ัติทา่ รำเพลงพระราชนิพนธ์เราส้ไู ดใ้ นระดบั ดี พอใช้ หรือควรปรบั ปรงุ (ดี/พอใช/้ ควรปรับปรงุ ) ส่อื การเรยี นรู้ 4. วีดีโอเพลงเราสู้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล 1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 2. เคร่อื งมือ 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 3.เกณฑ์การประเมนิ 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถอื ว่า ไมผ่ า่ น 3.2 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก

คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรบั ปรงุ



แบบประเมินการปฏิบัตกิ จิ กรรม (P๑) รายการประเมนิ ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ฯ ฝึกปฏิบตั นิ าฏยศพั ทฯ์ เพลง ฝึ กปฏิบัตินาฏย ฝึ กปฏิบัตินาฏยศัพท์ฯ ที่ ชื่อ-สกุล เพลง เราสู้ ไดถ้ ูกตอ้ งดว้ ย เราสู้ ไดถ้ ูกต้องดว้ ยตนเอง ศพั ทฯ์ เพลง เราสู้ เพลง เราสู้ ไดถ้ ูกตอ้ งโดย ผ่าน ตนเอง สามารถแก้ไข สามารถแก้ไขปัญหาใน ได้ถูกต้องโดยมี มี ค รู แ ล ะ ผู้ อ่ื น ใ ห้ ไ ่มผ่าน ปัญหาในระหว่างปฏิบตั ิ ระหว่างปฏิบัติได้ แต่ไม่ ครู และผู้อื่นให้ คาแนะนาเท่าน้นั (๐-๔) และสามารถใหค้ าแนะนา สามารถให้คาแนะนาผูอ้ ื่น คาแนะนาบา้ ง(๕- ผอู้ ่ืนได(้ ๙-๑๐) ได(้ ๗-๘) ๖) 1 เด็กชายกิตติภูมิ เทอมกระโทก ๑๐ / / 2 เดก็ ชายกติ ติพงค์ นวนลม ๑๐ / / 3 เดก็ ชายกิตติธชั เทอมกระโทก ๑๐ / 4 เดก็ ชายทินภัทร พรมสิงห์ ๑๐ / / 5 เด็กชายธนกฤต ถังกระโทก ๑๐ / / 6 เดก็ ชายธรี พงศ์ กุงกดุ โถ ไม่เขา้ รว่ มชน้ั เรยี น / / 7 เดก็ ชายวทิ วสั ทิศกระโทก ๑๐ / / / / 8 เด็กชายปฏิภาณ พฤตสิ าร ๑๐ / / 9 เด็กหญิงกมลลักษ์ ทิศกระโทก ๑๐ / 10 เด็กหญิงชตุ ิมนั ต์ แสนประสิทธ์ิ ๑๐ / 11 เดก็ หญงิ ชลธิชา ทิศกระโทก ๑๐ 12 เดก็ หญงิ ญาดา อบทองหลาง ไม่เขา้ รว่ มชนั้ เรยี น 13 เดก็ หญิงณัฐกญั ญา คงสลี า ๑๐ 14 เดก็ หญิงพิมพ์วภิ า จำเรญิ ควร ๑๐ 15 เด็กหญิงสริ มิ า ทิศกระโทก ไมเ่ ข้ารว่ มชั้นเรยี น 16 เด็กหญิงสายร้งุ ทิศกระโทก ๑๐ 17 เด็กหญิงอมรพรรณ เกวียนปรุ ไม่เขา้ ร่วมช้นั เรยี น 18 เดก็ หญิงอริสรา สขุ แก้ว ๑๐ 19 เดก็ หญงิ กนั ยารตั น์ เงนิ ยวด ไมเ่ ข้ารว่ มชั้นเรยี น

ภาพกจิ กรรม PLC ขัน้ การเปิดชั้นเรียนและประชมุ สะทอ้ นผลการเปิดช้ันเรียน ภาพนกั เรียนปฏิบัติกิจกรรมระหวา่ งการเปดิ ช้ันเรยี นในกจิ กรรม PLC

ภาพสมาชกิ เข้ารว่ มสงั เกตการเปิดชน้ั เรียนในกิจกรรม PLC ภาพสมาชกิ เข้ารว่ มประชมุ สะท้อนการเปดิ ชัน้ เรยี นในกจิ กรรม PLC


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook